หมวด ๔ : การจัดการระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทุกกลุ่มวัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เขตบริการสุขภาพนครชัยบุรินทร์ ประจำปี 2558
Advertisements

ตำบลจัดการสุขภาพ5กลุ่มวัยแบบบูรณาการ
1 คณะที่ 5 การตรวจราชการแบบบูรณา การ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
ประเด็น สิ่งที่ชื่นชม แนวทางการพัฒนา
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
การประเมินผู้ป่วยและครอบครัว ในการดูแลระยะยาว
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ 22 พฤษภาคม 2552.
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
II-9 การทำงานกับชุมชน.
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
ผู้เยี่ยมเสริมพลังลงพื้นที่เยี่ยมเสริมพลัง รพ.สต.ติดดาว
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
ครั้งที่ 8/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
การดำเนินงานService Plan จ.กำแพงเพชร ปี 2561
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
Risk Management System
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2559 ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
การประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการให้คำแนะนำ
ณ นริศภูวิว รีสอร์ท ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
ทีมเยี่ยมเสริมพลัง คปสอ.เขาสมิง วันพุธที่ 3 พ.ค. 60
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)
การดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิง
แผนบูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยผู้สูงอายุ
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558
เกณฑ์คะแนน รพ.สต.ติดดาว ปี2561
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
กลุ่มที่ มาตรฐานที่ เรื่อง ตัวบ่งชี้/ประเด็นพิจารณาที่ ถึง
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
คลินิกไร้พุงคุณภาพ (DPAC Quality)
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการดำเนินงานให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม.
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านทุ่งโหลง อ. เมือง จ
สิ่งที่พูดถึง การดำเนินงานกลุ่มวัยทำงาน DM HT DPAC องค์กรไร้พุง
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
นางธนตวรรณ ขวัญแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
แผนการดำเนิน งานตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน สสจ.สระแก้ว ปี 2560.
สอนอย่างมืออาชีพ หยุดยั้งพฤติกรรมเสี่ยง
สรุปผลการตรวจราชการฯ
นำเสนอโดย นางสาวหนูแพว วัชโศก วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสาธารณสุข ๑๐๐ ปี หมออนามัยห่วงใยประชาชน สร้างชุมชนปลอดขยะ ร่วมขจัดภัยไข้เลือดออกและไข้มาลาเรีย ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑.
สร้างเครือข่ายในชุมชน
ดำเนินการวิจัย นางสาวขวัญใจ จันทรวงษ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้จัดทำวิจัย
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2558
ขอต้อนรับ นายแพทย์ธงชัย กีรติหัตถยากร
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบัวงาม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
การพัฒนา รพ.สต.ตำบลคุณภาพ (ศูนย์เรียนรู้ด้าน IT)
การตรวจราชการและนิเทศงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หมวด ๔ : การจัดการระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทุกกลุ่มวัย เกณฑ์รพ.สต.ติดดาว ชื่นชม โอกาสพัฒนา - การจัดบริการตามสภาพปัญหา (ODOP/OTOP) -มีการเตรียมความพร้อมในการเตรียมซองยา ncd ไว้ใน family folder ของผู้ป่วย ncd -มีการ double check ยาโดยเจ้าหน้าที่ของ รพ.สต.ก่อนถึงมือเภสัชในวันคลินิก -มีนวัตกรรมที่สอดคล้องกับปัญหาของพื้นที่และสามารถแก้ปัญหาในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพคือนวัตกรรมคู่หูดูแลกันเบาหวานลดทำให้ระดับน้ำตาลของผู้ป่วยในกลุ่มสามารถคุมได้ในระดับดีมีการเสริมแรงผู้ป่วยในโครงการโดยการแจกข้าวไรซ์เบอรี่เมื่อผู้ป่วยเบาหวานสามารถอยู่ในกลุ่มเดียวได้ครบ 1 ปีทุกเดือน ควรนำรูปแบบนวัตกรรมผู้ดูแลกันเบาหวานลดมาใช้ในการดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูงเนื่องจากในรพ. สต. มีผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 120 คนควรมีการลงนามใน CPG โดยผอ.รพ.และสสอ.

จัดบริการตามสภาพปัญหาชุมชน ( ODOP/OTOP) กลุ่มป่วย ประชาชนทั่วไป/กลุ่มเสี่ยง HT/DM CPG

ไข้เลือดออก CPG

หมวด ๔ : การจัดการระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทุกกลุ่มวัย ประเด็น สิ่งที่ชื่นชม แนวทางการพัฒนา การบริการในสถานบริการ (OPD,ER,ANC,WCC,NCD,แผนไทย) มีการประชาสัมพันธ์ช่องทาง วันเวลาตารางการบริการตามร้านค้าเพิ่มการเข้าถึงบริการ เพิ่มแนวทางการปฏิบัติ แนวทางการรักษาพยาบาล ในโรคที่สำคัญที่เป็นปัญหาเช่น HT DM รวมถึงภาวะฉุกเฉินที่อาจพบได้เช่น stroke hyper /hypoglycemia ที่เชื่อมโยงจากเครือข่าย มี CPG ไว้ที่ ER หยิบใช้ง่าย มีฐานข้อมูลผู้รับบริการ ที่เป็นกลุ่มโรคที่สำคัญจำนวนผู้ป่วยรายเก่ารายใหม่กลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วย

หมวด ๔ : การจัดการระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทุกกลุ่มวัย ประเด็น สิ่งที่ชื่นชม แนวทางการพัฒนา การบริการในสถานบริการ (OPD,ER,ANC,WCC,NCD,แผนไทย) มี Flow chart /ป้ายโปสเตอร์ขั้นตอนการปฏิบัติต่างๆชัดเจนสวยงามเห็นชัดเช่นการ CPR การประเมิน GSC เพิ่มการเตรียมความพร้อมใช้ พร้อมอุปกรณ์ฉุกเฉินเช่น ambubag ต่อหัวต่อเกย์ออกซิเจนพร้อมใช้ เครื่องsuction( มีสำรองไว้ใน HHC 4 เครื่อง)มาไว้ใช้ใน ER มีอุปกรณ์ ชุดสำหรับตรวจแต่ละแผนกพร้อมใช้ มีครบตามรายการ มีระบบฆ่าเชื้อ ตามมาตรฐาน ร่วมกับแม่ข่าย

หมวด ๔ : การจัดการระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทุกกลุ่มวัย ประเด็น สิ่งที่ชื่นชม แนวทางการพัฒนา การบริการในสถานบริการ (OPD,ER,ANC,WCC,NCD,แผนไทย) มีการลงข้อมูลใน family folder แบ่งเป็นหมวดหมู่แต่ละคลินิก แต่ละโรคชัดเจนจัดเก็บเหมาะสม มีนวัตกรรมที่เอื้อต่อการบริการ เช่นคู่หูดูแลกันเบาหวานลด ลูกแก้วนวดเท้า

หมวด ๕ : ผลลัพธ์ เกณฑ์รพ.สต.ติดดาว ชื่นชม โอกาสพัฒนา 5.1 บทบาทของบุคคลและครอบครัวในการดูแลตนเอง (self care) จากการประเมินศักยภาพของประชาชนและครอบครัว มีการดูแลตนเอง ได้อย่างดี เนื่องจาก จากการทำแบบประเมิน ในกลุ่มตัวแทนทั้ง 5 กลุ่มวัยจำนวน 6 คนพบว่าทุกคน รับรู้และรับทราบวิธีการปฏิบัติตัว ด้านสุขภาพเป็นอย่างดี

คู่หูดูแลกัน เบาหวานลด วัตถุประสงค์ : ผู้ป่วยให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ.2ส ทำให้สามารถควบคุมระดับนํ้าตาลในเลือดได้และผู้ป่วยเบาหวานเกิดการรวมกลุ่มช่วยเหลือกระตุ้นเตือน ดูแลซึ่งกันและกัน นวัตกรรม คู่หูดูแลกัน เบาหวานลด ก่อนดำเนินการปรับพฤติกรรม “คู่หูดูแลกันเบาหวานลด” พบว่ากลุ่มเป้าหมายมีค่าเฉลี่ยระดับน้ำตาลในเลือด เท่ากับ 159.2 มก./ดล. (SD = 26.76) และหลังดำเนินการ เท่ากับ 126.5มก./ดล. (SD = 21.81 ) ความพึงพอใจต่อนวัตกรรม ร้อยละ 89.58