การใช้ Big Data และ Artificial Intelligence (AI) ในงานสร้างสุขภาพ น.พ.อมร นนทสุต
ทำไมจึงต้องใช้ Big Data และ Artificial Intelligence (AI) เหตุผล “สุขภาพดีไม่มีขาย อยากได้ต้องทำเอง” ยังเป็นสัจจธรรม การสื่อสารคือหัวใจสำคัญในการส่งเสริมหรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สังคมไทยพึ่งพาข้อมูลข่าวสารทาง Social media (Facebook, Twitter, Instagram etc.) ด้วยอุปกรณ์สมัยใหม่ (โทรศัพท์มือถือ/ Tablet/ Internet/ TV / PC ) จนเป็น “สังคมก้มหน้า” ไปแล้ว การสื่อสารในระบบสาธารณสุขมูลฐานควรได้รับการปรับปรุงโดยใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสมัยใหม่ เพราะจะมีผลกระทบโดยตรงต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย
บุคคลปรับเปลี่ยนพฤติกรรม บุคคลปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การปรับแนวคิดการพัฒนาสุขภาพ ยุคประเทศไทย 4.0 ใช้แผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์ (SLM) ใช้ค่ากลางและ บูรณาการ โครงการ ปรับบทบาท ภาค รัฐและประชาชน ปรับบทบาท ภาค รัฐและประชาชน บุคคลปรับเปลี่ยนพฤติกรรม บุคคลปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พัฒนาและบริหาร จัดการข้อมูล
ระบบสื่อสารในโครงการสุขภาพ การใช้เทคโนโลยีสื่อสารดิจิตัลเพื่อพัฒนาสุขภาพ (Conceptual Model) ใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) สร้างโปรแกรมการใช้ ข้อมูลสุขภาพ (apps) ระบบสื่อสารในโครงการสุขภาพ กำหนดเครือข่ายสังคม ใช้สื่อสังคม และapps. ใช้ปัญญาประดิษฐ์ (AI)
การกำหนดกลุ่มเป้าหมายและบทบาทหน้าที่ของเครือข่ายสังคม แบ่งเครือข่ายสังคมออกเป็นสองกลุ่มเป้าหมาย คือเป้าหมายหลัก และเป้าหมายรอง เป้าหมายหลักคือผู้ที่ใช้โทรศัพท์มือถืออยู่แล้วในปัจจุบัน สร้าง apps. สำหรับกลุ่มเป้าหมายหลักเพื่อใช้ประโยชน์ ภายในเครือข่าย เป้าหมายหลักแบ่งย่อยออกเป็นสามประเภทคือ (1) บุคคล (2) อสม. (3) เจ้าหน้าที่ เป้าหมายหลักติดต่อสื่อสารกับเป้าหมายรองภายในบริบทที่ เป็นอยู่ในปัจจุบัน (ก) ในฐานะสมาชิกในครอบครัวเดียวกัน (ข) อสม.ติดต่อกับครอบครัวในเครือข่าย (ค) ท้องถิ่น/ท้องที่ /ประชาชน พัฒนาแผนงาน โครงการ และ สร้างนวัตกรรม ร่วมกัน กลุ่มเป้าหมายรอง กลุ่มเป้าหมายหลัก เครือข่ายสังคม
การใช้เทคโนโลยีสื่อสารเพื่อพัฒนาสุขภาพ ยุค ประเทศไทย 4.0 (Conceptual Model) ปรับระบบสื่อสาร เครือข่ายสังคม
การพัฒนาและบริหารจัดการข้อมูล สร้างทีมดูแลข้อมูลในระดับต่างๆ รวมทุกฝ่ายทั้งรัฐ ท้องถิ่น และประชาชน ทีมกำหนดวัตถุประสงค์และกระบวนการใช้ข้อมูล (ใช้เพื่ออะไร อย่างไร) สร้างระบบข้อมูลสุขภาพสำหรับกลุ่มเป้าหมายโดยจำแนกเป็นรายกลุ่มเป้าหมายและรายบุคคล ใช้ข้อมูลที่หน่วยงานทุกฝ่ายมีอยู่เดิมเป็นจุดตั้งต้น สำรวจเพิ่มเติมเฉพาะครอบครัวของกลุ่มเป้าหมายหลักผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ (SMART sampling/ survey) สร้างระบบข้อมูลสภาวะแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ ใช้ระบบข้อมูลดิจิตัล ( Big Data , AI ) เพื่อความคล่องตัวในการค้นหา เปลี่ยนแปลง สร้างความเชื่อมโยงกับผู้มีหน้าที่วิเคราะห์ ติดตาม แก้ปัญหาการปฏิบัติงาน สร้างระบบการ Update ข้อมูล
ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) คืออะไร ? ได้อย่างมีประสิทธิภาพ Big Data คือ การรวบรวมข้อมูลทั้ง Structured (พวกที่เก็บโดยมีโครงสร้าง เช่นตาราง ข้อมูล) และ Unstructured (พวกที่เป็น ข้อความยาวๆ รูปภาพ และ วิดีโอ ต่าง ๆ) มาทำการ ประมวลวิเคราะห์และนำไปใช้ประโยชน์ การทำงานกับข้อมูลขนาดใหญ่ย่อมต้องใช้วิธีที่แตกต่าง ทั้งเทคนิค เครื่องมือ ตลอดจนโครงสร้าง และมุมมอง (Architecture) ทั้งหมดนี้มีจุดประสงค์คือเพื่อแก้ปัญหาที่พบใหม่ หรือแก้ปัญหาเก่าด้วยวิธีการใหม่
สิ่งที่ต้องพิจารณาในการใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ แหล่งที่มา : Marko Grobelnik marko.grobelnik@ijs.si Jozef Stefan Institute รูปแบบการใช้ข้อมูล ผู้ใช้ข้อมูล ประเด็นเพิ่มเติม
เกี่ยวกับกระบวนการของ Big Data การได้มาซึ่งข้อมูล (Generate data) ใช้แบบจำลองแนวคิด (Conceptual model) ที่แสดงไว้ในภาพนี้ ในการสำรวจ และสร้างฐานข้อมูล (Database) ใช้ On-line survey software tool ช่วยสร้างและจัดการสำรวจ เช่นโปรแกรม eSurveysPro. การจัดระเบียบและวิเคราะห์ข้อมูล (Aggregate and analyze data) ด้วยเหตุที่ข้อมูลมีจำนวนมากและหลากหลาย การสรุปเหตุผลเพื่อนำไปใช้อาจยุ่งยากซับซ้อนอย่างยิ่ง จึงควรใช้บริการ (ฟรีหรือเสียเงิน) ของผู้ให้บริการหรือผู้จำหน่ายโปรแกรม Cloud computing ที่เหมาะสม เช่น Google App Engine, Microsoft Azure. การใช้ข้อมูล การให้คำแนะนำต่อกลุ่มเป้าหมายจะได้รับการตอบสนองมากหรือน้อยขึ้นกับระบบปฏิบัติการ (App) ที่สร้างขึ้นมีพื้นฐานมาจากข้อมูลที่เหมาะสมสำหรับผู้รับทั้งในเชิงพฤติกรรมและเนื้อหา
ตัวอย่างการใช้ประโยชน์ Big Data รูปแบบการสื่อสารเปลี่ยนแปลงอย่างไรสำหรับประชากรกลุ่มต่าง ๆ (เพศ วัย ภูมิประเทศ อาชีพ ฯลฯ) เครือข่ายการสื่อสาร ใครสื่อสารกับใคร เทคนิคการสื่อสารที่ใช้โดยประชากรกลุ่มต่าง ๆ ลักษณะรูปแบบข้อมูลที่สื่อสาร ปริมาณการค้นหาข้อมูลทางสุขภาพ (เช่น Internet search / log-in) การรับรู้และใช้ประโยชน์ข้อมูลของกลุ่มเป้าหมายที่มีปัญหาสุขภาพ การนำเสนอข้อมูล คำแนะนำ /โครงการที่เป็นประโยชน์ / สินค้าสุขภาพ การสร้าง Specialized App. เกี่ยวกับสุขภาพ ฯลฯ
บทสรุปของ Big Data Big Data มีอยู่ทุกหนทุกแห่ง เพียงแต่เราไม่คุ้นเคยที่จะใช้ประโยชน์จากมัน ความนิยมใน Big Data เพิ่งจะเริ่มขึ้นเร็วๆนี้ และกำลังขยายตัวอย่างรวดเร็ว ปัญหาที่ตามมาคือ ขาดแคลนผู้เชี่ยวชาญที่จะสร้างโปรแกรมใช้งาน จะใช้ Big Data โดยไม่ต้องลงทุนมากได้หรือไม่ ? คำตอบคือ ได้ ปัจจุบันมีเครื่องมือช่วยเก็บ รวมทั้งมีโปรแกรมช่วยสร้างและใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ (Cloud Computing) สำหรับให้เช่าหรือซื้อหาในราคาไม่แพงหลายตัว ปัญหาอยู่ที่ความรอบรู้ในการใช้ประโยชน์จาก Big Data
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence - AI) (3) ระบบ AI ที่คิดอย่างมีเหตุผล โดยใช้ข้อมูลและรูปแบบการคำนวณ (Algorithm) (4) ระบบ AI ที่กระทำอย่างมีเหตุผล เช่นระบบขับรถอัตโนมัติ ปัจจุบัน เราใช้ในรูปที่คิดอย่างมีเหตุผลเป็นหลัก โดยการนำปัญญาประดิษฐ์ไปใช้แก้ปัญหา โดยไม่ให้มี อารมณ์หรือความรู้สึกของมนุษย์มาเกี่ยวข้อง
โอกาสในการใช้ปัญญาประดิษฐ์ด้านสุขภาพ แม้ว่าระบบ AI จะไม่สามารถเข้ามาแทนที่ บุคลากรการแพทย์และสาธารณสุขได้อย่างเต็มรูป แบบ แต่เชื่อว่าจะกลายเป็นผู้ช่วยที่สำคัญ เช่น เป็นโปรแกรมบริหารจัดการข้อมูลของกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งช่วยในการตัดสินใจของกลุ่มเป้าหมายและผู้ที่เกี่ยวข้อง ทำนายความเสี่ยงด้านสุขภาพของกลุ่มเป้าหมายโดยการใช้เทคโนโลยี AI แล้วให้ความรู้และแนวทาง การจัดการและปฏิบัติตนเพื่อรักษาสุขภาพ ช่วยวางระบบติดตามและประเมินผล รวมทั้งการใช้ตัวชี้วัด เป็นห้องสมุดดิจิตอลที่รวบรวมเรื่องราวเกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ วิธีป้องกัน รักษา และฟื้นฟูสภาพ (เช่นการใช้ Search engine ของ Google, Wikipedia) สร้างโปรแกรมซอฟท์แวร์ (App.) ต่าง ๆสำหรับโทรศัพท์มือถือ ใช้เทคนิคแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ในการวางแผนใช้ประโยชน์จากปัญญาประดิษฐ์ (AI) ในระบบ สาธารณสุข
การประยุกต์เทคโนโลยีสื่อสารดิจิตัล ภายใต้โครงสร้างของ SLM ประชาชน ใช้เครือข่าย / สื่อ สังคม / App.. ภาคี ปรับระบบสื่อสาร ใช้ AI ใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สร้างนวัตกรรม กระบวนการสื่อสาร กระบวนการ นโยบายและการ สนับสนุนจากรัฐ ฝึกหัด / อบรม / ใช้ On-line survey, Cloud Computing ออกแบบ / สำรวจ / วิเคราะห์ / สร้างฐานข้อมูล Big Data พื้นฐาน 15
5. ทัศนะ/พฤติกรรมเปลี่ยน การสร้างระบบสื่อสารด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2. ประชารัฐจัด ระเบียบโครงการ 3. ปฎิรูป 1.ประชารัฐกำหนด ระบบสื่อสาร 6. มอบอำนาจ/ ขยายเครือข่าย ประชารัฐ 4. สร้างนวัตกรรม กระบวนการ 5. ทัศนะ/พฤติกรรมเปลี่ยน
สรุป การปรับระบบสื่อสารสู่ดิจิตัลเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Big Data AI Apps,
ตัวอย่าง apps. เพื่อสุขภาพ Lifestyle Health and Fitness apps. Diabetes apps. Gout apps. Eating and Drinking Mental Health Looking after Yourself (Senior Health) Self -management (Teens and young adults) Services & Support Screening and Surveillance Social Networking and Support Health Library Volunteerism Planning for Change District Health Board Health Service Innovations
ค้นหารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ขอขอบคุณ ค้นหารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://www.amornsrm.net