การขนส่งสารเคมี และ อุบัติเหตุจากการขนส่ง การขนส่งสารเคมี และ อุบัติเหตุจากการขนส่ง
ชนิดของบรรจุภัณฑ์ ภาชนะความดันสำหรับบรรจุก๊าซ (Receptacle) บรรจุภัณฑ์ ประเภทหีบห่อ (Packaging) บรรจุภัณฑ์ IBCs (Intermediate Bulk Containers) แท็งก์ (Tank)
อุบัติภัยจากสารเคมี การหกรั่วไหล การเกิดเพลิงไหม้ การระเบิด
วงจรการจัดการอุบัติภัย เกิดเหตุ ช่วงเกิดเหตุ หลังเกิดเหตุ ก่อนเกิดเหตุ การตอบโต้ ภาวะฉุกเฉิน การเตรียม พร้อม การป้องกันและลดผลกระทบ การฟื้นฟู บูรณะ
การเตรียมความพร้อม ประเมินพื้นที่เสี่ยงภัย บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนฉุกเฉิน ฐานข้อมูล อุปกรณ์ป้องกันและระงับเหตุ
การดำเนินการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน บ่งชี้สารเคมี จำกัดเขต จัดการด้วยวิธีที่เหมาะสม การอพยพ และปฐมพยาบาล
กฎหมาย และ การบริหารจัดการสารเคมี
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสารเคมี กฎหมายวัตถุอันตราย กฎหมายโรงงาน กฎหมายสิ่งแวดล้อม กฎหมายความปลอดภัยและอาชีวอนามัย กฎหมายควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง กฎหมายขนส่งทางบก
กฎหมายวัตถุอันตราย ครอบคลุมการนำเข้า ผลิต ครอบครอง ส่งออก ครอบคลุมการนำเข้า ผลิต ครอบครอง ส่งออก มีหลายหน่วยงานรับผิดชอบ หลักเกณฑ์เกี่ยวกับฉลาก, เอกสารความปลอดภัย การจัดเก็บ, การขนส่ง
กฎหมายโรงงาน การประเมินความเสี่ยง การจัดการกากของเสียอันตราย
กฎหมายสิ่งแวดล้อม การรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน หรือค่าเสียหาย จากการรั่วไหลแพร่กระจายมลพิษอันเป็นเหตุให้ผู้อื่น ได้รับอันตราย หรือทรัพย์สินเสียหาย
กฎหมายความปลอดภัยและอาชีวอนามัย กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย พ.ศ. 2556 จัดทำข้อมูลสารเคมี ข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี ฉลาก มาตรการคุ้มครองความปลอดภัย มาตรการเกี่ยวกับการขนส่ง การควบคุมระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตราย ประเมินความเสี่ยง / แผนฉุกเฉิน
กฎหมายควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง กำหนดมาตรการเกี่ยวกับการเก็บรักษา การขนส่ง ฯลฯ กำหนดลักษณะของถัง หรือภาชนะที่ใช้ในการบรรจุ หรือขนส่ง และการบำรุงรักษา กำหนดคุณสมบัติ และการฝึกอบรมผู้ปฏิบัติงาน
กฎหมายการขนส่งทางบก การอนุญาตประกอบการขนส่ง การชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดจากการขนส่ง รถและผู้ประจำรถ
บทบาทกระทรวงอุตสาหกรรมเกี่ยวกับสารเคมี การกำกับดูแล : การอนุญาต, การกำกับดูแล การส่งเสริม : CT, อุตสาหกรรมสีเขียว, CSR ฐานข้อมูล : อุบัติเหตุ / สารเคมี