งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แอปพลิเคชันขององค์กรในยุคอินเทอร์เน็ต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แอปพลิเคชันขององค์กรในยุคอินเทอร์เน็ต"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แอปพลิเคชันขององค์กรในยุคอินเทอร์เน็ต
อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

2 องค์กรขนาดใหญ่ในยุคอินเทอร์เน็ต
ซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ในองค์กร อินเทอร์เน็ตช่วยในการส่งมอบโซลูชัน เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ ลดค่าใช้จ่ายในการจัดการอย่างมีประสิทธิผล ลดเวลาในการทำตลาด ช่วยให้สามารถดูแลรักษาและพัฒนาได้ง่าย

3 การใช้ชีวิตที่เปลี่ยนแปลงในยุคอินเทอร์เน็ต
1. Modes of Communication 2. Online Banking 3. Online Degrees 4. Online Training and Seminars 5. Searching 6. Researching 7. Buying Online 8. Telecommuting 9. Freelance Writing 10. Worldwide media accessibility

4 คอมพิวเตอร์ที่เข้ามาช่วยวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (CASE)
เครื่องมือที่นำใช้ในการออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์ ความคล้ายคลึงกับขั้นตอนการออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์ ช่วยในการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพ วิธีการพัฒนาระบบสารสนเทศร่วมกับการใช้เครื่องมือ

5 CASE Tool เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาซอฟต์แวร์แบ่งเป็น 3 กลุ่ม
โต๊ะทำงาน (Workbenches) ที่รวมเครื่องมือสองอย่างขึ้นไป ที่มุ่งเน้นการทำงานเฉพาะหรือส่วนของวงจรชีวิตของซอฟต์แวร์ สภาพแวดล้อม (Environments) ที่รวมสองอย่างหรือมากกว่าเครื่องมือหรือ workbenches เพื่อช่วยสนับสนุนวงจรชีวิตซอฟต์แวร์ที่สมบูรณ์แบบ

6 หัวข้อที่สนใจ บทนำ สรุปท้ายบท ความสำคัญในการทำงานของระดับกลาง
เครื่องแม่ข่ายแอปพลิเคชัน การรวมกันของแอปพลิเคชันในองค์กร คอมโพเนนต์และชิ้นส่วนคอมโพเนนต์ สรุปท้ายบท

7 สถาปัตยกรรมแบบหลายระดับชั้น

8 ตัวควบคุมส่วนประกอบ  ตัวควบคุมส่วนประกอบ หรือ Component Object Model (COM)

9 ตัวควบคุมส่วนประกอบแบบกระจาย
Distributed Component Object Model (DCOM)

10 การปรับเปลี่ยนธุรกิจแบบ e-Business

11 ปัญหาที่สำคัญด้านไอที
การปรับปรุงและแก้ไขระบบเดิม การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรที่มีอยู่ เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพงาน ช่วยสนับสนุนโอกาสทางธุรกิจใหม่ ๆ

12 ตัวอย่างระบบอีคอมเมิร์ซ
Brown, A. W. (2000). Component-Based Development.

13 องค์กรที่มีส่วนการทำงานร่วมกัน
ประเด็นที่ 1 การรวมหลาย ๆ บริการที่แตกต่างไว้ด้วยกัน ประเด็นที่ 2 การสร้างส่วนแสดงภาพและประยุกต์ใช้งาน ประเด็นที่ 3 การจัดการโครงสร้างพื้นฐานเพื่ออนาคต 2-2-laksna-sakhay-khxng-kar-cad-xngkhkr-thurkic

14 ประเด็นที่1- การรวมหลาย ๆ บริการที่แตกต่างกัน
สามารถผสานเข้ากับระบบเดิมได้อย่างไร จัดการและพัฒนาได้อย่างไร องค์กรต้องเผชิญกับสภาพแวดล้อมซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ที่พัฒนาขึ้น เพื่อตอบสนองความต้องการทางธุรกิจใหม่ ๆ การรวมระบบที่มีอยู่กับรูปแบบใหม่ มีความเป็นไปได้หลายวิธีเช่น การใช้คลังข้อมูล เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจากแอปพลิเคชันอื่น ๆ เพื่อให้นำข้อมูลจำนวนมากไปแสดงผลในรูปแบบที่ต้องการ

15 ประเด็นที่ 2 การสร้างส่วนแสดงภาพและประยุกต์ใช้งาน
การผสานรวมแอปพลิเคชันที่สร้างขึ้นได้อย่างไร การวางแผนทรัพยากรองค์กร (ERP) แพ็กเกจที่มีฟังก์ชันสนับสนุนการวางแผนการติดตามและการจัดการทางการเงินสำหรับบริษัทขนาดใหญ่ การตอบสนองเพียงบางส่วนเท่านั้น แพ็กเกจแอปพลิเคชันมีจำนวนมากเกินไป ยากต่อการติดตั้ง ยากต่อการกำหนดค่าเริ่มต้นและการรวมกันของฟังก์ชันการทำงาน

16 ประเด็นที่ 3 การจัดการโครงสร้างพื้นฐานเพื่ออนาคต
สร้างสถาปัตยกรรมที่ให้บริการแอปพลิเคชันที่ปรับปรุงได้อย่างรวดเร็ว การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีที่รวดเร็ว และปัญหาการยอมรับ การสูญเสียลูกค้าและส่วนแบ่งการตลาดให้คู่แข่ง หากเกิดความล่าช้า การเปลี่ยนแปลงต้องใช้ค่าใช้จ่ายสูง องค์กรส่วนใหญ่ พยายามกำหนดกลยุทธ์ระยะยาว เช่น การตัดสินใจในการซื้อและการสรรหาบุคลากรในอนาคต หัวใจสำคัญในการใช้ระบบกระจายตามขอบเขตที่กำหนด การตัดสินใจใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ตามกลยุทธ์ ความสำเร็จของเทคนิคที่นำมาใช้งาน

17 แอปพลิเคชันขององค์กรที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การใช้ภาพแสดงข้อมูล (Visualization) การใช้ส่วนประกอบ (Componentization) การนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ (Utilization)

18 ความสำคัญในการทำงานของระดับกลาง
ส่วนการทำงานระดับกลาง ทำหน้าที่รับ-ส่งข้อมูลในชั้นต่างๆ โซลูชันขององค์กรขนาดใหญ่ที่มีความซับซ้อน สถาปัตยกรรมที่ช่วยสนับสนุนความต้องการ ต้องออกแบบสถาปัตยกรรมแบบกระจาย  

19 จาก Client-Server ไปเป็น N-Tier
N Tier 

20 สถาปัตยกรรม 3 ระดับชั้นของเว็บแอปพลิเคชัน (Web-Based)

21 เว็บแอปพลิเคชันเซิร์ฟเวอร์
Brown, A. W. (2000). Component-Based Development.

22 การรวมแอปพลิเคชันขององค์กร (EAI)

23 แม่ข่ายที่ให้บริการเว็บแอปพลิเคชัน

24 เว็บเซิร์ฟเวอร์และแอปพลิเคชันเซิร์ฟเวอร์
Brown, A. W. (2000). Component-Based Development.

25 แนวคิดของแอปพลิเคชันเซิร์ฟเวอร์
Brown, A. W. (2000). Component-Based Development.

26 การรวมแอปพลิเคชันขององค์กร

27 ตัวเชื่อมต่อแอปพลิเคชันในองค์กร

28 มุมมองของการรวมแอปพลิเคชันในองค์กร (EAI)
ไม่ได้รวบรวมมาจากโซลูชัน “ที่ดีที่สุด" EAI เป็นมากกว่าเพียงแค่การเชื่อมโยงข้อมูล โซลูชัน EAI ไม่ใช่ปลั๊กอินที่ให้ผสานรวม "plug-and-play" EAI เป็นโซลูชันแบบ architulated ไม่ใช่ Band-Aid ™แบบยุทธวิธี

29 หลักการรวมแอปพลิเคชัน
Brown, A. W. (2000). Component-Based Development.

30 คอมโพเนนต์และชิ้นส่วนคอมโพเนนต์
ชิ้นส่วนของซอฟต์แวร์ ถือเป็นหน่วยหนึ่งหรือส่วนหนึ่งของแบบจำลอง ชุดคำสั่ง (code) ฟังก์ชัน (function) คลาสและออบเจ็กต์ (class & object) โมดูล (module) แพ็กเกจ (package) เฟรมเวิรค (framework) แพลตฟอร์ม (platform)

31 การพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยคอมโพเนนต์
การนำคอมโพเนนต์ต่าง ๆ มาประกอบเป็นแอปพลิเคชัน

32 ตัวอย่างแผนภาพคอมโพเนนต์ (component diagrams)

33 การใช้คอมโพเนนต์ การใช้งานคอมโพเนนต์ไฟล์ที่นำมาพัฒนาแอปพลิเคชัน
การเชื่อมโยงผ่านตัวแปร ฟังก์ชัน ออบเจ็กต์ที่ใช้เป็นส่วนประกอบของแอปพลิเคชัน โปรเจ็กต์และโฟลเดอร์ต่าง ๆ ที่นำมาประกอบเข้ากัน

34 ตารางเปรียบเทียบเทคโนโลยีในการรวมแอปพลิเคชันขององค์กร

35 Object Management Group (OMG)
สถาปัตยกรรมการจัดการวัตถุ (Object Management Architecture) ออบเจ็กต์ที่เป็นตัวแทนในการร้องขอ (Object Request Broker) Basic Object Services Common Facilities Domain Interfaces Application Objects

36 Common Object Request Broker Architecture (CORBA)
มาตรฐานที่พัฒนาขึ้นโดย OMG เพื่อช่วยในการเขียนโปรแกรมแบบกระจาย ข้อกำหนดสำหรับการสร้างและใช้ออบเจ็กต์แบบกระจาย เครื่องมือสำหรับสื่อสารได้หลายภาษา CORBA ใช้ชุดออบเจ็กต์ที่แยกผู้ร้องขอ (client) กับผู้ให้บริการ (server) โดยใช้อินเทอร์เฟซจากภายนอกแบบ encapsulating ประโยชน์ในการทำตามข้อกำหนด ทำให้พัฒนาแอปพลิเคชันที่ทำงานร่วมกัน ความแตกต่างกัน แนวคิดเชิงวัตถุ การอ้างอิงไปยังออบเจ็กต์ขณะทำงาน

37 Enterprise Java Beans (EJB)
EJB ก็คือ Component Architecture หรือข้อตกลง (Agreements) การทำงานของร่วมกันระหว่าง Software Component กับ Application Server Software Component ที่ Run ในฝั่งของ Server (EJB) .NET Managed Component ซึ่งจะ Run บน Application Server (MTS/COM+) ของ Microsoft  ปัจจุบัน นิยมจัดทำในรูปแบบ “Web Services”

38 Web Services Web Services ขึ้นมา เพื่อให้สามารถเรียกใช้งาน Software Component ได้โดยไม่ขึ้นกับ Platform

39 Cloud Services Cloud services แบ่งออกเป็น 3 แบบ
IaaS (Infrastructure-as-a-service) PaaS (Platform-as-a-service) SaaS (Software-as-a-service)

40 สรุปท้ายบท การใช้ตัวกลางเชื่อมต่อเครื่องแม่ข่ายระหว่างแอปพลิเคชันทำให้สามารถรวมแอปพลิเคชันในองค์กรให้ใช้งานร่วมกันได้ รวมถึงแยกการทำงานออกเป็นส่วน ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การใช้คอมโพเนนต์และชิ้นส่วนคอมโพเนนต์ ซึ่งประกอบด้วยบริการต่าง ๆ ที่ทำให้ซอฟต์แวร์ทำงานร่วมกันได้ผ่านไฟล์ที่นำมาพัฒนาแอปพลิเคชันได้ เทคโนโลยีที่เป็นมาตรฐาน เช่น COM, CORBA, EJB, .NET, Web Services, Cloud Services เป็นต้น


ดาวน์โหลด ppt แอปพลิเคชันขององค์กรในยุคอินเทอร์เน็ต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google