การใช้อินเตอร์เน็ตในการเรียน
Internet/ Information Superhighway/Cyberspace อินเตอร์เน็ตเป็นเครือข่ายที่รวมของเครือข่ายย่อย ๆ (Network of Network) ที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ของเครือข่ายทั่วโลกไว้เป็นมาตราฐานเดียวกัน การสื่อสารกันในระบบอินเตอร์เน็ตจะใช้โปรโตคอลแบบ TCP/IP ซึ่งทำให้คอมพิวเตอร์ต่างชนิดกันเมื่อนำมาใช้ในเครือข่ายแล้วจะสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้
โครงสร้างอินเตอร์เน็ต
เราเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตได้อย่างไร โดย ISP (Internet Service Provider) หรือ “ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต” ช่องสัญญาณการเชื่อมต่อภายในประเทศ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตสามารถเลือกเช่าช่องสัญญาณได้โดยเสรี เช่น เอเชียอินโฟเน็ท กสท. ทศท. อินเทอร์เน็ตประเทศไทย ช่องสัญญาณการเชื่อมต่อระหว่างประเทศ การให้บริการอินเทอร์เน็ตจะต้องผ่านการสื่อสารแห่งประเทศไทยเท่านั้น เนื่องจากกฎหมายปัจจุบันยังไม่เอกชนทำ
เรียกกันอย่างเป็นทางการว่า “ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต” ISP ISP = Internet Service Provider เรียกกันอย่างเป็นทางการว่า “ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต”
การต่อคอมพิวเตอร์เชื่อมกับ ISP
บริการข้อมูลแบบเว็บ World Wide Web Web Page หรือ หน้าเอกสารเว็บ โปรแกรม “บราวเซอร์” (Browser) เช่น Internet Explorer มีภาพนิ่ง เสียง วิดีโอ หรือ ดึงข้อมูลลงมา (Download) และส่งข้อมูลขึ้นไป (Upload) มี link ไปยังข้อมูลต่างๆ Web Site ของข้อมูลต้องใช้ URL (Uniform Resource Locator) แต่ละแห่ง URL จะไม่ซ้ำกัน
Microsoft Internet Explorer Browser Microsoft Internet Explorer
URL (Uniform Resource Locator)
Domain Name com = commercial .co.th = บริษัทที่จดทะเบียนการค้าของไทย .org = Organization องค์กรที่ไม่แสวงผลกำไร .net = Government หน่วยงานรัฐ .ac.th = สถานศึกษา
Homepage โฮมเพจก็เหมือนหน้าบ้าน ส่วนมากที่หน้าโฮมเพจนี่จะดีไซด์กันสุดเหวี่ยงเพื่อดึงดูดใจผู้ชม
Home Page
Web Page ไม่ว่าหน้าไหนที่ไม่ใช่หน้าแรกของเว็บไซต์จะเรียกว่า “เว็บเพจ” แต่ โฮมเพจจะเรียกว่า “เว็บเพจ” ก็ได้ เพราะโฮมเพจมันคือหน้าแรกเท่านั้นแต่เว็บเพจมันคือทุกๆๆๆๆๆๆ หน้า
Web Page
Web Site Home Page + Web Page = Web Site
Web site
หลักการสืบค้นข้อมูลในอินเตอร์เน็ต Search Engine เป็นเว็บไซต์ที่รวมเว็บต่าง ๆ ทั่วโลก และทำหน้าที่ค้นหาข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการ หลักการทำงานของ Search Engine คือ การท่องไปในเว็บต่าง ๆ และจัดเก็บข้อมูลของเว็บนั้นในรูปดัชนี เมื่อผู้ใช้ใส่ข้อความที่ต้องการค้นและตรงกับดัชนีที่จัดเก็บไว้ ก็จะแสดงเว็บไซต์และข้อมูลนั้นออกมาให้ผู้ใช้ ตัวอย่างของ Search Engine คือ www.yahoo.com,www.excite.com www.google.com
หลักการสืบค้นข้อมูลในอินเตอร์เน็ต ใช้โปรแกรม Search Engine มีวิธีค้น 3 ประเภท 1. Keyword Index เหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลทั่วไป 2. Subject Directory เหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลที่ต้องการความแม่นยำ 3. MetaSearch Engine เหมาะสำหรับการค้นหาข้อมูลทั่วไปแบบกว้างๆ
1. Keyword Index เป็นการค้นหาข้อมูลโดยใช้คำสำคัญ โปรแกรมจะค้นโดยอ่านชื่อเว็บไซต์และคำข้างบนสุดประมาณ 30 คำของเนื้อเรื่อง เช่น Google, Alta Vista, Excite ตัวอย่าง
การใช้ Advanced Search เป็นการค้นให้เฉพาะเจาะจงยิ่งขึ้น เพื่อจำกัดองค์ประกอบอื่นๆ เช่น ภาษา ช่วงเวลา รูปแบบของไฟล์ข้อมูลที่ต้องการ
2. Subject Directory การเก็บข้อมูลเป็นหมวดหมู่ตามหัวเรื่อง (Subject) มีการจัดเรียงโดยใช้คนวิเคราะห์ว่าเว็บไซต์ไหนดีระดับใด เช่น Yohoo, InfoSeek, Sanook ฯลฯ
3. MetaSearch Engine Search Engine ที่นำคำถาม (Query) ของผู้ใช้ไปสอบถาม Search Engine อื่น แล้วนำผลลัพธ์มารวมกัน เพื่อนำเสนอในรูปแบบที่เหมาะสม เช่น Meta Crawler, Dogpile ฯลฯ Search Engine QUERY QUERY RESULT MetaSearch Engine RESULT COMBINDED RESULT Search Engine QUERY
MetaSearch Engine
MetaSearch Engine
หลักสำคัญที่ใช้ในการสืบค้น สืบค้นจากชื่อเว็บไซต์ในตำแหน่ง URL สืบค้นจากคำที่มีอยู่ในชื่อเรื่อง สืบค้นจากคำสำคัญ สืบค้นจากส่วนสำคัญที่ใช้อธิบายหรือบอกลักษณะ สืบค้นจากคำที่มีอยู่ในเนื้อหาของเว็บไซต์
สืบค้นจากชื่อเว็บไซต์ในตำแหน่ง URL เมื่อทราบ URL เช่น URL ของ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
URL ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ
URL ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ
การใช้คำสั่งและเครื่องหมายในการค้นคำ Keyword Search Operators Keyword Search แต่ละSearch Engine มี Operators ของแต่ละโปรแกรมที่แตกต่างกัน เช่น 1. Boolean การใช้ and, or, near, and not, before, after เพื่อเชื่อมคำหรือวลี
1. Boolean AND ใช้การค้นข้อแบบเจาะลึก เช่น poverty and crime หมายถึงค้นเอกสารที่มีคำสองคำปรากฏ poverty AND crime
Google จะใช้ and (และ) อยู่ในประโยคเสมอ เช่น ค้นหา Vacation และ hawaii ข้อมูลจะหาเฉพาะ ที่มีคำว่า vacation และ hawaii อยู่บทความ
Vacation AND hawaii
1. Boolean OR ใช้หาข้อมูลที่หายากหรือมีข้อมูลน้อย เช่น college OR university หมายถึงค้นหาเอกสารที่มีคำหนึ่งคำใดปรากฏ O college OR university
Computer OR network
1. Boolean AND NOT หรือ NOT ใช้ค้นเฉพาะที่ต้องการโดยตัดคำบางคำออกไป เช่น CAT NOT DOGS CAT NOT DOGS
การใช้คำสั่งและเครื่องหมายในการค้นคำ 2 . PLUS/MINUS เครื่องหมาย บวก หรือ ลบ ไว้หน้าคำหรือวลี เช่น +poverty +crime cats -dogs การเขียน + หรือ - ให้เขียนติดกับคำโดยไม่ต้องเว้นวรรค
Bass = 21,000,000
Bass -music = 11,400,000
การใช้คำสั่งและเครื่องหมายในการค้นคำ 3. PHRASES ใช้เครื่องหมาย “ ” ครอบวลี เช่น “communication research” “Thai language” 4. Stemming ใช้เครื่องหมาย asterisk* เช่น bird* ใช้ในการค้นคำว่า bird, birds, birding
Bangkok university = 2,340,000
“Bangkok university” = 30,000
เทคนิคการค้นหาข้อมูลเฉพาะด้าน การค้นหารูปภาพจาก Alta Vista
การค้นหารูปภาพจาก Alta Vista
ค้นหาภาพดาราจาก google
ค้นหาภาพดาราจาก google
ค้นหาภาพดาราจาก google
การแสดงผลข้อมูล แบบจัดลำดับ (Relevance Ranking) เรียงตามลำดับข้อมูลที่โปรแกรมคาดว่าเกี่ยวข้องมากที่สุดก่อน โดยนับจากจำนวนคำที่ปรากฏใน Web site แบบสรุปความ (Abstract) เป็นการแสดงผลในรูปสรุปความ หากต้องการรายละเอียดต้องเข้าดูเอกสารจริง *** แบบที่ 2 มีประโยชน์มากกว่าแบบที่ 1 ***
การวิเคราะห์และประเมินผลลัพท์ที่ได้ ความถูกต้องของเนื้อหา ความน่าเชื่อถือของผู้เขียนหรือผู้จัดทำ วัตถุประสงค์ในการจัดทำ (วิชาการ – การตลาด) ความทันสมัยของเนื้อหา เนื้อหาครอบคลุมและมีการเชื่อมโยงไปหาแหล่งข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ปัญหาของการค้นหาข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต ไม่ได้วางแผนการค้นหา ได้ข้อมูลเยอะเกินไป ไม่รู้เทคนิคการค้นหา ได้ข้อมูลไม่ตรงกับความต้องการ เพลิดเพลินกับการอ่านข้อมูลที่ไม่เกี่ยวข้อง ผลการค้นหามีการเปลี่ยนแปลง