เอกสารการประกันภัย Insurance documents.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
Advertisements

บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558 วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ผู้รับประกัน (Insurer) ผู้เอาประกัน (Insured) ผู้รับผลประโยชน์ (Beneficiary)
แนะนำรายวิชา การประกันภัยสินค้า Free Powerpoint Templates.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ชุมชนปลอดภัย.
กระบวนการทางการบัญชี บันทึก  สมุดรายวันขั้นต้น
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
Presented by Kru Pattapong Promchai
หน่วยที่ 2 สัญญาประกันภัย
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
การตรวจสอบผลิตภัณฑ์อาหาร ณ ด่านอาหารและยา
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
การบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
กลุ่มเกษตรกร.
กองทุนเงินทดแทน ประกันสังคม.
ชั้น G ปารีส ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
ประกันภัยกับการพัฒนาเศรษฐกิจ
อรัญ ศรีว่องไทย 6 ตุลาคม 2560
พิธีการส่งของออกทางบกที่ด่านศุลกากร
“Thailand’s Sustainable Business” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท
กฎหมายเอกเทศสัญญา 1 อาจารย์ สุรศักดิ์ มีบัว สาขานิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครั้งที่ 13.
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
พัฒนาการและรูปแบบของกรมธรรม์ประกันชีวิต
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมายสำหรับการท่องเที่ยวและการโรงแรม
การบรรจุแต่งตั้งและอัตราเงินเดือน
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
ธุรกิจแฟรนไชส์. ธุรกิจแฟรนไชส์ แฟรนไซส์ แฟรนไชส์ (Franchise)  เป็นคำศัพท์ที่มีรากศัพท์มาจากภาษาฝรั่งเศส  คือ " Franchir " แปลว่า  " สิทธิพิเศษ " สิทธิพิเศษที่บริษัทแม่มอบให้กับผู้ที่เข้าร่วมกิจการโดยสิทธิพิเศษนี้จะครอบคลุมระบบเกือบทั้งหมด.
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
หุ้นส่วนและบริษัท การเป็นหุ้นส่วน คือ การทำสัญญาระหว่างบุคคลตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไปตกลงเข้ากันเพื่อทำกิจการร่วมกัน โดยประสงค์จะแบ่งปันผลกำไรที่จะพึงได้จากกิจการนั้น.
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 7 นิติบุคคล (Juristic Persons)
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เอกสารการประกันภัย Insurance documents

เปิดประเด็น หลายคนอาจจะไม่เคยเข้าใจว่าประกันภัยคืออะไร ทำหน้าคุ้มครองเราด้านไหนบ้าง เมื่อเรามีสิทธิ์ประโยชน์ การทำสัญญาประกันภัยนั้นต้องมีผู้เกี่ยวข้องได้แก่ใครบ้าง คิดว่ามีบทบาททางด้านไร ประโยชน์ของประกันภัยมีผลได้ ผลเสีย อย่างไรเมื่อเราทำประกัน ประเภทของประกันภัยมีกี่แบบ แล้วแต่ละแบบนั้นมีช่วงอายุกี่ปี่

การประกันภัย คือการบริหารความเสี่ยงภัยวิธีหนึ่ง ซึ่งจะโอนความเสี่ยงภัยของผู้เอาประกันภัยไปสู่บริษัทประกันภัย เมื่อเกิดความเสียหายขึ้น บริษัทประกันภัยจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามที่ได้รับความคุ้มครอง ในกรมธรรม์ประกันภัยให้แก่ผู้เอาประกันภัย โดยที่ผู้เอาประกันภัยจะต้องเสียเบี้ยประกันภัยให้แก่บริษัท ประกันภัยตามที่ได้ตกลงกันไว้ การประกัน (Insurance) คือการบริหารจัดการความเสี่ยงรูปแบบหนึ่ง โดยมีองค์ประกอบสามส่วน คือ ผู้รับประกัน (Insurer) ผู้เอาประกัน (Insured) หรือผู้ถือกรมธรรม์ (Policy Holder) ผู้รับผลประโยชน์ (Beneficiary) การประกันจักต้องผ่านกระบวนการพิจารณารับประกัน เพื่อผู้รับประกันจักประเมินความเสี่ยงล่วงหน้า ของ บุคคล, กลุ่มบุคคล หรือ ทรัพย์สิน นั้นๆ พร้อมกำหนด รายละเอียดความคุ้มครอง และค่าเบี้ยประกัน ผู้รับประกันอาจรับประกัน โดยแบ่งความเสี่ยงมาส่วนหนึ่ง หรือ ปฏิเสธ หากความเสี่ยงนั้นไม่อาจรับได้ หรือ ผู้รับประกันอาจรับประกันโดยเพิ่มอัตราเบี้ยพิเศษ เพื่อให้สามารถครอบคลุมความเสียหายที่อาจ เกิดขึ้นในอนาคต

บุคคลที่เกี่ยวข้องกับสัญญาประกันภัย ผู้รับประกัน (Insurer) ตั้งขึ้นในรูปบริษัท มีวัตถุประสงค์ที่จะร่วมรับผิดชอบ ในความเสียหายที่เกิดขึ้นแก่ผู้เอาประกัน ผู้เอาประกัน (Assured or Insured) คือ ผู้ที่ต้องการลดการเสี่ยงภัยในความ เดือดร้อนที่อาจจะเกิดขึ้น โดยการโอนความรับผิดชอบให้แก่ผู้รับประกัน ผู้รับประโยชน์ (Beneficiary) คือ บุคคลที่จะได้รับค่าสินไหมทดแทนที่ผู้รับ ประกันจ่ายให้ เมื่อผู้เอาประกันได้รับความเดือดร้อนเสียหาย

ประโยชน์ของประกันภัย ช่วยลดภาระการเสี่ยงภัยให้แก่ผู้เอาประกัน ดังนั้นจึงมีประโยชน์ดังนี้ 1. ให้ความคุ้มครองแก่ครอบครัวของผู้เอาประกัน 2. ช่วยลดภาระแก่สังคมและรัฐบาล 3. ช่วยให้การดำเนินธุรกิจมีประสิทธิภาพ 4. ช่วยให้มีการขยายเครดิต 5. สถานบันการประกันภัยทำหน้าที่เป็นสื่อกลางในการออมเพื่อการลงทุน 6. การประกันภัยในชีวิตระยะยาวเป็นการออมทรัพย์ประเภทหนึ่ง

สัญญาประกันภัยกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง 1. ผู้ขอเอาประกันต้องมีส่วนได้ส่วนเสียในการประกัน 2. เจตนารมณ์ในการทำประกันต้องตั้งอยู่บนรากฐานของความสุจริตอย่างยิ่งต่อกัน 3. วัตถุประสงค์ในการทำประกันเพียงเพื่อได้รับการชดใช้ตามความเสียหายจริงที่เกิดขึ้น เท่านั้น 4. เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์แห่งการชดใช้ 5. เมื่อผู้มีประกันภัยหลายฝ่ายรับผิดชอบต่อความเสียหายอันใดอันหนึ่งที่เกิดขึ้น ให้ถือหลัก ช่วยกันเฉลี่ยการชดใช้ 6. เมื่อมีสาเหตุที่ก่อให้เกิดความสูญเสียมากกว่าหนึ่งสาเหตุ ในการวินิจฉัยสาเหตุว่าอยู่ใน ความคุ้มครองหรือไม่ ให้ถือสาเหตุใกล้ชิดเป็นเกณฑ์

ประเภทของการประกันภัย 1. การประกันชีวิต (Life Insurance) คือ การที่บุคคลกลุ่มหนึ่งร่วมกันเฉลี่ยภัยอันเนื่องมาจาก การตาย การสูญเสียอวัยวะ ทุพพลภาพ และการสูญเสียรายได้ในยามชรา โดยที่เมื่อบุคคลใดต้อง ประสบกับภัย ก็จะได้รับเงินเฉลี่ยช่วยเหลือเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้แก่ตนเองและ ครอบครัว โดยมีบริษัทประกันชีวิตทำหน้าที่เป็นแกนกลางในการนำเงินก้อนดังกล่าว ไปจ่าย ให้แก่ผู้เอาประกันชีวิต ทายาท ผู้รับประโยชน์ ตามที่ระบุไว้ในสัญญา โดยผู้เอาประกันชีวิตตก ลงจะส่งเบี้ยประกันให้ผู้รับประกันภัย ได้แก่ การประกันแบบชั่วระยะเวลา (Term Insurance) การประกันแบบตลอดชีพ (Whole Life Insurance) การประกันแบบสะสมทรัพย์ (Endownment Insurance) การประกันแบบเงินได้ประจำ (Annuity Insurance) การประกันชีวิตหมู่ (Group Life Insurance) การประกันแบบอุตสาหกรรม (Industrial Insurance) เครดิตไลฟ์อินชัวรันส์ (Credit Life Insurance)

การประกันชีวิตแบบชั่วระยะเวลา (Term Life Insurance) คือ เป็นกรมธรรม์แบบคุ้มครอง ชั่วคราวภายในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ที่กำหนดไว้ในกรมธรรม์ เช่น 5 ปี 10 ปี 15 ปี หรือ 20 ปี หากผู้เอาประกันถึงแก่มรณกรรมภายในระยะเวลานั้น ผู้เอาประกันก็จะได้รับทุนประกัน คืนเท่ากับวงเงินที่ได้เลือก หากผู้เอาประกันมีชีวิตอยู่จนครบกำหนดระยะเวลาตามกรมธรรม์ ผู้เอาประกันจะไม่ได้รับเงินคืนใด ๆ ตัวอย่าง อายุ 35 ปี ทุนประกัน 100,000 บาท สัญญา 7 ปี เบี้ยปีละ 400 บาท ชำระ 7 ปี เสียชีวิตจ่าย 100,000 บาท เริ่ม ครบสัญญา ปีที่ 1 ปีที่ 7 ไม่ได้รับเงินคืน ผู้เอาประกัน เสียชีวิต = คนหลังได้ใช้ ผู้เอาประกัน มีชีวิตอยู่ครบ = ไม่ได้รับเงินคืน

การประกันชีวิตแบบตลอดชีพ (Whole Life Insurance) คือ เป็นแบบประกันที่มีจุดมุ่งหมาย หลักอยู่ที่การทดแทนความสามารถในการทำงานหรือการสูญเสียรายได้หากผู้เอาประกันถึง แก่มรณกรรม โดยจะให้ความคุ้มครองตลอดชีวิต ของผู้เอาประกัน หรือจนกว่าผู้เอาประกัน จะมีอายุครบ 99 ปี แล้วแต่รายละเอียดที่กำหนดไว้ในกรมธรรม์ ตัวอย่าง อายุ 35 ปี ทุนประกัน 100,000 บาท เบี้ยปีละ 3,000 บาท ชำระ 20 ปี เสียชีวิตจ่าย 100,000 บาท เริ่ม ตลอดชีวิต ปีที่1 ปีที่20 หยุดชะรำเบี้ย ผู้เอาประกันเสียชีวิต = คนหลังได้ใช้

การประกันชีวิตแบบเงินได้ประจำ หรือแบบรายปี (Annuity Life Insurance) 4 รับบำนาญปีละ 30,000 บาท เริ่ม 61 62 63 64 65 66 อายุครบ 60 ปี หยุดชำระเบี้ย ในประเทศไทยจะไม่มีการขายแบบนี้แต่จะมีในลักษณะผสมกับแบบอื่น ไปขายรวมกับแบบอื่น

การประกันชีวิตแบบสะสมทรัพย์ (Endowment Life Insurance) คือ เป็นแบบประกันที่มี รูปแบบคล้ายกับการฝากเงินประจำกับธนาคาร โดยที่กรมธรรม์ประเภทดังกล่าวนอกจากจะ ให้ความคุ้มครองการมรณกรรมของผู้เอาประกันตามวงเงินคุ้มครองที่เลือกไว้แล้ว ในระหว่าง สัญญาผู้เอาประกันก็จะได้รับผลตอบแทนทางการเงินจำนวนหนึ่งตามกำหนดระยะเวลาที่ ระบุไว้ในกรมธรรม์ เช่น ทุกๆปี ทุก 2 ปี หรือจนครบกำหนดสัญญาฯลฯ ตัวอย่าง อายุ 35 ปี ทุนประกัน 100,000 บาท สัญญา 20 ปี เบี้ยปีละ 5,000 บาท ชำระ 20 ปี เสียชีวิตจ่าย 100,000 บาท เริ่ม ครบสัญญา ปีที่ 1 ปีที่ 20 มีชีวิตอยู่รับ 100,000 บาท ผู้เอาประกัน เสียชีวิต = คนหลังได้ใช้ ผู้เอาประกัน มีชีวิตอยู่ครบ = ได้ใช้เอง

การประกันชีวิตประเภทประกันหมู่หรือกลุ่ม (Group Life Insurance) คือ เป็นการเอา ประกันชีวิตกลุ่มของลูกจ้าง พนักงานบริษัทหรือสมาชิกองค์กรต่างๆ ที่อยู่ภายใต้ความ คุ้มครองกรมธรรม์ฉบับเดียวที่เรียกว่า “กรมธรรม์หลัก” โดยนายจ้างเป็นผู้ขอทำประกันชีวิต และถือกรมธรรม์หลักไว้ ส่วนลูกจ้างคนงาน พนักงานแต่ละคนจะได้รับมอบใบสำคัญ ใน การเอาประกันชีวิตกลุ่มที่เรียกว่า ใบรับรองการประกันชีวิต (Certificate) จากบริษัท รับประกันชีวิต แบบประกันกลุ่มแบบสำเร็จรูป (Package) แผนประกัน ไฟว์ อัพ (5 UP) สำหรับองค์กรที่มีจำนวนพนักงาน 5 – 19 คน แผนประกัน เทน อัพ พลัส (10 UP+GCIR ) สำหรับองค์กรที่มีจำนวนพนักงาน 10 – 19 คน แผนประกัน ทเวนตี้ อัพ พลัส? (20 UP+GCIR ) สำหรับองค์กรที่มีจำนวนพนักงาน ตั้งแต่ 20 คน ขึ้นไป

2. การประกันภัยทรัพย์สิน ( Property Insurance ) หมายถึง การประกันที่ บริษัทผู้รับประกันภัยทำสัญญายินยอมที่จะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนหรือ ชดใช้เงินจำนวนหนึ่ง ให้กับผู้เอาประกันภัยในกรณีที่เกิดความเสียหาย เกี่ยวกับทรัพย์สินที่เอาประกัน ซึ่งได้แก่ได้แก่ การประกันอัคคีภัย(Fire Insurance) การประกันภัยทางทะเล(Automobile Insurance) การประกันภัยรถยนต์ (Marine Insurance) การประกันภัยเบ็ดเตล็ด(Marine Insurance)

3. การประกันภัยความรับผิดตามกฎหมาย ( Liability Insurance ) หมายถึง การ ประกันที่บริษัทผู้รับประกันภัย ทำสัญญายินยอมที่จะชดใช้ค่าสินไหมทดแทน หรือชดใช้เงินจำนวนหนึ่งให้กับบุคคลภายนอกผู้ได้รับความเสียหายที่เกิดกับ ชีวิต ร่างกาย หรือ ทรัพย์สิน ของบุคคลภายนอกนั้น อันเกิดจากการกระทำของ ผู้เอาประกันภัย ซึ่งได้แก่ การประกันภัยความรับผิดชอบของบุคคลต่อบุคคลอื่น การประกันภัยความรับผิดชอบของผู้ประกอบวิชาชีพเฉพาะต่อบุคคลอื่น การประกันภัยความรับผิดชอบของธุรกิจต่อบุคคลอื่น

บริษัทประกันภัย

เอกสารประกอบการรับประกันภัย ได้แก่ ประกันภัยรถยนต์ ประกันอัคคีภัย ประกันทางทะเล และขนส่ง ประกันเบ็ดเตล็ด

ประกันภัยรถยนต์ ใบคำขอเอาประกันภัย สำเนาทะเบียนรถ สำเนาบัตรประชาชน สำเนาใบอนุญาตขับขี่ ใบเตือนต่ออายุบริษัทเดิม

ประกันอัคคีภัย ใบคำขอเอาประกันภัย ใบโฉนดที่ดิน สำเนาเอกสารการขออนุญาตก่อสร้างอาคาร สำเนาเอกสารสัญญาเช่าอาคาร สำเนาหนังสือ ภพ.20 สำเนาเอกสารงบกำไรขาดทุน

ประกันทางทะเล และขนส่ง ใบตราส่ง (bill of lading หรือ B/L) ใบกำกับสินค้า (invoice)

คำศัพท์ ผู้รับประกันภัย ( Insurer ) คือ คู่สัญญาซึ่งตกลงจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทน หรือชดใช้เงินจำนวนหนึ่ง ให้ผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับ ประโยชน์ ผู้เอาประกันภัย ( Insured ) คือ คู่สัญญาซึ่งตกลงจะส่งเบี้ยประกันภัยจำนวนหนึ่งให้ผู้รับประกันภัยเมื่อเกิดมีภัยขึ้น ผู้รับประกันภัยจึงจะ จ่ายค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้เอาประกันภัย ผู้รับผลประโยชน์ ( Beneficiary ) คือ บุคคลภายนอกสัญญาประกันภัย ที่มีสิทธิ์เข้ามารับประโยชน์ในค่าสินไหมทดแทนตามสัญญา ประกันภัยนั้น ตามข้อตกลงของผู้เอาประกันภัย กับ ผู้รับประ-กันภัย ดังนั้น เมื่อมีผู้รับประโยชน์ตามสัญญาประกันภัยแล้ว ผู้เอา ประกันภัยไม่มีสิทธิได้รับค่าสินไหมทดแทนตามสัญญาอีกต่อไป ผู้รับประโยชน์อาจเป็นบุคคลเดียวกับผู้เอาประกันภัยก็ได้ เบี้ยประกันภัย ( Premium ) หมายถึง จำนวนเงินที่ผู้เอาประกันภัยจะต้องจ่ายให้แก่ผู้รับประ-กันภัย ตามสัญญาประกันภัย ซึ่งการจ่าย อาจจะจ่ายเป็นรายปี ราย 6 เดือน ราย 3 เดือน รายเดือน แล้วแต่จะระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัย กรมธรรม์ประกันภัย ( Policy ) หมายถึง เอกสารที่แสดงข้อตกลง เงื่อนไขต่างๆ ของสัญญาประกันภัย ในกรมธรรม์จะประกอบไปด้วย รายละเอียดต่างๆมากมาย อันเป็นเงื่อนไขและข้อตกลงต่างๆระหว่างผู้เอาประกันภัยและผู้รับประกันภัย ทุนประกันหรือจำนวนเงินเอาประกัน ( Sum insured ) หมายถึง จำนวนเงินที่ตกลงกันว่า ผู้รับประกันภัยจะต้องจ่ายให้ผู้เอาประกันภัย หรือผู้รับประโยชน์ ตามที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัย เมื่อเกิดภัยหรือความเสียหายเกิดขึ้นแก่ผู้เอาประกันตามเงื่อนไขในสัญญาหรือ กรมธรรม์

แบบฝึกหัด เอกสารประกันภัย 1 . ประกันภัยหมายถึงอะไรจงอธิบาย? 2. การประกันชีวิตมีกี่แบบอะไรบ้าง พร้อมอธิบาย? 3. การประกันภัยแบบช่วงระยะเวลาต้องทำสัญญากี่ปี? 4. การประกันมีองค์ประกอบกี่ส่วน ได้แก่อะไรบ้าง? 5. บุคคลที่เกี่ยวข้องกับสัญญาประกันภัย ได้แก่ใคร พร้อมอธิบาย?

สาขา การจัดการโลจิสติกส์ ปวสพ.2/6 สมาชิกกลุ่มที่4 สาขา การจัดการโลจิสติกส์ ปวสพ.2/6 1.นายกันตินันท์ มุ่งเกิด รหัสนักศึกษา0024999 2.นางสาววิมลรัตน์ นักบุญ รหัสนักศึกษา0025019 3.นางสาวกมลชนก โกสิวาล รหัสนักศึกษา0025059