โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ ตามชุดสิทธิประโยชน์ทางทันตกรรม จังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าปี 2551 (ตุลาคม 2550 - กันยายน 2551) กลุ่มงานทันตสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
สถานการณ์ชมรมผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ชมรมผู้สูงอายุในโรงพยาบาลทุกอำเภอ จำนวน 24 อำเภอ กิจกรรมที่มีการดำเนินงานต่อเนื่อง - ออกกำลังกาย - ประกวดผู้สูงอายุในกิจกรรมวันผู้สูงอายุแห่งชาติ
สุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่ ร้อยละผู้สูงอายุมีฟันใช้งานตามเกณฑ์ เป้าหมายประเทศ ร้อยละ 50
วัตถุประสงค์ เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุ โดย - สร้างสุขนิสัยในการดูแลความสะอาดช่องปากแก่ผู้สูงอายุ - จัดระบบบริการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากตามความจำเป็น 2. สร้างความมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายในการแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาทันตสุขภาพในผู้สูงอายุ จ.เชียงใหม่ เพิ่มประสิทธิภาพ การตรวจเฝ้าระวัง ตรวจเฝ้าระวังคัดกรอง กลุ่มเสี่ยง ขยายกลุ่มเป้าหมายเพิ่ม พัฒนาด้านส่งเสริม ป้องกัน ให้คำแนะนำ ฝึกทักษะ การดูแลทันตสุขภาพ การใช้ฟลูออไรด์เสริม จัดบริการเชิงรุก พัฒนาคุณภาพระบบ การรักษา การเข้าถึงบริการ รักษาโรคในช่องปาก จัดบริการใส่ฟันเทียม พัฒนาระบบส่งต่อ นิเทศ ติดตาม ประเมินผล การมีส่วนร่วมของ อปท., ชุมชน สร้างแกนนำผู้สูงอายุ เยี่ยมบ้าน อปท. สนับสนุนกิจกรรม, งบประมาณ สร้างนวัตกรรมในชุมชน จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ผู้สูงอายุจาก 5 อำเภอ ตรวจคัดกรองอำเภอละ 300 คน รวมทั้งหมด 1,500 คน เป้าหมาย 5 อำเภอ ในจังหวัดเชียงใหม่ คือ อำเภอ สันทราย อำเภอ สารภี อำเภอ ฝาง อำเภอหางดง อำเภอ สันป่าตอง ผู้สูงอายุจาก 5 อำเภอ ตรวจคัดกรองอำเภอละ 300 คน รวมทั้งหมด 1,500 คน
งบ PP area base (Development Model) งบประมาณ 51,000 บาท/อำเภอ งบ PP area base (Development Model) ค่าวัสดุ, ฟลูออไรด์วานิช, ขูดหินปูน, ค่าบันทึกข้อมูลในตรวจ ดำเนินการสนับสนุนชมรมผู้สูงอายุทำกิจกรรม ประเมินความพึงพอใจต่อการทำโครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
แบบรายงาน 1 รายงาน ผลการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคทางระบบ โรคในช่องปากและการให้คำแนะนำ “โครงการส่งเสริม ป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ ตามชุดสิทธิประโยชน์ทางทันตกรรม ” ปี 2551 จังหวัด ......................... สถานบริการ .......................................... วัน/เดือน/ปี ที่รายงาน .............................. ที่ เลขปชช, ชื่อ-สกุล ผู้รับบริการ ความเสี่ยงต่อโรคทางระบบ ความเสยงโรคในชองปาก การให้คำแนะนำ / ฝึกปฏิบัติทันตสุขภาพ แหล่งงบประมาณ ความดันโลหิต 0 = ปกติ 1 = สูง เบาหวาน* รากฟันผุ 0= เสี่ยงต่ำ 1= เสี่ยงสูง ปริทันต์ 1 = สอนแปรงฟัน 2 = สอนไหมขัดฟัน 3= สอนแปรงซอกฟัน 4 = ย้อมสีฟัน 5= อื่นๆ ระบุ 1= area –based 2=งบปกติ รพ.สอ. 3= อื่นๆระบุ หมายเหตุ เบาหวาน* 1 = เสี่ยงต่ำ/เสี่ยงปานกลาง(จากแบบสอบถาม) 2 = เสี่ยงสูง/เสี่ยงสูงมาก(จากแบบสอบถาม) 3= ไม่เป็นเบาหวาน(จากแพทย์ระบุ) 4 = เป็นเบาหวาน(จากแพทย์ระบุ) การให้คำแนะนำ/ ฝึกปฏิบัติทางทันตสุขภาพ และแหล่งงบประมาณ สามารถระบุได้มากกว่า 1 ข้อ
(ทำเครื่องหมาย ในช่องที่จัดบริการ) (ทำเครื่องหมาย ในช่อง แบบรายงาน 2 รายงานการจัดบริการทันตกรรมป้องกัน “โครงการส่งเสริม ป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ ตามชุดสิทธิประโยชน์ทางทันตกรรม ” ปี 2551 จังหวัด ......................... สถานบริการ .......................................... วัน/เดือน/ปี ที่รายงาน .............................. ลำ ดับ เลขประจำตัว13 หลัก ชื่อ-สกุล ผู้รับบริการ การจัดบริการ (ทำเครื่องหมาย ในช่องที่จัดบริการ) แหล่งงบประมาณ (ทำเครื่องหมาย ในช่อง ที่ใช้งบ) ชื่อผู้ ให้บริการ หมายเหตุ ตรวจ/แนะนำและ หรือฝึกปฏิบัติ การใช้ฟลูออไรด์ (ระบุจำนวนซี่) ขูดหินปูน งบ area - based งบปกติ สถานบริการ อื่นๆ ระบุ สรุปภาพรวมการจัดบริการ 1. ตรวจ/แนะนำและ/หรือ ฝึกปฏิบัติ …… ราย ขอสนับสนุนงบ area -based .......................................... บาท 2. การใช้ฟลูออไรด์ ………ซี่ .................... ราย ขอสนับสนุนงบ area -based ......................................... บาท 3. การขูดหินปูน .......................... ราย ขอสนับสนุนงบ area -based ......................................... บาท
ผลการดำเนินงาน แผนภูมิแสดงร้อยละผู้สูงอายุที่มีประวัติเป็นโรคเบาหวาน
แผนภูมิแสดงร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานจำแนกตามเพศ
แผนภูมิแสดงร้อยละของผู้สูงอายุที่มีประวัติเป็นความดันโลหิต
แผนภูมิแสดงร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงจำแนกตามเพศ
แผนภูมิแสดงร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อสภาวะรากฟันผุ
แผนภูมิแสดงร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อโรคปริทันต์
เสี่ยงต่อโรคปริทันต์ ตารางที่ 1 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานกับการเสี่ยงต่อโรคปริทันต์ ระดับความเสี่ยงต่อโรค โรคเบาหวาน เสี่ยงต่อโรคปริทันต์ P -value เสี่ยงต่ำ N (ร้อยละ) เสี่ยงสูง 556 (62.9) 328 (37.1) 0.454 152 (58.7) 107 (41.3) แพทย์ระบุ 74 (60.7) 48 (39.3)
เสี่ยงต่อโรครากฟันผุ ตารางที่ 2 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานกับการเสี่ยงต่อสภาวะรากฟันผุ ระดับความเสี่ยงต่อโรค โรคเบาหวาน เสี่ยงต่อโรครากฟันผุ P -value เสี่ยงต่ำ N (ร้อยละ) เสี่ยงสูง 434 (49.1) 450 (50.9) 0.175 115 (44.4) 144 (55.6) แพทย์ระบุ 51 (41.8) 71 (58.2)
ตารางที่ 3แสดงความสัมพันธ์ระหว่างผู้สูงอายุที่เป็นโรคความดันโลหิตกับการเสี่ยงต่อสภาวะโรคปริทันต์ ระดับความเสี่ยงต่อโรค ความดันโลหิต สภาวะโรคปริทันต์ P -value เสี่ยงต่ำ N (ร้อยละ) เสี่ยงสูง ปกติ 525 (63.5) 302 (36.5) 0.094 257 (58.7) 181 (41.3)
เสี่ยงต่อสภาวะรากฟันผุ ตารางที่ 4 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างผู้สูงอายุที่เป็นโรคความดันโลหิตกับการเสี่ยงต่อสภาวะรากฟันผุ ระดับความเสี่ยงต่อโรค ความดันโลหิต เสี่ยงต่อสภาวะรากฟันผุ P -value เสี่ยงต่ำ N (ร้อยละ) เสี่ยงสูง ปกติ 410 (49.6) 417 (50.4) 0.036* 190 (43.4) 248 (56.6)
ผู้สูงอายุที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงมีความเสี่ยงต่อ โรคความดันโลหิตสูงมีความสัมพันธ์กับสภาวะช่องปาก โดยพบผลข้างเคียงจากยาที่ใช้รักษาความดันโลหิตสูงที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อมในช่องปาก เช่น ปากแห้ง (Xerostomia) ซึ่งมีผลให้เกิดความเสี่ยงต่อสภาวะรากฟันผุสูงขึ้น ผู้สูงอายุที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงมีความเสี่ยงต่อ สภาวะรากฟันผุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
นำข้อมูลมาใช้ประโยชน์อย่างไร 1. อบรมแกนนำผู้สูงอายุเรื่องการดูแลทันตสุขภาพ ทั้งฟันแท้และฟันเทียม และพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับวัย
นำข้อมูลมาใช้ประโยชน์อย่างไร 2. เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้
นำข้อมูลมาใช้ประโยชน์อย่างไร 3. ฝึกปฏิบัติควบคุมคราบจุลินทรีย์ เพิ่มทักษะประสิทธิภาพการแปรงฟัน ใช้ไหมขัดฟัน ไม้จิ้มฟัน แปรงซอกฟัน
นำข้อมูลมาใช้ประโยชน์อย่างไร 4. บริการทันตกรรมป้องกัน ใช้ฟลูออไรด์เสริม การขูดหินปูนเพื่อคงสภาพ
แผนภูมิแสดงร้อยละของผู้สูงอายุที่มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปาก
ความครอบคลุมของการรักษาและส่งเสริมป้องกันผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่
ปัญหาอุปสรรค 1. ขั้นตอนการกรอกแบบฟอร์มยุ่งยากในช่วงแรกและ ไม่ครบถ้วนในประเด็นสำคัญที่จะนำไปใช้ประโยชน์ 2. บันทึกข้อมูลไม่ได้ 3. การเข้าถึงบริการของผู้สูงอายุยังไม่ครอบคลุม เนื่องจากไม่สามารถเดินทางมารับบริการได้
ข้อเสนอแนะ ปรับโปรแกรมลงข้อมูลและแบบฟอร์มให้ง่ายต่อการใช้งาน วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ สร้างการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนในการสนับสนุนกิจกรรมในกลุ่มผู้สูงอายุและงบประมาณ ขยายเครือข่ายและสร้างแกนนำผู้สูงอายุให้มากขึ้น ให้บริการทันตกรรมป้องกันให้ครอบคลุม กับกลุ่มเสี่ยงที่ได้ตรวจเฝ้าระวัง
สวัสดีเจ้า...