งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

THL3404 คติชนวิทยา Folklore

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "THL3404 คติชนวิทยา Folklore"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 THL3404 คติชนวิทยา Folklore
NOTE: To change the image on this slide, select the picture and delete it. Then click the Pictures icon in the placeholder to insert your own image. อ.กฤติกา ผลเกิด

2 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคติชนวิทยา
ความเป็นมาของคติชนวิทยา ความหมายของคติชนวิทยา

3 ความเป็นมาของ คติชนวิทยา
ริชาร์ด เอ็ม. ดอร์สัน (Richard M. Dorson) กล่าวว่า คติชนวิทยาปรากฏ ขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และให้ คำอธิบายว่า คติชนวิทยาเป็นสาขาวิชาที่เป็น อิสระและมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ สาขาวิชาด้านมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์

4 ความเป็นมาของ คติชนวิทยา (ต่อ)
ค.ศ จาคอบ กริมม์ (Jacob Grimm) กับวิลเฮล์ม กริมม์ (Wilhelm Grimm) สองพี่น้องชาวเยอรมัน เริ่มตีพิมพ์เรื่อง เล่าพื้นบ้านมุขปาฐะ และการตีความนิทานปรัมปรา ของเยอรมัน (myth)

5 ความเป็นมาของ คติชนวิทยา (ต่อ)
ค.ศ วิลเลียม จอห์น ธอมส์ (William John Thoms) แนะให้รู้จักคำว่า Folklore

6 ความเป็นมาของ คติชนวิทยา (ต่อ)
บาร์รี โทลเคน (Barre Toelken) ยกตัวอย่างเรื่อง ตา บอดคลำช้าง มาเปรียบเทียบกับคติชน วิทยาไว้ดังนี้ นักประวัติศาสตร์ – จะมองเห็นลำดับเหตุการณ์สำคัญๆ และเป็น เหตุการณ์ที่ผู้คนได้รับรู้ร่วมกัน นักมานุษยวิทยา – จะเห็นการแสดงออกแบบมุขปาฐะในเรื่องของระบบ สังคม ความหมาย ของวัฒนธรรม

7 ความเป็นมาของ คติชนวิทยา (ต่อ)
นักวิชาการด้านวรรณกรรม – จะสนใจประเภท วรรณกรรมมุขปาฐะ นักจิตวิทยา – แสวงหาเรื่องราวที่เป็นสากล นักประวัติศาสตร์ศิลป์ – ค้นหาศิลปะเก่าแก่ ดั้งเดิม นักภาษาศาสตร์ - จะสนใจถ้อยคำพื้นบ้านและ โลกทัศน์

8 ความสนใจด้านวิชาการในสมัยแรกๆ สรุปข้อมูลคติชน ดังนี้
ความสนใจด้านวิชาการในสมัยแรกๆ สรุปข้อมูลคติชน ดังนี้ ชาวชนบท – ไม่มีอารยธรรม เป็นผู้ที่หลงเหลือใน ท้องถิ่น และสืบทอดจิตวิญญาณของชนชาติ

9 ความสนใจด้านวิชาการในสมัยแรกๆ สรุปข้อมูลคติชน ดังนี้
ความสนใจด้านวิชาการในสมัยแรกๆ สรุปข้อมูลคติชน ดังนี้ ข้อมูลต่างๆ ของผู้คนเหล่านี้ คือ นิทาน เพลง คำพูด ขนบธรรมเนียมประเพณีเป็นสิ่งสะท้อน ให้เห็นอดีต ข้อมูล เหล่านี้คือ ปรัชญาและวิถีการดำเนินชีวิตของคนในสมัย โบราณ ข้อมูลและการใช้ชีวิตของคนในสมัยโบราณนี้สามารถนำมา สร้างขึ้นใหม่ โดยเปรียบเทียบกับปัจจุบัน

10 การศึกษาคติชนวิทยาในประเทศไทย
Folklore คติชาวบ้าน คติชนวิทยา

11 ความเป็นมาของคติชนวิทยา
พระยาอนุมานราชธนและ ราชบัณฑิตยสถาน บัญญัติคำว่า คติ ชาวบ้าน แทนคำว่า folklore ศ. (พิเศษ) ดร.กิ่งแก้ว อัตถากร เสนอว่า ควรใช้ชื่อว่า คติชนวิทยา

12 ความหมายของคติชนวิทยา
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบับ พ.ศ.2554 : คติชาวบ้าน หมายถึง น. เรื่องราว ของชาวบ้านที่เป็นของเก่าเล่าต่อปากและ ประพฤติสืบ ๆ กันมาหลายชั่วอายุคนในรูปคติ ความเชื่อ ประเพณี นิทาน เพลง ภาษิต ปริศนา คำทาย ศิลปะ สถาปัตยกรรม การละเล่นของ เด็ก เป็นต้น, วิชาที่ว่าด้วยเรื่องเหล่านั้น.

13 ความหมายของคติชนวิทยา (ต่อ)
วิลเลียม ธอมส์ อธิบายว่า folklore หมายถึง คติของประชาชน และกล่าวว่าวิชานี้ศึกษา เกี่ยวกับวิถีชีวิตประเพณี สิ่งที่ถือปฏิบัติ โชคลาง บทเพลง สุภาษิต ฯลฯ

14 ความหมายของคติชนวิทยา (ต่อ)
อาเชอร์ เทเลอร์ อธิบายความหมายของ คติชนวิทยา หรือ คติชาวบ้าน ว่า ได้แก่ สิ่ง ที่มีการถ่ายทอดทางประเพณี อาจโดยคำพูด หรือขนบธรรมเนียมประเพณี และปฏิบัติสืบทอด มาอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เพลงชาวบ้าน นิทานชาวบ้าน ปริศนาคำทาย สุภาษิต ฯลฯ

15 สรุปลักษณะของ คติชนวิทยา
เป็นเรื่องที่เล่าสืบต่อกันมาโดยวิธีมุขปาฐะ เป็นเรื่องเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณี เป็นเรื่องเล่าหรือปฏิบัติกันหลายอย่าง เป็นเรื่องที่มักจะไม่ทราบผู้ที่เป็นต้นกำเนิด เป็นเรื่องที่เป็นแบบฉบับให้คนรุ่นหลัง ปฏิบัติหรือเชื่อถือตามๆ กันมา

16 สรุปความหมายของ คติชนวิทยาในยุคแรก
คติชน หมายถึง มรดกทางวัฒนธรรมที่ รับช่วงกันต่อๆ มา มีวิธีถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่ง ไปยังคนอีกรุ่นหนึ่ง โดยวิธีบอกเล่าเป็นข้อมูล มุขปาฐะ ปฏิบัติและจดจำกันต่อ ๆ มา อาจบันทึกเป็นลายลักษณ์หรือไม่ก็ได้ และมีลักษณะสำคัญคือไม่ทราบที่มาแน่ชัด

17 ความหมาย ในยุคปัจจุบัน
การศึกษาคติชนวิทยาส่วนใหญ่จะเน้นการเก็บข้อมูล ภาคสนาม พ.ศ มุ่งเก็บข้อมูลมุขปาฐะ (verbal folklore) พ.ศ เริ่มใช้ทฤษฎีทางคติชนวิทยา พ.ศ – ศึกษาภาพสะท้อนสังคมจากข้อมูลคติชน / ศึกษาคติชนในบริบทสังคม

18 การศึกษาคติชนวิทยาในประเทศไทย
Fieldwork วรรณกรรมมุขปาฐะ folk narrative / folklife


ดาวน์โหลด ppt THL3404 คติชนวิทยา Folklore

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google