Independent Study (IS)/Thesis

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Digital Engineering for Product Design, Development & Manufacturing รศ
Advertisements

Sripatum University.
ศท.1401 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสารนิเทศ ศศ สารนิเทศเบื้องต้น
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Processes)
Knowledge Management Reform to Innovation in Higher Education for The World Sustainable Development.
Mini Factory Lamphun. CONTENTS Vision Mission Curriculum Ultimate Goal Process & Machines SMT.
Chemical Industrial Process, Chemeng, KKU, Mm.Thabuot CIP บทบาทของวิศวกรเคมี
บทบาทของวิศวกรเคมี Lecture1_intro_ Chemical Industrial Process, Chemeng, KKU, Mm.Thabuot CIP 1.
กำหนดการเปิดใช้ ระบบทะเบียนและประมวลผล การศึกษา และระบบประเมินการศึกษา สถาบัน พระบรมราชชนก.
INTRODUCTION ความหมายของการสัมมนา (Seminar) สัมมนาคือ …. การประชุม (Meeting) แบบหนึ่งในหลายรูปแบบ สัมมนา แปลว่า ร่วมใจ (Meeting of minds) สัมมนาเป็นการประชุมร่วมกันขบคิด.
Faculty of Information Science and Technology, MUT 13/8/59 IS/Thesis OverviewIS/Thesis Overview.
การบริหารโครงการ (Project Management) โครงการ คือ งาน (task) ซึ่งมีการ กำหนดเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด ที่ แน่นอนและมีความต้องการใช้ทรัพยากร ต่างๆใน แต่ละกิจกรรมโดย.
Kunming University of Science and Technology, China
Roadmap RUN for Thailand 4.0
ICT in KM 03: เทคโนโลยีสนับสนุนการทำงานร่วมกันเป็นทีม
บทที่ 4 กลยุทธ์ระบบสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบและการวิเคราะห์ระบบ
การคิด/หาหัวข้อวิจัย (วิทยานิพนธ์/การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง)
บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
การเขียนเอกสารประจำภาค/เอกสารวิจัย การเขียนเอกสารโครงเรื่องวิจัย
บทที่ 4 เทคนิคการแตกโครงสร้างงาน Work Breakdown
ทิศทางการพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ 4.0
การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ประเทศไทย 4.0 Thailand 4.0 อุตสาหกรรม 4.0
Thai Quality Software (TQS)
การจัดการองค์ความรู้
Road to the Future - Future is Now
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์
Information System Development
การบริหารความปลอดภัยสารสนเทศ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
หมวด ๒ กลยุทธ์.
Health Promotion & Environmental Health
Educational Information Technology
Independent Study (IS)/Thesis
นวัตกรรมการบริการสารสนเทศ ในยุคประเทศไทย 4.0
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Information Technology in Agriculture ทพ491 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตร อาจารย์อภิพงศ์
หลักการและแนวทางการดำเนินการประกันคุณภาพ
Student activity To develop in to the world community
เด็กอายุ 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย
นวัตกรรมและเทคโนโลยี คือ INNOTECH
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดราชบุรี
Database ฐานข้อมูล.
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
Techniques Administration
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
บทที่ 10 การบริหารระบบเครือข่าย
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร. DMS.
ASEAN - China Free Trade Agreement (ACFTA)
หลักสูตรการพัฒนาผู้บริหาร สายสนับสนุนและช่วยวิชาการ
แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผล
ร่างแผนปฏิรูปองค์การ สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แนวความคิดและทฤษฎีการจัดการ Concept and Management Theory
สารสนเทศ และการรู้สารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
รายวิชา IFM4401 โครงงานการจัดการสารสนเทศ 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
Public Health Nursing/Community Health Nursing
MR. PAPHAT AUPAKA UPDATE PICTURE MEETING ROOM SYSTEM
งานคุ้มครองผู้บริโภค กับการเฝ้าระวังสื่ออย่างชาญฉลาด
การพัฒนา IT ให้บูรณาการเข้ากับโครงสร้างและระบบงาน
- การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
สิ่งสนับสนุน (ห้องต่าง ๆ เครื่องมืออุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก)
Introduction to Structured System Analysis and Design
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 2 ระบบเครือข่ายและอินเทอร์เน็ต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Independent Study (IS)/Thesis แนวทางในการจัดท าตัวเล่มสารนิพนธ http://www.msit.mut.ac.th/newweb/document/Manual-IS.pdf Faculty of Information Science and Technology, MUT 10/6/60

รู้จักกับสารนิพนธ์/วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์คืองานที่ผู้เป็นนักศึกษาระดับปริญญาโทแผน ข (วิทยานิพนธ์ สำหรับ แผน ก) ของหลักสูตรวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต ที่ต้องดำเนินการจัดทำ เพื่อวัดความรู้ความสามารถจากสิ่งที่ได้ศึกษามาตลอดหลักสูตร ว่ามีความรู้ ความสามารถจบไปอย่างมีคุณภาพได้หรือไม่ นักศึกษาระดับปริญญาโทจะต้องประมวลความรู้เพื่อจัดทำผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการใช้ความรู้อย่างเป็นระบบ มาสร้างให้เกิดประโยชน์ในการแก้ปัญหา หรือการพัฒนาสรรค์สร้างสิ่งใหม่ๆ และสามารถนำไปเผยแพร่ให้เป็นประโยชน์ ต่อสาธารณะ (ข้อมูลจากคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตรจากสกอ.) สร้างระบบใหม่ หรือ แก้ปัญหาของระบบที่มีอยู่แล้ว โดยนำเทคโนโลยสารสนเทศ ไปประยุกต์ใช้ เพื่อให้ได้ ผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์ในการเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร หรือ หน่วยงาน โดยมีการออกแบบแผนการและวิเคราะห์แผนการอย่างชัดเจน

หลักเกณฑ์ การลงทะเบียน ลงทะเบียนในวิชา การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง (Independent Study) การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง 1 การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง 2 (ต้องผ่านวิชา การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง 1 มาก่อน) *ลงทะเบียนเรียนได้ภาคการศึกษาละ 1 วิชา ไม่สามารถลงทะเบียนพร้อมกันได้ *การลงทะเบียนในช่วง summer – เปิดเฉพาะ IS2(สำหรับ นศ. Regrade หรือ มีโอกาศลงเป็นเทอมสุดท้ายก่อนสิ้นสุดสภาพนศ.(ใน การศึกษาระดับ ป โท นักศึกษาสามารถเรียนได้ 5 ปี และต่ออายุพิเศษได้อีก 1 ปีแล้วแต่การพิจารณาตามความเหมาะสม)) การทำสารนิพนธ์ ต้องสอบผ่านวิชา การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง 2 มาก่อน เกรดการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง 2 จะออกเมื่อมีการนำสารนิพนธ์มาส่งแล้ว สำหรับแผน ก จะเป็น Thesis1 และ Thesis2

ขั้นตอนการดำเนินงานในการทำสารนิพนธ์ เอกสารแนบ 1) ส าหรับวิชา การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง 1 ให้ท าการหาอาจารย์ที่ปรึกษาและ หัวข้อในการท าโครงงาน ส าหรับวิชา การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง 2 ให้เข้าพบเพื่อรับทราบ ค าแนะน าต่างๆ การแก้ไขงานที่คณะกรรมการพิจารณาให้แก้ไข และด าเนินการต่อในส่วนที่ เหลือ 2) ส่งแบบฟอร์มแจ้งหัวข้อ หมายเลข F-GIT-001 ที่เจ้าหน้าที่ธุรการเพื่อเก็บ หลักฐานว่านักศึกษามีความประสงค์จะด าเนินงานสารนิพนธ์ในภาคการศึกษานั้นๆ 3) ด าเนินงานสารนิพนธ์ โดยผู้จัดท าต้องหมั่นเข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อดู ความก้าวหน้าของงาน 4) ก่อนการสอบวัดความรู้ให้แจ้งความจ านงขอขึ้นสอบ โดยยื่นแบบฟอร์มการขอขึ้น สอบหมายเลข F-GIT-002 พร้อมเอกสารสารนิพนธ์ฉบับร่าง* และไฟล์งานที่เป็นเนื้อหาของ ตัวเล่มสารนิพนธ์ 5) สอบวัดความรู้ตามประกาศของทางบัณฑิตศึกษา 6) รอผลการสอบและใบให้ความคิดเห็น(comment)จากคณะกรรมการเพื่อ ปรับปรุงงาน 7) เฉพาะ การศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง 2 ให้จัดท ารูปเล่มสารนิพนธ์ฉบับจริงตาม ข้อก าหนดในคู่มือฉบับนี้ 8) ส่งตัวเล่มและแผ่น CD/DVD ที่มีเนื้อหาของสารนิพนธ์ให้กับเจ้าหน้าที่ธุรการ พร้อมกับแบบฟอร์ม การส่งรายงาน หมายเลข F-GIT-004 หากนักศึกษาไม่ด าเนินการส่งให้ เรียบร้อยจะได้รับเกรด I และจะไม่สามารถยื่นเรื่องขอจบการศึกษาได้ หมายเหตุ * รูปเล่มสารนิพนธ์ฉบับร่าง เป็นเอกสารที่มีเนื้อหาที่ได้จัดท าครบทุกบท โดยยังไม่ต้องเข้าเล่มท าปกนอกที่เป็นตัวอักษรเดินทอง http://www.msit.mut.ac.th/newweb/msitisdocument.htmlสำหรับแผน ก ไม่ต้องส่งเอกสารแนบ ส่งแค่เอกสารเสนอหัวข้อ F-GIT-001 เอกสารขอขึ้นสอบ F-GIT-026 และแบบส่งรายงาน F-GIT-027 แทน

หลักเกณฑ์ การนำเสนอหัวข้อ นำเสนอหัวข้อกับอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อดูขอบเขต ปริมาณงาน คุณภาพของงาน

ข้อเสนอหัวข้อโครงงาน (Project Proposal ) ความเป็นมาของโครงงาน (Problem/Motivation) อธิบายถึงแนวคิดเริ่มต้นว่า การทำโครงงานนี้มีที่มา อย่างไร โดยอาจแบ่งเป็น ปัญหาที่กำลังประสบอยู่ หรือ อาจเป็นสิ่งใหม่ๆ โดยแสดงให้เห็นถึง แรงจูงใจที่จะทำโครงงานที่นำเสนอ ระบบหรือวิธีการที่นำเสนอ (Proposed System/Method) แสดงภาพรวมของระบบที่นำเสนอ และองค์ประกอบ เพื่อแก้ปัญหาที่ได้ อธิบายไว้ในหัวข้อ ก่อนหน้า วัตถุประสงค์ของโครงงาน (Objectives) แสดงเป้าหมายของโครงงานที่จัดทำขึ้น ขอบเขตของโครงงาน (Scope) แสดงรายละเอียดของระบบที่นำเสนอว่าสามารถทำอะไรได้บ้าง แผนการดำเนินงาน (Calendar Planning) เป็นการแสดงแผนเวลาของการทำโครงงานในรูปของ Task Calendar โดยแสดงถึง ชื่องาน (Task Name) / ระยะเวลา (Duration) เอกสารอ้างอิง (References)

แนวทางการทำโครงงานหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต โครงงานที่ศึกษาถึงปัญหาที่เกิดขึ้นกับการใช้งานจริงภายในองค์กร โดยมีการพัฒนาหรือปรับปรุงระบบเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดและช่วยอำนวยความสะดวกในการ ดำเนินงานภายในองค์กร การพัฒนาระบบควบคุมการใช้งานอินเทอร์เน็ทภายในหอพัก/ การพัฒนาระบบ Network Monitoring สำหรับบริษัท กขค จำกัด การพัฒนาระบบซื้อขาย ออนไลน์ หรือ ระบบบริหารจัดการสารสนเทศ ขององค์กร การปรับปรุงประสิทธิภาพระบบ โดยใช้เครื่องมือทางด้าน IT เช่น การใช้ CMS (Content Management System) มาช่วยในการจัดทำ งาน KM ( Knowledge Management) โครงงานเกี่ยวกับการจัดทำนโยบาย และแผนขององค์กร (ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็น เอกสาร นโยบาย หรือ แผน ที่มีการทดสอบ และทดลองใช้จริง) การตรวจสอบความมั่นคงปลอดภัยของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร การจัดทำนโยบายทางด้านความมั่นคงปลอดภัยโดยใช้มาตรฐาน ISO27001 สำหรับบริษัท นายแสนดี จำกัด โครงงานเกี่ยวกับการศึกษาและวิเคราะห์ผลการศึกษา การวิเคราะห์การทำงานของการ scaling บน cloud ในลักษณะ ต่างๆ และเปรียบเทียบวิธีการ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพ ข้อดีหรือ ข้อเสีย รวมถึงกระบวนการในการทดลอง สมมติฐาน โดยมีรูปแบบกึ่งงานวิจัย การศึกษาและปรับปรุงคุณภาพการให้บริการของโพรโทคอล TCP/IP

แนวทางการทำโครงงาน สาขาวิชาวิศวกรรมเครือข่ายและสาขาวิชาความมั่นคงทางระบบสารสนเทศ http://www.msit.mut.ac.th/newweb/projectguildline.html สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ http://www.msit.mut.ac.th/newweb/textword/download/IS_guideline.pdf

หลักเกณฑ์ การจัดหาที่ปรึกษา อาจารย์ที่สามารถเป็นที่ปรึกษาหลัก รศ.ดร.วีระศักดิ์ คุรุธ้ช ผศ.ดร.วรพล ลีลาเกียรตสกุล ผศ.ดร.พนม เพชรจตุพร ผศ.ดร.รุ่งโรจน์ โชคงามวงศ์ ผศ.ดร.หมัดอามีน หมันลิน ผศ.ดร.สุรณพีร์ ภูมิวุฒิสาร ดร.เอกรัฐ รัฐกาญจน์ ดร.นันทา จูพิทักษ์ ดร.ภากร จูเหล็ง อาจารย์ที่สามารถเป็นที่ปรึกษาร่วม Thesis – อาจาย์ท่านอื่นๆที่มีวุฒิการศึกษา ป เอก Independent Study (IS) – อาจาย์ท่านอื่นๆที่มีวุฒิการศึกษา ป โท หรือ ป เอก http://www.msit.mut.ac.th/newweb/textword/download/advisor.pdf

อาจารย์ที่ปรึกษา MSIT (Modern Technology Development) อาจารย์ที่สามารถเป็นที่ปรึกษาหลัก อาจารย์ที่สามารถเป็นที่ปรึกษาร่วม (ถ้ามี)

อาจารย์ที่ปรึกษา MSIT (IT Management in Digital Economy) อาจารย์ที่สามารถเป็นที่ปรึกษาหลัก อาจารย์ที่สามารถเป็นที่ปรึกษาร่วม (ถ้ามี)

อาจารย์ที่ปรึกษา MSNE-IS (Enterprise Network System) อาจารย์ที่สามารถเป็นที่ปรึกษาหลัก อาจารย์ที่สามารถเป็นที่ปรึกษาร่วม (ถ้ามี)

อาจารย์ที่ปรึกษา MSNE-IS (Cyber Security) อาจารย์ที่สามารถเป็นที่ปรึกษาหลัก อาจารย์ที่สามารถเป็นที่ปรึกษาร่วม (ถ้ามี)

หัวข้อโครงงานที่นักศึกษาสามารถเข้าร่วมได้ หัวข้อโครงงานที่ initiated โดยอาจารย์ ดร เอกรัฐ การวิเคราะห์และทดสอบการทำงานของสมาร์ทโฟนเนทเวิก API โดยใช้เทคนิค Man-In-The-Middle การวิเคราะห์มัลแวร์ในสมาร์ทโฟนแอฟพิเคชั่นโดยใช้เทคนิกวิศวกรรมย้อนกลับ (Reverse Engineering) การประยุกต์ใช้ IoT ในชีวิตประจำวัน ดร.ภากร การตรวจสอบและการคาดการณ์เครือข่ายสำหรับเครือข่ายแบบ LAN โดยใช้วิธีการพยากรณ์เชิงปริมาณ การดักจับเหตุการณ์ความปลอดภัยและการแจ้งเตือนเรียลไทม์บนสภาพแวดล้อมของ Windows โดยใช้วิธีการเชิงปริมาณ แพลตฟอร์มสำหรับบริการ IoT ที่ปลอดภัยและอัจฉริยะบนโปรโตคอล MQTT อ.สืบทัศน์ ระบบวิเคราะห์กลุ่ม Good Health and well-being เช่น App สำหรับวิเคราะห์และวัดประสิทธิภาพการใช้ชีวิตประจำวัน ระบบวิเคราะห์กลุ่ม Quality education เช่น App สำหรับวิเคราะห์และวัดประสิทธิภาพประวัติการศึกษา ระบบวิเคราะห์กลุ่ม Decent work and economic growth เช่น App สำหรับวิเคราะห์และวัดประสิทธิภาพร่างกายของนักกีฬาด้วย IoT, App สำหรับวิเคราะห์และสั่งซื้อออนไลน์ด้วย IoT ระบบวิเคราะห์กลุ่ม Sustainable cities and communities หุ่นยนต์ (ชุดประกอบ LEGO) เฝ้ายาม, App ประยุกต์ Blockchain (บันทึกข้อมูล และแสดงข้อมูลสาธารณะ) ใน 2 ประเภทต่อไปนี้ ระบบวิเคราะห์กลุ่ม Clean water and sanitation ระบบวิเคราะห์กลุ่ม Gender equality

หัวข้อโครงงานที่นักศึกษาสามารถเข้าร่วมได้ ดร. นันทา การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร การพัฒนา mobile application เพื่อใช้สำหรับการฝากส่งสินค้า โดยใช้เทคโนโลยี GPS และหลักการ Milk Run การพัฒนา mobile application ในหัวข้อ Fast Shopping โดยการช่วยค้นหาสินค้าในห้างสรรพสินค้าว่าอยู่ที่ชั้นใด โดยใช้หลักการเดียวกันกับการค้นหาหนังสือในห้องสมุด และนำ เทคโนโลยี RFID หรือ NFC มาใช้ , Pilot Run : ร้านสไมล์ ซุปเปอร์มาร์เก็ต ระยอง, ร้านวรรณ ซุปเปอร์มาร์เก็ต ระยอง , เพื่อขยายผลสู่ห้างสรรพสินค้าต่างๆ สร้าง mobile application โดยใช้มือถือในการ authentication และเก็บข้อมูลแต้มโปรโมชั่น การแลกโปรโมชั่น โดยไม่ต้องใช้บัตร stamp อีกต่อไป โดยที่สามารถให้บริการได้กับทุก ร้านค้าที่ร่วมบริการ ดร. สุรณพีร์ ระบบ e-Document ของบัณฑิตศึกษา ความร่วมมือ e-Corp (Security log analysis) ติตต่อ อ ไชยณัฐ หน่วยงาน Mahanakorn Network Research Laboratory ติอต่อ อ ณัฐฐ์

หลักเกณฑ์ การสอบสารนิพนธ์ กรรมการสอบ 3 ท่าน สอบห้อง Lecture ถ้านักศึกษาต้องการใช้เครื่อง computer ห้อง lab ในการ demo ในการสอบ ให้เเจ้งล่วงหน้าที่ ผอ.บัณฑิตศึกษา ก่อนตาราง สอบจะออก การคิดคะแนน มาจาก 0.3 x คะแนน อ ที่ปรึกษา + 0.7 คะแนนเฉลี่ยของกรรมการ 3 ท่าน 90 – 100 -> A 80 – 89 -> B+ 70 – 79 -> B 60 – 69 -> C+ Project ที่ได้คะเนนจากกรรมการย้อยกว่า B ให้ ผอ บัญฑิตตรวจสอบการแก้ comment -

รูปเล่มรายงาน บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 พื้นฐานและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 ระบบที่นำเสนอ บทที่ 4 ผลการทดลอง บทที่ 5 สรุปผลการดำเนินงาน เอกสารอ้างอิง ภาคผนวก http://www.msit.mut.ac.th/newweb/document/Manual-IS.pdf

วันที่ กำหนดการ 10 มิ.ย. 60 ปฐมนิเทศนักศึกษาโครงงาน 1 เวลา 13.00 น. – 15.00น. ห้อง Q210 5 ส.ค. – 3 ก.ย. 60 -นักศึกษาที่ลง IS 1/Thesis1 ทำการติดต่ออาจารย์ที่ปรึกษา และยื่นคำร้องเสนอหัวข้อ F-GIT-001 พร้อมเอกสารแนบ Project Proposal (เฉพาะ IS) ที่มีลายเซ็นต์ อ.ที่ปรึกษา ภายในวันอาทิตย์ที่ 3 ก.ย. 60 ก่อนเวลา 17.00น. (ส่งช้าหัก 1 ประจุ) -นักศึกษาที่ลง IS 2/Thesis2 กรอกคำร้องยื่นหัวข้อ F-GIT-001 ที่มีลายเซ็นต์อ.ที่ปรึกษา ภายในวันอาทิตย์ที่ 3 ก.ย. 60 ก่อนเวลา 17.00น. (ส่งช้าหัก 1 ประจุ) 1 ธ.ค. - 17 ธ.ค. 60 IS1/Thesis 1, IS 2/Thesis2 ยื่นใบคำร้องขอขึ้นสอบมีลายเซ็นต์อ.ที่ปรึกษา F-GIT-002 และเล่มรายงาน 3 ชุด พร้อม CD 1 แผ่น ภายในวันอาทิตย์ที่ 17 ธ.ค. 60 ก่อนเวลา 17.00 (ประกาศตารางสอบและห้องวันจันทร์ที่ 18 ธ.ค.60) (ส่งช้าหัก 1 ประจุ) 23 -24 ธ.ค. 60 - IS1/Thesis 1, IS 2/Thesis2 สอบวัดความรู้

จรรยาบรรณของการทำสารนิพนธ์ ไม่ควรทำสารนิพนธ์ให้มี เนื้อหาหรือการทดสอบที่จะก่อให้เกิดเกิดความเสียหายกับผู้อื่น ต้องไม่เป็นการคัดลอกผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง เพราะจะแสดงให้เห็น ว่าผู้จัดท าไม่มีความรู้ที่แท้จริง และจะท าให้ผู้จัดท าขาดความน่าเชื่อถือ จะมีการตรวจการคัดลอก ด้วยระบบ พร้อมเมื่อไหร่ประกาศใช้เลย

FAQ Independent Study1 และ 2 ถ้าทำคนละเรื่องจะทำอย่างไร ก่อนขึ้นสอบ IS2 ให้ อาจารย์ที่ปรึกษาแจ้งผอ.บัณฑิต เพื่อจัดสอบ IS1 เป็นการภายใน สามารถทำ Independent Study ในสาขาอื่นได้หรือไม่ ทำได้ แต่ไม่แนะนำ เนื่องจากความรู้ที่เรียนมาไม่ได้ถูกนำมาใช้ในการทำ IS อย่างเต็มที่ การสอบในกรณีนี้ต้องสอบกับอาจารย์สาขาที่มี ความเชี่ยวชาญ เช่เดียวกันกับนักศึกษาท่านอื่นๆที่อยู่ในสาขานั้น ตัวอย่างรุ่นพี่นำมาอ้างอิงได้หรือไม่ ถ้าอ้างอิงตัวอย่างที่ไม่ดี งานจะออกมาไม่ดี แนะนำว่าให้พิจารณาอย่างมากในการดูตัวอย่างรุ่นพี่

Links ที่สำคัญ IS Thesis ดาวน์โหลดคู่มือโครงงาน ได้ที่ Template http://www.msit.mut.ac.th/newweb/document/Manual-IS.pdf Template http://www.msit.mut.ac.th/newweb/document/Template%20-IS.docx Thesis http://www.msit.mut.ac.th/newweb/document/Manual-Thesis.pdf http://www.msit.mut.ac.th/newweb/document/Template%20-Thesis.docx

แบบฟอร์มต่างๆ IS/Thesis แบบฟอร์มการเสนอหัวข้อโครงงานในวิชาการศึกษาอิสระ http://www.msit.mut.ac.th/newweb/textword/download/project_propose.doc เอกสารแนบ Project Proposal (เฉพาะ IS) http://www.msit.mut.ac.th/newweb/textword/download/propjectproposal.docx แบบฟอร์มขอขึ้นสอบ แบบฟอร์มการขอขึ้นสอบวิชาวิทยานิพนธ์ http://www.msit.mut.ac.th/newweb/textword/download/thesis_form.doc แบบฟอร์มการขอขึ้นสอบวิชาการศึกษาอิสระ http://www.msit.mut.ac.th/newweb/textword/download/project_exam.doc แบบฟอร์มการส่งรายงาน แบบฟอร์มการส่งรายงานวิชาวิทยานิพนธ์ http://www.msit.mut.ac.th/newweb/textword/download/thesis_submit.doc แบบฟอร์มการส่งรายงานวิชาการศึกษาอิสระ http://www.msit.mut.ac.th/newweb/textword/download/Project_submit.doc

วันที่ กำหนดการ 3 มิ.ย. 60 เปิดเรียนภาคฤดูร้อน Summer 3/2559 ภายใน 25 มิ.ย 60 -นักศึกษาที่ลง IS1/Thesis1 ทำการติดต่ออาจารย์ที่ปรึกษา และยื่นคำร้องเสนอหัวข้อ F-GIT-001 พร้อมเอกสารแนบ Project Proposal (เฉพาะ IS) ที่มีลายเซ็นต์ อ.ที่ปรึกษา ภายในวันอาทิตย์ที่ 25 มิ.ย. 60 ก่อนเวลา 17.00น. (ส่งช้าหัก 1 ประจุ) -นักศึกษาที่ลง IS 2/Thesis2 กรอกคำร้องยื่นหัวข้อ F-GIT-001 ที่มีลายเซ็นต์อ.ที่ปรึกษา ภายในวันอาทิตย์ที่ 25 มิ.ย. 60 ก่อนเวลา 17.00น. (ส่งช้าหัก 1 ประจุ) 1 ก.ค. - 16 ก.ค. 60 IS1/Thesis 1, IS 2/Thesis2 ยื่นใบคำร้องขอขึ้นสอบมีลายเซ็นต์อ.ที่ปรึกษา F-GIT-002 และเล่มรายงาน 3 ชุด พร้อม CD 1 แผ่น ภายในวันอาทิตย์ที่ 16 ก.ค. 60 ก่อนเวลา 17.00 (ประกาศตารางสอบและห้องวันจันทร์ที่ 17 ก.ค.60) (ส่งช้าหัก 1 ประจุ) 22 -23 ก.ค. 60 - IS1/Thesis 1, IS 2/Thesis2 สอบวัดความรู้