THH3404 คติชนวิทยา Folklore NOTE: To change the image on this slide, select the picture and delete it. Then click the Pictures icon in the placeholder to insert your own image. อ.กฤติกา ผลเกิด
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคติชนวิทยา ความเป็นมาของคติชนวิทยา ความหมายของคติชนวิทยา ประเภทของคติชนวิทยา
ความเป็นมาของคติชนวิทยา ริชาร์ด เอ็ม. ดอร์สัน (Richard M. Dorson) กล่าวว่า คติชน วิทยาปรากฏขึ้นใน คริสต์ศตวรรษที่ 19 และให้ คำอธิบายว่า คติชนวิทยาเป็น สาขาวิชาที่เป็นอิสระและมี ความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ สาขาวิชาด้านมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์
ความเป็นมาของคติชนวิทยา (ต่อ) ค.ศ. 1812 จาคอบ กริมม์ (Jacob Grimm) กับวิลเฮล์ม กริมม์ (Wilhelm Grimm) สองพี่น้องชาวเยอรมัน เริ่ม ตีพิมพ์เรื่องเล่าพื้นบ้านมุข ปาฐะ และการตีความ นิทานปรัมปราของเยอรมัน (myth)
ความเป็นมาของคติชนวิทยา (ต่อ) ค.ศ. 1846 วิลเลียม จอห์น ธอมส์ (William John Thoms) แนะให้รู้จักคำว่า Folklore
ความเป็นมาของคติชนวิทยา (ต่อ) บาร์รี โทลเคน (Barre Toelken) ยกตัวอย่างเรื่อง ตา บอดคลำช้าง มาเปรียบเทียบกับ คติชนวิทยาไว้ดังนี้ นักประวัติศาสตร์ – จะมองเห็น ลำดับเหตุการณ์สำคัญๆ และเป็น เหตุการณ์ที่ผู้คนได้รับรู้ร่วมกัน นักมานุษยวิทยา – จะเห็นการ แสดงออก แบบมุขปาฐะใน เรื่องของระบบสังคม ความหมาย ของวัฒนธรรม
ความเป็นมาของคติชนวิทยา (ต่อ) นักวิชาการด้านวรรณกรรม – จะสนใจประเภทวรรณกรรมมุข ปาฐะ นักจิตวิทยา – แสวงหาเรื่องราว ที่เป็นสากล นักประวัติศาสตร์ศิลป์ – ค้นหา ศิลปะเก่าแก่ดั้งเดิม นักภาษาศาสตร์ - จะสนใจ ถ้อยคำพื้นบ้านและโลกทัศน์
ความสนใจด้านวิชาการในสมัยแรกๆ สรุปข้อมูลคติชน ดังนี้ ความสนใจด้านวิชาการในสมัยแรกๆ สรุปข้อมูลคติชน ดังนี้ ชาวชนบท – ไม่มีอารย ธรรม เป็นผู้ที่หลงเหลือใน ท้องถิ่น และสืบทอด จิตวิญญาณของชนชาติ
ความสนใจด้านวิชาการในสมัยแรกๆ สรุปข้อมูลคติชน ดังนี้ ความสนใจด้านวิชาการในสมัยแรกๆ สรุปข้อมูลคติชน ดังนี้ ข้อมูลต่างๆ ของผู้คนเหล่านี้ คือ นิทาน เพลง คำพูด ขนบธรรมเนียมประเพณีเป็นสิ่ง สะท้อน ให้เห็นอดีต ข้อมูล เหล่านี้คือ ปรัชญาและ วิถีการดำเนินชีวิตของคนใน สมัยโบราณ ข้อมูลและการใช้ชีวิตของคนใน สมัยโบราณนี้สามารถนำมาสร้าง ขึ้นใหม่ โดยเปรียบเทียบกับปัจจุบัน
การศึกษาคติชนวิทยาในประเทศไทย Folklore คติชาวบ้าน คติชนวิทยา
ความเป็นมาของคติชนวิทยา พระยาอนุมานราชธนและ ราชบัณฑิตยสถาน บัญญัติคำ ว่า คติชาวบ้าน แทนคำว่า folklore ศ. (พิเศษ) ดร.กิ่งแก้ว อัต ถากร เสนอว่า ควรใช้ชื่อ ว่า คติชนวิทยา
ความหมายของคติชนวิทยา พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบับ พ.ศ.2554 : คติชาวบ้าน หมายถึง น. เรื่องราวของชาวบ้าน ที่เป็นของเก่าเล่าต่อปากและ ประพฤติสืบ ๆ กันมาหลายชั่ว อายุคนในรูปคติความเชื่อ ประเพณี นิทาน เพลง ภาษิต ปริศนาคำทาย ศิลปะ สถาปัตยกรรม การละเล่นของเด็ก เป็นต้น, วิชาที่ว่าด้วยเรื่องเหล่านั้น.
ความหมายของคติชนวิทยา (ต่อ) วิลเลียม ธอมส์ อธิบาย ว่า folklore หมายถึง คติของประชาชน และกล่าว ว่าวิชานี้ศึกษาเกี่ยวกับวิถีชีวิต ประเพณี สิ่งที่ถือปฏิบัติ โชคลาง บทเพลง สุภาษิต ฯลฯ
ความหมายของคติชนวิทยา (ต่อ) อาเชอร์ เทเลอร์ อธิบาย ความหมายของ คติชนวิทยา หรือ คติ ชาวบ้าน ว่า ได้แก่ สิ่งที่มีการถ่ายทอดทาง ประเพณี อาจโดยคำพูด หรือขนบธรรมเนียมประเพณี และปฏิบัติสืบทอดมาอย่างใด อย่างหนึ่ง เช่น เพลง ชาวบ้าน นิทานชาวบ้าน ปริศนาคำทาย สุภาษิต ฯลฯ
สรุปลักษณะของคติชนวิทยา เป็นเรื่องที่เล่าสืบต่อกันมาโดย วิธีมุขปาฐะ เป็นเรื่องเกี่ยวกับ ขนบธรรมเนียมประเพณี เป็นเรื่องเล่าหรือปฏิบัติกันหลาย อย่าง เป็นเรื่องที่มักจะไม่ทราบผู้ที่เป็น ต้นกำเนิด เป็นเรื่องที่เป็นแบบฉบับให้คน รุ่นหลัง ปฏิบัติหรือเชื่อถือตามๆ กันมา
สรุปความหมายของคติชนวิทยาในยุคแรก คติชน หมายถึง มรดกทางวัฒนธรรมที่รับช่วง กันต่อๆ มา มีวิธีถ่ายทอด จากคน รุ่นหนึ่ง ไปยังคนอีกรุ่นหนึ่ง โดยวิธี บอกเล่าเป็นข้อมูลมุขปาฐะ ปฏิบัติและจดจำกันต่อๆ มา อาจมีการบันทึกเป็นลายลักษณ์ หรือไม่ ก็ได้ และมีลักษณะสำคัญคือไม่ ทราบที่มา แน่ชัด
ความหมายในยุคปัจจุบัน การศึกษาคติชนวิทยาส่วน ใหญ่จะเน้นการเก็บข้อมูล ภาคสนาม พ.ศ.2510-2520 - มุ่งเก็บข้อมูล มุขปาฐะ (verbal folklore) พ.ศ.2520-2525 - เริ่มใช้ทฤษฎี ทางคติชนวิทยา พ.ศ.2525-2540 – ศึกษาภาพ สะท้อนสังคมจากข้อมูลคติชน / ศึกษาคติชนในบริบทสังคม
การศึกษาคติชนวิทยาในประเทศไทย Fieldwork วรรณกรรมมุขปาฐะ folk narrative / folklife
ประเภทของคติชนวิทยา แจน แฮโรลด์ บรุนแวนด์ ได้จำแนกข้อมูลคติชน ออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ คติชนที่ใช้ถ้อยคำ (verbal folklore) คติชนที่ไม่ใช้ถ้อยคำ (non- verbal folklore) คติชนแบบผสม (Partly verbal folklore)
คติชนที่ใช้ถ้อยคำ (Verbal folklore) คำพูด/ภาษาถิ่น/การตั้งชื่อ (folk speech, dialect, naming) สุภาษิต (folk proverb) ปริศนาคำทาย (folk riddles) บทประพันธ์ที่มีสัมผัส (folk rhymes) เรื่องเล่า (narratives) เพลงพื้นบ้าน (folk song)
คติชนที่ไม่ใช้ถ้อยคำ (non-verbal folklore) สถาปัตยกรรมพื้นบ้าน (folk architecture) ศิลปะพื้นบ้าน (folk art) งานหัตถกรรม (folk craft) การแต่งกาย (folk costumes) อาหารพื้นบ้าน (folk food) การแสดงท่าทาง (folk gesture) ดนตรีพื้นบ้าน (folk music)
คติชนแบบผสม (Partly verbal folklore) ความเชื่อและคติในเรื่องโชค ลาง (belief and superstition) การละเล่นพื้นบ้าน (folk game) ละครพื้นบ้าน (folk drama) การร่ายรำพื้นบ้าน (folk dance) ขนบธรรมเนียมพื้นบ้าน (folk custom) งานรื่นเริงพื้นบ้าน (folk festival)
บรุนแวนด์ กล่าว่า การจำแนกประเภทข้อมูลของ เขานั้น ยึดข้อมูลของชาว อเมริกันเป็นหลัก ซึ่งบาง ประเภทอาจคาบเกี่ยวกัน แต่การแบ่งลักษณะนี้มุ่งเน้นถึง ส่วนประกอบต่าง ๆ ที่เป็นคติ ชน
การจำแนกประเภทข้อมูลคติชน ริชาร์ด เอ็ม. ดอร์สัน นักคติชน วิทยาที่สนับสนุนการศึกษาวิถีชีวิต (folklife) และได้จำแนกประเภทข้อมูล คติชนในเรื่อง The Fields of Folklore and Folklife Studies ดังนี้ วรรณกรรมมุขปาฐะ วัฒนธรรมวัตถุ ประเพณีสังคมพื้นบ้าน การแสดงศิลปะพื้นบ้าน
วรรณกรรมมุขปาฐะ (Oral literature) เรื่องเล่าพื้นบ้าน (folk narrative) เพลงพื้นบ้าน / กวีนิพนธ์ / บทประพันธ์ ที่มีสัมผัส (folk song / folk poetry / rhyme) เกร็ด (anecdote) นิยายผจญภัยหรือเรื่องจินตนาการ (romance) มหากาพย์ (epic) สุภาษิต/ปริศนา (proverb / riddle) คำกล่าว/คำพูดพื้นบ้าน (folk speech)
วัฒนธรรมวัตถุ (Material culture) วัฒนธรรมวัตถุ คือ ข้อมูลที่เกี่ยวกับลักษณะของ คติชนที่มองเห็นได้ ซึ่งคง อยู่มาก่อนสังคมอุตสาหกรรม เช่น การสร้างบ้านเรือน การเตรียมอาหาร การ ประดิษฐ์เครื่องมือและอุปกรณ์ ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
ประเพณีสังคมพื้นบ้าน (Social folk custom) ประเพณีสังคมพื้นบ้าน คือ การใช้ชีวิตตามประเพณีที่ ถ่ายทอดมา และเป็นข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับพิธีกรรม เช่น การเกิด การ แต่งงาน การตาย รวมทั้งความเชื่อและ ขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ
การแสดงศิลปะพื้นบ้าน (Performing folk arts) การร่ายรำ การละคร การแสดงพื้นบ้านต่างๆ นักคติชนวิทยา ถือว่า การ เล่านิทานและการขับเพลง พื้นบ้านจัดอยู่ในประเภทนี้ ด้วย
การจำแนกประเภทข้อมูลคติชนวิทยาของ กิ่งแก้ว อัตถากร การจำแนกประเภทข้อมูลคติชนวิทยาของ กิ่งแก้ว อัตถากร มุขปาฐะ อมุขปาฐะ ผสม บทเพลง ศิลปะ การร้องรำ นิทาน หัตถกรรม การละเล่น ปริศนา สถาปัตยกรรม ละคร ภาษิต / พังเพย พิธีกรรม ภาษาถิ่น ประเพณี ความเชื่อ
แนวคิดและวิธีการศึกษาคติชนวิทยา ความสัมพันธ์ระหว่างคติชนกับ ศาสตร์อื่น บทบาทหน้าที่ของคติชน การศึกษาวรรณกรรมมุขปาฐะ การศึกษาวัฒนธรรมวัตถุ การศึกษาประเพณีสังคมพื้นบ้าน การศึกษาศิลปะการแสดงพื้นบ้าน การศึกษาเพลงพื้นบ้าน
สวัสดีค่ะ