บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Advertisements

การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การเพิ่ม ลบ จำกัดสิทธิ์ User จัดทำโดย 1. นายธัชนนท์ ต๊ะต้องใจ 1-B เลขที่ 4 2. นาย ไพบูรณ์ อินทะซาว 1-B เลขที่ 23.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
วิชา. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในชีวิตประจำวัน บทที่ 2
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายชื่อผู้จัดทำ ด.ช.จิณณวัตร ทับจันทร์ เลขที่ 1 ม.1/3 ด.ช.ฐิติพงศ์ โลหะเวช เลขที่ 4 ม.1/3 ด.ช. พงศ์ภัค พุทธรักษ์ เลขที่9 ม.1/3 ด.ช.อริยะ แดงงาม เลขที่
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระบวนการของการอธิบาย
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การ สืบค้นสารสนเทศ อินเทอร์เน็ต แหล่งสารสนเทศของ ภาษาไทย แหล่งสารสนเทศของ ภาษาอังกฤษ นายวรรธนะ คำสอนทา ID ED1B B06.
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ( หน่วยเทคโนโลยี บริการ ) โครงการอบรมพัฒนาบุคลากร คณะแพทยศาสตร์ และ โรงพยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวร งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ( หน่วยเทคโนโลยี
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
องค์ประกอบฮาร์ดแวร์ คุณลักษณะเฉพาะของเครื่อง คอมพิวเตอร์ ทำงานได้ด้วยชุดคำสั่งหรือโปรแกรม สามารถจำข้อมูลหรือชุดคำสั่งได้ ทำงานได้อย่างถูกต้อง ทำงานได้อย่างรวดเร็ว.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ หน่วยรับเข้า และ หน่วยส่งออก ( In put, Out put )
บทที่ 2 โครงสร้างและหน้าที่ การทำงาน ของระบบคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
บทที่ 5 ระบบหน่วยความจำ. หน่วยความจำเป็นแหล่งจัดเก็บข้อมูล และ เป็นพื้นที่ที่ใช้สำหรับประมวลผล หน่วยความจำหลัก (RAM) ต้องทำงาน ด้วยการใช้กระแสไฟฟ้าเลี้ยงตลอดเวลา.
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
บทที่ 1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
Educational Information Technology
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
Information and Communication Technology Lab2
เรียนรู้การใช้งานโปรแกรม เพื่อจำลองระบบไมโครคอนโทรลเลอร์
เซอร์กิตสวิตชิงและแพ๊คเก็ตสวิตชิง (Circuit Switching and Packet Switching ) อ.ธนากร อุยพานิชย์
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 ระบบจัดการฐานข้อมูล
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Basic Input Output System
Introduction to Microprocessors
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
ระบบบริหารข้อมูลอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครือข่าย (ITAM)
โดย นายอนุชา ศรีเริงหล้า นักอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติการ
SMS News Distribute Service
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
โครงสร้างคอมพิวเตอร์ (Computer Organization)
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
เมนูหลัก ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน

ลักษณะการทำงานของคอมพิวเตอร์

โครงสร้างของคอมพิวเตอร์ (Structure of Computer) (อุปกรณ์ต่อพ่วง) (สายสัญญาณ)

โครงสร้างของคอมพิวเตอร์ (Structure of Computer) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยความจำหลัก (Main Memory Unit) หน่วยอินพุต เอาต์พุตหรือหน่วยรับเข้าและส่งออก (Input / Output Unit) หน่วยการเชื่อมต่อภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ (System Interconnection Unit)

หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) เป็นส่วนที่สำคัญที่สุดของคอมพิวเตอร์ เสมือนเป็นสมองของเครื่อง ทำหน้าที่ คำนวณค่าต่างๆ ตามคำสั่งที่ได้รับมอบหมาย และควบคุม การทำงานของส่วนประกอบอื่นๆ ทั้งหมด ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์ ถูกสร้างให้อยู่ในรูปวงจรรวม (Integrated Circuit: IC) เพียงตัวเดียว ทำให้ง่ายในการนำไปใช้งาน หน่วยประมวลกลางเป็นหน่วยที่มีความซับซ้อนมากที่สุด ซึ่งประกอบด้วยส่วนประกอบหลักต่างๆ

หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยคำนวณทางคณิตศาสตร์และตรรกะ (Arithmetic and Logic Unit) เป็นหน่วยที่ทำหน้าที่ประมวลผลโดยใช้วิธีที่คณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร หรือ ทำหน้าที่ประมวลผลทางตรรกะ เช่น แอนด์ (AND) ออร์(OR) และนอต (NOT) เป็นต้น รวมทั้งยังทำหน้าที่ในการเปรียบเทียบค่าต่างๆ หน่วยเก็บข้อมูลชั่วคราวที่อยู่ภายในหน่วยประมวลผลกลางหรือเรจิสเตอร์ (Register) เป็นหน่วยความจำขนาดเล็ก ทำหน้าที่เป็นที่พักข้อมูล ชั่วคราวก่อนที่จะถูกนำไปประมวลผล โดยปกติแล้วในหน่วยประมวลผลกลางจะมี เรจิสเตอร์ สำหรับเก็บข้อมูล ไม่เกิน 64 ตัว การอ้างอิงข้อมูลของเรจิสเตอร์ หน่วยควบคุม (Control Unit) เป็นเสมือนหน่วยบัญชาการของระบบคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ทำหน้าที่กำหนดจังหวะการทำงานต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ไม่เว้นแม้แต่ส่วนประกอบอื่นๆ ของหน่วยประมวลผลกลาง นอกจากนี้ยังทำหน้าที่ควบคุมการรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยต่างๆ ในคอมพิวเตอร์ ให้สามารถทำงานร่วมกันได้อย่างเป็นระบบ

หน่วยความจำหลัก (Main Memory Unit) เป็นหน่วยที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นตัวเลขหรือข้อความแม้กระทั่งคำสั่งต่าง ๆ ในโปรแกรมที่จะใช้สั่งงานระบบคอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปหน่วยความจำจะถูกสร้างมาบนไอซีเพื่อให้มีความจุสูง แต่มีขนาดเล็ก ข้อมูลที่เก็บในหน่วยความจำจะมีสถานะ เพียงแค่เปิดวงจร (0) หรือปิดวงจร (1) เท่านั้น

หน่วยความจำหลัก (1) รอม หรือหน่วยความจำอ่านอย่างเดียว (ROM : Read Only Memory) เป็นหน่วยความจำแบบสารกึ่งตัวนำชั่วคราวชนิดอ่านได้อย่างเดียว ใช้เป็น สื่อบันทึกในคอมพิวเตอร์ เพราะไม่สามารถบันทึกซ้ำได้ เป็นหน่วยความจำ ที่มีซอฟต์แวร์หรือข้อมูลอยู่แล้ว และพร้อมที่จะนำมาต่อกับไมโครโพรเซสเซอร์ได้โดยตรง หน่วยความจำประเภทนี้แม้ไม่มีไฟเลี้ยงต่ออยู่ ข้อมูลก็จะไม่หายไปจากหน่วยความจำ โดยทั่วไปจะใช้เก็บข้อมูลที่ไม่ต้องมีการแก้ไขอีกแล้ว เช่นไบออส (Basic Input Output System :BIOS) ของเครื่องคอมพิวเตอร์

หน่วยความจำหลัก (2) แรม หรือหน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม (RAM : Random Access Memory) หน่วยความจำที่เข้าถึงข้อมูลโดยการสุ่ม เป็นหน่วยความจำหลัก ที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ยุคปัจจุบัน หน่วยความจำชนิดนี้ อนุญาตให้เขียนและอ่านข้อมูลได้ในตำแหน่งต่างๆ อย่างอิสระ และรวดเร็ว ซึ่งต่างจากสื่อเก็บข้อมูลชนิดอื่นๆ อย่างเทป หรือดิสก์ ที่มีข้อจำกัดในการอ่านและเขียนข้อมูล ที่ต้องทำตามลำดับก่อนหลัง หรือมีข้อกำจัดแบบรอม ที่อนุญาตให้อ่านเพียงอย่างเดียว ข้อมูลในแรม จะหายไปทันที เมื่อระบบคอมพิวเตอร์ถูกปิดลง เนื่องจากหน่วยความจำชนิดนี้ จะเก็บข้อมูลได้เฉพาะเวลาที่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเท่านั้น

หน่วยรับเข้าและส่งออก (Input / Output Unit) เป็นหน่วยที่ทำหน้าที่รับการติดต่อจากภายนอกเข้าสู่ระบบ และแสดงผลที่ได้จากการทำงานของระบบออกสู่อุปกรณ์ภายนอก เช่น คีย์บอร์ด, จอภาพ, ลำโพง, หน่วยขับจานบันทึก เป็นต้น หน่วยรับเข้าและส่งออกเป็นหน่วยที่ทำหน้าที่ในการติดต่อสื่อสารระหว่างระบบภายในของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ภายนอกต่างๆ ให้สามารถติดต่อสื่อสารข้อมูลและสามารถทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

หน่วยการเชื่อมต่อภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ (System Interconnection Unit) เป็นหน่วยที่ให้ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์สามารถสื่อสารระหว่างกันได้ เป็นสื่อกลางในการเชื่อมโยงของโครงสร้างต่างๆ ภายในระบบคอมพิวเตอร์ให้สามารถติดต่อสื่อสารกันได้

หน้าที่การทำงานของคอมพิวเตอร์ (Function of Computer) การประมวลผลข้อมูล (Data Processing) เครื่องคอมพิวเตอร์มีหน้าที่หลักคือการประมวลผลข้อมูลที่เข้ามาแล้วทำงานตามคำสั่ง การเก็บข้อมูล (Data Storage) เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถที่จะจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ได้ การเคลื่อนย้ายข้อมูล (Data Movement) เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถที่จะทำการเคลื่อนย้ายข้อมูลต่างๆ ได้ ซึ่งอาจจะเคลื่อนย้ายกันระหว่างอุปกรณ์ต่อพ่วง หรือเคลื่อนย้ายข้อมูลระหว่างเครือข่าย การควบคุม (Control) เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถที่จะควบคุมการทำงานต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ให้สามารถทำงานต่างๆ หรือทำงานร่วมกันได้โดยไม่มีการแย่งกันใช้ทรัพยากรของระบบคอมพิวเตอร์

หน้าที่การทำงานของคอมพิวเตอร์ (1)

หน้าที่การทำงานของคอมพิวเตอร์ (2)

หน้าที่การทำงานของคอมพิวเตอร์ (3)

หน้าที่การทำงานของคอมพิวเตอร์ (4)

หน้าที่การทำงานของคอมพิวเตอร์ (5)