วัณโรค Small success 3 เดือน PA กสธ./เขต/จังหวัด 30 มิถุนายน 2560
(PERT) การควบคุมและป้องกันวัณโรค ปี 60 จังหวัดพะเยา 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน Question นิเทศติดตามฯ ประชุมชี้แจงการดำเนินงานวัณโรค กลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองวัณโรคตามเกณฑ์ จนท.มีความเข้าใจ/ทักษะในการคัดกรองวัณโรค ประชุมติดตามความก้าวหน้า สรุปถอดบทเรียนเป้าหมายอัตราความสำเร็จ ร้อยละ 85 ความสำเร็จของการดำเนินงาน พื้นที่ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน นิเทศฯ นิเทศ ติดตามฯ นิเทศติดตามฯ นิเทศติดตามฯ จนท.บันทึกข้อมูลลงโปรแกรมได้ ได้รับข้อมูลครบถ้วน ถูกต้อง อบรมการใช้โปรแกรม นิเทศติดตามฯ ทราบความก้าวหน้า/ปัญหา นิเทศติดตามฯ ประชุมติดตามการดำเนินงาน
ข้อตกลงร่วมกันในการพัฒนางาน จากการประชุม TB สัญจร : กุมภาพันธ์ 2560 กลุ่มเสี่ยง ข้อตกลงร่วมจากการประชุมสัญจรรายอำเภอ (กพ. 60) การปฏิบัติจริง กลุ่มผู้สัมผัสร่วมบ้าน 1.รพ. ส่งรายชื่อผู้ป่วยขึ้นทะเบียนให้ สสอ. 2.สสอ. ประสานและกำกับให้ รพ.สต. ทำทะเบียน พร้อมรายชื่อ เพื่อติดตาม กำกับ คัดกรอง และติดตาม ต่อเนื่อง 5 ปี 3.คัดกรอง โดยทีมเยี่ยมบ้าน ผู้ป่วยเรื้อรัง คัดกรองที่จุดบริการหน้างาน ทุกครั้งที่มา visit ทุกหน่วยบริการ ทั้ง รพ.และ รพ.สต. ผู้สูงอายุเยี่ยมบ้าน ผู้สูงอายุ ติดบ้าน ติดเตียง ทุกราย โดยทีมเยี่ยมบ้าน
Q1 :กลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองวัณโรคตามเกณฑ์ ????? ตามรอยการคัดกรองในแต่ละกลุ่มเสี่ยง , Core team
Q2 : ข้อมูลคัดกรองวัณโรค ถูกต้อง ครบถ้วน หรือไม่ Tbcm ฐานข้อมูลผู้สูงอายุ ฐานข้อมูลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
Checked UP ระบบคัดกรอง ส่งต่อวินิจฉัย ขึ้นทะเบียนรักษา วัณโรค จังหวัดพะเยา ปี 2560 4.75% 0.82% 15.21% 90.48% 52.92% 0.49% 83.35% 8.08% 166,825 88217 v+430 AFB 359 M+17 M-10 FP2 353,178 16,786 v+137 AFB 21 M+ 2 M-15 EP 2 Manual report TB online
ความครอบคลุมกลุ่มเสี่ยงที่คัดกรอง คุณภาพการคัดกรอง sensitivity แต่ละกลุ่ม
อำเภอ มี Mr QTB ระดับอำเภอ มีคำสั่งคณะกรรมการระดับอำเภอ ผ่านการประเมินรับรอง QTB ทุกแห่ง กันยายน 2560 สรุปถอดบทเรียนเป้าหมายอัตราความสำเร็จ ร้อยละ 85 30 มิถุนายน 2560
ผลสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ ขึ้นทะเบียนระหว่าง 1 ต.ค. 58 – 31 มี.ค. 59
Yes or No : หากการตายระหว่างรักษาน้อยลง ความสำเร็จในการรักษาจะสูงขึ้น
จน.ผู้ป่วยใหม่/กลับเป็นซ้ำ จำนวนผู้ป่วยวัณโรคสูงอายุ จำนวนผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ และผู้ป่วยผู้สูงอายุที่รับไว้นอนโรงพยาบาล ที่ขึ้นทะเบียนระหว่าง 1 ต.ค. 59 – 31 มี.ค. 60 สถานบริการ จน.ผู้ป่วยใหม่/กลับเป็นซ้ำ รับไว้นอนโรงพยาบาล ร้อยละ จำนวนผู้ป่วยวัณโรคสูงอายุ ร.พ.พะเยา 86 48 55.8 25 16 64 ร.พ.เชียงคำ 67 30 44.7 20 80 ร.พ.จุน 27 17 62.9 10 6 60 ร.พ.ดอกคำใต้ 51 58.8 28 60.7 ร.พ.ปง 9 45 7 4 57.1 ร.พ.แม่ใจ 15 13 86.6 100 77.7 2 50 รวม 275 154 56 101 68 67.3
ข้อแนะนำ CIPO เขต การกำกับ กำชับ ติดตาม
CIPO TB เขต 2. การดูแลรักษา 2.1 ให้ Admit ผู้ป่วยใหม่ ๒ อาทิตย์แรก ทุกราย 2.2 ให้กำกับการกินยาผู้ป่วยวัณโรค (DOT) โดย FCT หรือหมออนามัยครอบครัว และให้ลงชื่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุข คู่กับผู้ป่วยแบ่งตามพื้นที่รับผิดชอบ 2.3 ให้มีการปรับใช้ CPG ในการดูแลรักษาวัณโรค เพื่อลดอัตราการตายในการใช้ยา
แนวปฏิบัติจังหวัด : วัณโรค แนวปฏิบัติจังหวัด : วัณโรค 1.ให้เร่งรัดการคัดกรองในกลุ่มเสี่ยงวัณโรคให้ตรวจพบโดยเร็ว โดยวิธี CXR และ AFB และ X-pert MTB/RIF ดังนี้ 1.1 กลุ่มผู้สัมผัสร่วมบ้าน ให้คัดกรองผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยวัณโรค ย้อนหลัง ๕ ปี หากเป็นกลุ่มเสี่ยง คัดกรองทุก ๖ เดือน 1.2 กลุ่มผู้ต้องขังในเรือนจำ ให้ทำ CXR ทุกราย 1.3 กลุ่ม HIV/AIDS คัดกรองทุกราย 1.4 กลุ่มผู้ป่วยโรค COPD/DM/HT คัดกรองโดยการสัมภาษณ์ทุกรายทุก VISIT และเน้นกลุ่มที่ควบคุมน้ำตาลไม่ได้
แนวปฏิบัติจังหวัด : วัณโรค แนวปฏิบัติจังหวัด : วัณโรค 1.5 กลุ่มผู้สูงอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป - กลุ่มติดสังคม - กลุ่มติดบ้าน - กลุ่มติดเตียง 1.6 กลุ่มต่างด้าว แรงงานข้ามชาติที่มารับบริการ 1.7 เจ้าหน้าที่สาธารณสุข - จัดทำโปรแกรมการคัดกรองแบบออนไลน์ให้ทุกสถานบริการ
แนวปฏิบัติจังหวัด : วัณโรค แนวปฏิบัติจังหวัด : วัณโรค 3. การบริหารจัดการ 3.1 ให้คณะกรรมการป้องกันควบคุมวัณโรคจังหวัดประชุมจัดประชุมเพื่อติดตามผลการดำเนินงานทุก 3 เดือน 3.2 ให้ติดตามผลการดำเนินงานคณะทำงานป้องกันควบคุมวัณโรคระดับอำเภอ ในที่ประชุม กวป.ทุกเดือน 3.3 สรุปผลการดำเนินงานส่งคณะทำงานวางแผนพัฒนาการดำเนินงานป้องกันควบคุมวัณโรคเขตบริการสุขภาพที่ 1 (chief integrated program officer : CIPO) ทุก 3 เดือน
ข้อเสนอและข้อคิดเห็นจากที่ประชุม ให้คำนวณอัตราความชุกในแต่ละพื้นที่ มาประกอบการพิจาณา เพื่อดูว่า การคัดกรองดีแล้วยัง เครื่องมือที่ใช้ อยากให้มีการประเมินว่า การใช้งาน ยุ่งยาก เป็นภาระ หรือไม่ และ sensitivity และ specificity เป็นยังงัย อยากให้ประเมิน (ที่เชียงคำ ใช้คำถามเดียว เคย มีอาการไอ นาน ตั้งแต่ 2 Wks เพียงคำถามเดียว) การ recruit กลุ่มผู้สัมผัสร่วม ต้องให้ความสำคัญ ลำดับแรกๆ
ข้อเสนอและข้อคิดเห็นจากที่ประชุม(2) 4. คุณภาพการคัดกรอง ใช้เครื่องมือเดียวกัน แต่ Sensitivityต่างกัน และต่างกันในแต่ละพื้นที่ ต้องการข้อมูลบริบทการทำงานจริงในพื้นที่ ขอให้คณะทำงาน QTB ระดับอำเภอ คุยกันให้เร็ว เพื่อทบทวนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และส่งสรุปกระบวนการที่พื้นที่ทั้งหมด รวมทั้งข้อมูลที่ตรวจสอบและรับรองร่วมกัน มาที่ สสจ. และทีม สสจ.จะคุยกัน เพื่อทบทวนและปรับกระบวนงานในวันที่ 6 กรกฎาคม 2560
ข้อเสนอและข้อคิดเห็นจากที่ประชุม(3) 5. ในการตรวจราชการ ทีมตรวจราชการ ให้ข้อมูลว่า ค่าเฉลี่ยอายุผู้ป่วยตายระหว่างรักษา 70 ปี และตายเมื่อเข้ารับการรักษาในระยะเข้มข้น(เฉลี่ย 42 วัน) ให้ช่วยดูด้วยว่า new case การกระจายตามกลุ่มอายุ รายพื้นที่เป็นอย่างไร สอดคล้องกันมั้ย หากดูเรื่อง การคัดกรองที่เราเสนอผู้ตรวจราชการ ในกลุ่มผู้สูงอายุติดเตียง เราคัดกรองแค่ 60% และ sensitivity สูงถึง 12% สูงกว่ากลุ่มเสี่ยงอื่นๆ
ข้อสั่งการจากประธานที่ประชุม ทุกอำเภอ ทบทวน และส่งข้อมูลผลการคัดกรอง ตามแบบสรุป รายหน่วยบริการ มาที่ สสจ.พะเยา ภายในวันที่ 5 กรกฏาคม 2560 เชิญ สสอ. และทีม จาก อ.เมืองพะเยา อ. ดอกคำใต้ และ core team จาก รพท.เข้า ร่วมประชุม กับทีม สสจ.วันที่ 6 กรกฏาคม 2560 เวลา 10.00 น. ณ ห้องประชุม 4 สสจ. พะเยา