วิชา SSC 281 : Economics ภาคการศึกษาที่ 2/2553

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ”
Advertisements

บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
บทที่ 1 ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับระบบคุณภาพ
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
ดร. มานะ นิมิตรมงคล เลขาธิการ องค์กรต่อต้านคอร์รัปชันฯ 8 พฤษภาคม 2558
วิชาโครงการ รหัส & ระดับ ปวช. และ ปวส.
GDP GNP PPP.
บทที่ 1 ความหมายและแนวคิดของการวิจัยการตลาด
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
Factors Markets of Resource Markets ตลาดปัจจัยการผลิต
1. การสอบกลางภาค วันที่ 6 ตุลาคม เวลา น. เก็บ 40 % 2
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
คู่มือวิชาโดยสังเขป ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ระบบเศรษฐกิจ.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
คู่มือวิชาโดยสังเขป รศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
Marketing.
จัดทำโดย นาย วรปรัชญ์ ชาวเมือง เลขที่ 8 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4.3
SMS News Distribute Service
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
บทบาทขององค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่าง ๆ
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
หน่วยที่ 4 ตลาดเป้าหมาย.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การวางแผนกำลังการผลิต
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
Supply Chain Management
รายได้ประชาชาติ รายวิชา : week 04.
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชา SSC 281 : Economics ภาคการศึกษาที่ 2/2553 สายวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์

ผู้สอน: ศักดิ์สิทธิ์ วัฒนาเดช การศึกษา วศบ.(เกียรตินิยม) โยธา, มจธ. วศม. ขนส่ง, มจธ. MSc. Economics and Finance, MU, Germany MA. Economics, UMC, USA PhD. Economics, UMC, USA (In Progress) ปัจจุบัน วิศวกรขนส่ง เศรษฐกรขนส่ง อาจารย์ (พิเศษ) E-Mail: economania_tan@hotmail.com Mobile: 087-5922002 บริษัท Smart Plan Consultant

SSC 281 เศรษฐศาสตร์ (Economics) เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics) ศึกษาพฤติกรรมของหน่วยย่อยใน ระบบเศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์มหาภาค (Macroeconomics) ศึกษาเศรษฐกิจทั้งระบบ

แขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics) เป็นการศึกษาพฤติกรรมของหน่วย เศรษฐกิจย่อย ได้แก่ ผู้ผลิตและ ผู้บริโภค ในการแสวงหา ผลประโยชน์สูงสุดของตนเอง เช่น - ผู้ผลิต ผลิตเพื่อให้ได้กำไรสูงสุด - ผู้บริโภค บริโภคเพื่อให้ได้ความ พึงพอใจสูงสุด -ใช้กลไกราคาในการศึกษาปฎิ สัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภค เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics) เป็นการศึกษาเศรษฐกิจทั้งระบบ เช่น รายได้ประชาชาติ ระดับราคาสินค้า และบริการ การบริโภค การออม การ ลงทุน ระดับการจ้างงานโดยทั่วไป การ ใช้จ่ายของรัฐบาล และการเงินระหว่าง ประเทศ เป็นต้น

SSC 281 เศรษฐศาสตร์ (Economics) ส่วนที่ 1: เศรษฐศาสตร์จุลภาค ครั้งที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ เศรษฐศาสตร์ ครั้งที่ 2 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด โดย Demand และ Supply ครั้งที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และ อุปทาน ครั้งที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค ครั้งที่ 5 ทฤษฎีการผลิต ครั้งที่ 6 ต้นทุนการผลิต รายรับจากการ ผลิต เงื่อนไขการผลิตที่ได้รับกำไรสูงสุด ครั้งที่ 7 ตลาดสินค้าประเภทต่างๆ ส่วนที่ 2: เศรษฐศาสตร์มหาภาค ครั้งที่ 8 รายได้ประชาชาติและการคำนวณหารายได้ประชาชาติ ครั้งที่ 9 ส่วนประกอบรายจ่ายประชาชาติมวลรวม ครั้งที่ 10 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ดุลยภาพ ครั้งที่ 11 ภาวะเงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน ครั้งที่ 12 อุปสงค์ของเงิน อุปทานของเงิน และนโยบายการเงิน ครั้งที่ 13 การคลังสาธารณะ (นำเสนอรายงานกลุ่ม) ครั้งที่ 14 การค้า และการเงินระหว่างประเทศ (นำเสนอรายงานกลุ่ม)

วัตถุประสงค์ของการเรียนการสอน เข้าใจแนวคิดพื้นฐานของเศรษฐศาสตร์จุลภาคและมหาภาค เข้าใจข้อมูลข่าวสารทางเศรษฐกิจ อธิบายสถานะการณ์เศรษฐกิจในปัจจุบัน และคาดคะเนแนวโน้มของ เศรษฐกิจในอนาคตได้ เข้าใจการเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ได้

ประโยชน์ของการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์ ช่วยให้เข้าใจและสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพเศรษฐกิจที่ประสบอยู่ใน ชีวิตประจำวันได้ เป็นประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพ ช่วยให้เข้าใจบทบาทที่ถูกต้องของรัฐบาลในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ

การวัดผล สอบกลางภาค 40 เปอร์เซนต์ สอบปลายภาค 40 เปอร์เซนต์ สอบกลางภาค 40 เปอร์เซนต์ สอบปลายภาค 40 เปอร์เซนต์ เข้าห้องเรียนและทำการบ้าน 5 เปอร์เซนต์ รายงานกลุ่ม 15 เปอร์เซนต์

เอกสารประกอบการเรียน 1.วัณรักษ์ มิ่งมณีนาคิน; หลักเศรษฐศาสตร์จุลภาค 2.วัณรักษ์ มิ่งมณีนาคิน; หลักเศรษฐศาสตร์มหาภาค 3.รัตนา สายคณิต, ชลดา จามรกุล; เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 4. รัตนา สายคณิต; มหเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

ทำไมเราจำเป็นต้องรู้จักเศรษฐศาสตร์ ? 40 ปี น้ำมันจะหมด 60 ปี ก๊าซธรรมชาติจะหมด 200 ปี ป่าไม้จะหมด 15-20 ปี แร่สำคัญต่างๆจะหมด 50 ปี อาหารทะเลจะหมด ฯลฯ ความต้องการ ≠ สิ่งที่มี

ความไม่สมดุลย์ระหว่างความต้องการกับสิ่งที่มี

1.1ความหมายของเศรษฐศาสตร์ เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ที่อยู่ในสังคม ความหมายของเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์คือศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการเลือกหนทางในการใช้ ปัจจัยการผลิตอันมีอยู่จำกัด สำหรับการผลิตสินค้าและบริการ เพื่อตอบสนองความต้องการที่ไม่จำกัดของมนุษย์

1.1ความหมายของเศรษฐศาสตร์(ต่อ) จากนิยามของเศรษฐศาสตร์มีคำที่ควรให้ความสนใจ 5 คำคือ -การเลือก(choices) -ปัจจัยการผลิต(Productive Factors) -การมีอยู่อย่างจำกัด(Scarcity) -สินค้าและบริการ(Goods and Services) -ความต้องการที่ไม่สิ้นสุด(Unlimited Wants)

การเลือก(Choices) เกิดขึ้นเนื่องจากทรัพยากรต่างๆสามารถใช้ประโยชน์ได้หลายทางเราจึง ต้องเลือกใช้ทรัพยากรเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดหรือให้ได้ ความพอใจ มากที่สุด

ปัจจัยการผลิต (Productive Factors) ที่ดิน (Land) ผลตอบแทน คือ ค่าเช่า (Rent) แรงงาน (Labor) หรือ ทรัพยากรมนุษย์(human resource) ผลตอบแทน คือ ค่าจ้าง(Wage) ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) ผลตอบแทนคือ กำไร(Profit) ทุน (Capitals) ผลตอบแทน คือ ดอกเบี้ย (interest)

ปัจจัยการผลิต (Productive Factors) (ต่อ) เซลแมน แรงงาน? พนักงานพิมพ์ดีด กรรมกร หมอ

ปัจจัยการผลิต (Productive Factors) (ต่อ) ทุน

ปัจจัยการผลิต (Productive Factors) (ต่อ) ความสัมพันธ์ของปัจจัยการผลิต (ทุนนิยม) ปัญหาพื้นฐาน ทางเศรษฐกิจ ที่ดิน แรงงาน ทุน ผลิตอะไร อย่างไร ผู้ประกอบการ ตัดสินใจ ให้ใคร ผลผลิต ผู้บริโภค

การมีอย่างจำกัด (Scarcity) ทรัพยากรในโลกล้วนมีอยู่อย่างจำกัด เลือกผลิตสิ่งที่มีประโยชน์ที่สุดต่อสังคม ด้วย วิธีการที่มีประสิทธิภาพที่สุด

สินค้าและบริการ (Goods and Services) เศรษฐทรัพย์ (Economic Goods) สินค้าและบริการที่ก่อให้เกิด อรรถประโยชน์(utility)หรือความพอใจ แก่ผู้บริโภค มีจำนวนจำกัด และมีต้นทุน การในผลิตและในการจัดหา ดังนั้นจึงมี ราคา เศรษฐทรัพย์แบ่งเป็น 2 ชนิด สินค้าเอกชน (Private Goods) สินค้าสาธารณะ (Public Goods) ทรัพย์เสรี (Free Goods) สินค้าและบริการหรือสิ่งที่มีจำนวน มากมายตามธรรมชาติเกินกว่าความ ต้องการมนุษย์ จึงไม่ต้องจัดสรร ดังนั้น จึงไม่มีราคา

สินค้าและบริการ (Goods and Service) (ต่อ) 2.ฝน 1.บริการของหมอ 3.เครื่องบินรบ 5.คอมพิวเตอร์ 4.ดอกไม้

ความต้องการไม่จำกัด (UnlimitedWants) ความต้องการด้านวัตถุ (Material Wants) ความต้องการด้านจิตใจ (Mental Wants) เศรษฐศาสตร์สนใจ ส่วนที่เป็นความต้องการ ด้านวัตถุ

ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ(Basic Economic Problems) ปัญหาจะผลิตอะไร (What) ปัญหาจะผลิตอย่างไร (How) ปัญหาผลิตเพื่อใคร (For Whom)

ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (ต่อ) ความสัมพันธ์ของปัจจัยการผลิต (ทุนนิยม) ปัญหาพื้นฐาน ทางเศรษฐกิจ ที่ดิน แรงงาน ทุน ผลิตอะไร อย่างไร ผู้ประกอบการ ตัดสินใจ ให้ใคร ผลผลิต ผู้บริโภค

ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (ต่อ) ในมุมมองของเศรษฐกิจในภาพรวม (มุมมองของประเทศหรือระบบเศรษฐกิจทั้ง ระบบ) วิธีการและใครจะเป็นผู้แก้ไขปัญหาพื้นฐานทั้ง 3 จะขึ้นอยู่กับระบบเศรษฐกิจที่ ประเทศนั้นเลือกใช้

ระบบเศรษฐกิจกับการแก้ปัญหาพื้นฐาน (Economic System and Solotion) ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy)

ระบบเศรษฐกิจกับการแก้ปัญหาพื้นฐาน ทุนนิยมมองผู้ประกอบการเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญที่สุด และเป็นหัวใจของความ เจริญก้าวหน้าของประเทศ สังคมนิยม (เศรษฐกิจแบบวางแผน) มองผู้ประกอบการเป็นสิ่งที่เลวร้าย เป็นสาเหตุของความเลื่อมล้ำและสมควร ถูกกำจัด แต่มองแรงงานเป็นปัจจัย การผลิตที่สำคัญที่สุด

ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) ลักษณะที่สำคัญ เอกชนมีสิทธิในการเป็นเจ้าของทรัพย์สินและปัจจัยการ ผลิต เอกชนมีเสรีภาพในการเลือกดำเนินกิจกรรมทาง เศรษฐกิจตามใจชอบ รัฐบาลไม่เข้ามาแทรกแซง คงมุ่งเน้นแต่การป้องกัน ประเทศ รักษาความสงบเรียบร้อย

ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ) ข้อดีและข้อเสียของระบบทุนนิยม ข้อดี กำไรเป็นสิ่งจูงใจให้เกิดการพัฒนา การจัดสรรทรัพยากรการผลิตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ ข้อเสีย เอกชนอาจลงทุนในกิจการที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ส่วนรวมได้ เกิดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะการกระจายรายได้

ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ) ข้อดี กำไรเป็นสิ่งจูงใจให้เกิดการพัฒนา: ผู้ประกอบการแข่งขันกันค้นคว้าเทคโนโลยี ใหม่ๆมาใช้ในการผลิตเพื่อลดต้นทุน สร้างสรรค์ผลงานได้ตามใจผู้บริโภค

ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ) ข้อดี กำไรเป็นสิ่งจูงใจให้เกิดการพัฒนา รถของโซเวียต รถของเยอรมันนี

ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ) ข้อดี การจัดสรรทรัพยากรการผลิตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ เช่น เลือกผลิตในสิ่งที่มีคนต้องการ (เพราะสินค้านั้นจะมีราคาสูง) เลือกใช้ปัจจัยการผลิตที่มีราคาต่ำ (ต้นทุนจะได้ต่ำ)

ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ) ข้อเสีย เอกชนอาจลงทุนในกิจการที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ส่วนรวมได้ เลือกผลิตในสิ่งที่มีราคาสูงเพื่อให้ได้กำไรสูงสุด

ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ) ข้อเสีย เกิดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะการกระจายรายได้

ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ) ข้อเสีย ไม่ใส่ใจผลกระทบต่อสังคม เลือกผลิตแต่สิ่งที่มีราคาสูง (ไม่สนใจว่าการผลิตสิ่งนั้นจะ ก่อผลเสียอย่างไร) และไม่คิดที่จะลดผลกระทบนั้น (เพราะจะทำให้ต้นทุนสูงขึ้น)

ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ) ลักษณะที่สำคัญ (Again) เอกชนมีสิทธิในการเป็นเจ้าของทรัพย์สินและปัจจัยการ ผลิต เอกชนมีเสรีภาพในการเลือกดำเนินกิจกรรมทาง เศรษฐกิจตามใจชอบ รัฐบาลไม่เข้ามาแทรกแซง คงมุ่งเน้นแต่การป้องกัน ประเทศ รักษาความสงบเรียบร้อย

ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ) ปัญหาพื้นฐาน ทางเศรษฐกิจ แรงงาน ทุน ที่ดิน ผลิตอะไร ผู้ประกอบการ ตัดสินใจ โดยเสรี (ใช้กลไกราคา) อย่างไร ผลผลิต ให้ใคร ประชาชนเลือกที่จะทำอะไรก็ได้โดยเสรี ถ้าเป็นแรงงาน ก็เลือกงานตามความถนัดและความชอบของตน ถ้าเป็นผู้ประกอบการ ก็ตัดสินใจได้อย่างอิสระ ผู้บริโภค

ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ) ใช้กลไกราคา (หรือกลไกตลาด) ในการตัดสินใจ ตรวจดูราคาและตัดสินใจเอง บริษัท 5 บริษัท 1 ราคา บริษัท 4 บริษัท 2 บริษัท 3 ตรวจดูราคาและตัดสินใจเอง

ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy)

ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) ลักษณะที่สำคัญ (ตรงข้ามทุนนิยม) เอกชนไม่สามารถเป็นเจ้าของทรัพย์สินหรือปัจจัยการผลิต เอกชนไม่มีเสรีภาพในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ รัฐบาลกลางเป็นผู้วางแผน และดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจเอง

ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ) ข้อดี มีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ไม่มีความเลื่อมล้ำทางด้านรายได้ ข้อเสีย ประชาชนขาดแรงจูงใจในการทำงาน ใช้ทรัพยากรการผลิตไม่มีประสิทธิภาพ

ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ) ข้อดี มีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ: ทุกอย่างเป็นไปตามนโยบายของรัฐ

ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ) ข้อดี ไม่มีความเลื่อมล้ำทางด้านรายได้: ไม่มีชนชั้น ทุกคนเป็น แรงงาน ได้รับผลตอบแทนเท่ากัน

ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ) ข้อเสีย ประชาชนขาดแรงจูงใจในการทำงาน

ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ) ข้อเสีย ประชาชนขาดแรงจูงใจในการทำงาน: คนทำงานไปวันๆ ไม่มี สิ่งจูงใจให้คิดค้นอะไรใหม่ๆ เทคโนโลยีของเสรีนิยม เทคโนโลยีของสังคมนิยม

ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ) ข้อเสีย ใช้ทรัพยากรการผลิตไม่มีประสิทธิภาพ มักผลิตในสิ่งคนไม่ต้องการ แต่สิ่งที่คนต้องการไม่ผลิต ใช้เทคโนโลยีแบบเก่า ไม่มีประสิทธิภาพในการผลิต

ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ) ข้อเสีย มีการคอรัปชั่นของรัฐบาลกลางเพราะขาดกระบวนการในการตรวจสอบ

ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ) ลักษณะที่สำคัญ (Again) เอกชนไม่สามารถเป็นเจ้าของทรัพย์สินหรือปัจจัยการผลิต เอกชนไม่มีเสรีภาพในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ

ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ) ผลิตอะไร สำนักงานวางแผน (พรรคคอมมิวนิส) ตัดสินใจ ปัจจัยการผลิต ตัดสินใจ อย่างไร คำสั่ง ให้ใคร ผลผลิต คำสั่ง ข้อมูล คำสั่ง ผู้บริโภค ประชาชนไม่มีสิทธิเลือกที่จะเป็น ทุกอย่างถูกกำหนดจากส่วนกลาง มีอยู่ชนชั้นเดียว คือ กรรมกร (แรงงาน) ผู้ประกอบการหรือนายทุนเป็นสิ่งเลวร้าย

ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ) กลไกของเศรษฐกิจแบบวางแผน ข้อมูล สำนักงานวางแผน ข้อมูล คำสั่ง คำสั่ง คำสั่ง คำสั่ง หน่วยผลิต 1 คำสั่ง หน่วยผลิต 5 หน่วยผลิต 2 หน่วยผลิต 3 หน่วยผลิต 4

ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy) ใช้กลไกตลาดควบคู่ไปกับการวางแผนจากส่วนกลาง ระบบเศรษฐกิจแบบผสมคือ ระบบเศรษฐกิจที่มีลักษณะผสมระหว่างระบบ เศรษฐกิจทุนนิยมและสังคมนิยม บางประเทศจะมีลักษณะระบบเศรษฐกิจที่ค่อนข้างไปทางทุนนิยม เช่น สหรัฐอเมริกา เยอรมัน ญี่ปุน และไทยเป็นต้น บางประเทศจะมีลักษณะระบบเศรษฐกิจที่ค่อนข้างไปทางสังคมนิยม เช่น สิงคโปร์ ออสเตรเลีย เป็นต้น

เครื่องมือที่ใช้แก้ปัญหาเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม ใช้กลไกราคาหรือกลไกตลาด ระบบเศรษฐกิจสังคมนิยม ใช้แผนจากส่วนกลาง ระบบเศรษฐกิจแบบผสม ใช้กลไกราคาและแผนร่วมกัน

เครื่องมือที่ใช้แก้ปัญหาเศรษฐกิจ (เศรษฐกิจแบบทุนนิยม) ใช้กลไกราคา (หรือกลไกตลาด) ในการตัดสินใจ ตรวจดูราคาและตัดสินใจเอง บริษัท 5 บริษัท 1 ราคา บริษัท 4 บริษัท 2 บริษัท 3 ตรวจดูราคาและตัดสินใจเอง

เครื่องมือที่ใช้แก้ปัญหาเศรษฐกิจ (เศรษฐกิจแบบวางแผน) กลไกของเศรษฐกิจแบบวางแผน ข้อมูล สำนักงานวางแผน ข้อมูล คำสั่ง คำสั่ง คำสั่ง คำสั่ง หน่วยผลิต 1 คำสั่ง หน่วยผลิต 5 หน่วยผลิต 2 หน่วยผลิต 3 หน่วยผลิต 4

แขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics) เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics)

แขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics) เป็นการศึกษาพฤติกรรมของหน่วย เศรษฐกิจย่อย ได้แก่ ผู้ผลิตและ ผู้บริโภค ในการแสวงหา ผลประโยชน์สูงสุดของตนเอง เช่น - ผู้ผลิต ผลิตเพื่อให้ได้กำไรสูงสุด - ผู้บริโภค บริโภคเพื่อให้ได้ความ พึงพอใจสูงสุด -ใช้กลไกราคาในการศึกษาปฎิ สัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภค เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics) เป็นการศึกษาเศรษฐกิจทั้งระบบ เช่น รายได้ประชาชาติ ระดับราคาสินค้า และบริการ การบริโภค การออม การ ลงทุน ระดับการจ้างงานโดยทั่วไป การ ใช้จ่ายของรัฐบาล เป็นต้น

หน่วยเศรษฐกิจ (Economic Units) ในแต่ละระบบเศรษฐกิจจะประกอบไปด้วย 3 หน่วย ที่ทำหน้าที่แตกต่าง กันไป 1. ครัวเรือน (Household) 2. ธุรกิจ (Firms) 3. รัฐบาล (Government Agency)

กระแสการหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ (Economic Circular Flows) ค่าตอบแทน ปัจจัยการผลิต ธุรกิจ ครัวเรือน สินค้าและบริการ ค่าใช้จ่ายเพื่อซื้อสินค้าและบริการ

กระแสการหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ (Economic Circular Flows) ได้รับค่าจ้าง, ดอกเบี้ย, ค่าเช่า, กำไร ต้นทุนการผลิต ตลาดปัจจัยการผลิต (Factor Market) ให้แรงงาน, เงินทุน, ที่ดิน, ความเป็นผู้ประกอบการ ปัจจัยการผลิต ธุรกิจ ครัวเรือน (ใช้)สินค้าและบริการ (ผลิต)สินค้าและบริการ ตลาดผลผลิต (Output Market) ค่าสินค้าและบริการ (รายจ่าย) ค่าสินค้าและบริการ (รายได้)

แบบฝึกหัดบทที่ 1 อธิบายความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ ปัจจัยการผลิตประกอบด้วยอะไรบ้าง สินค้าและบริการแบ่งได้เป็นกี่ประเภท และแตกต่างกันอย่างไร ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง ระบบเศรษฐกิจแบ่งได้เป็นกี่ประเภท และมีความแตกต่างกันอย่างไร เศรษฐศาสตร์จุลภาคและมหาภาคแตกต่างกันอย่างไร หน่วยเศรษฐกิจประกอบด้วยอะไรบ้าง

ปัญหาทางเศรษฐกิจอย่างง่าย HOW WHAT Process Input Output ที่ดิน แรงงาน ทุน ผู้ประกอบการ การเลือก สินค้าและบริการ ผู้บริโภค For WHOM