การดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
Advertisements

จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
บทบาทหน้าที่ของทีม สุขภาพจิตในระบบใหม่ ของกระทรวงสาธารณสุข.
สรุปผลการตรวจราชการติดตามและประเมินผล กระทรวงสาธารณสุข คณะที่ ๑ : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบ ควบคุมโรค ภาพรวมเขต 8 ( รอบ 2/2558) กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต.
LOGO “ Add your company slogan ” แผนปฏิบัติการ ประจำปี ของสถานศึกษา ดร. จิมมี่ ทองพิมพ์ ณ โรงแรมสยามริ เวอร์ รีสอร์ท รายละเอียดเพิ่มเติม
นายรังสรรค์ ศรีล้วน สรุปผลการดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ 2558 ระบบสุขภาพอำเภอจังหวัดอุบลราชธานี
การจัดการการดูแล (Care Management) นางอุไลวรรณ์ ไขสังเกต พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอหนองโดน
  การสนับสนุนการดำเนินงาน LTC ผ่าน "ศูนย์" ตามประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ.
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
นโยบายการดำเนินงาน ปี 2561
อัตราเกิด อัตราตาย และอัตราเพิ่ม ของประชากรจังหวัดพิจิตร ปี ปี 2559 (อัตราต่อปชก.พันคน)
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
การดำเนินงาน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
โครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
ระบบการดูแลระยะยาว (Long Term Care: LTC) เขต 9
งานผู้สูงอายุ ตัวชี้วัดหลัก : ตำบลมีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสและการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ ตัวชี้วัดรอง.
Cluster วัยทำงาน Cluster วัยผู้สูงอายุ
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ปี 2561 (ตาม ม.44)
การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย
Family Care Team : ทีมหมอครอบครัว
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาล กองการพยาบาลสาธารณสุข
การดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิง
แผนบูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยผู้สูงอายุ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
ตำบลจัดการสุขภาพ.
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
ระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับ ผู้สูงอายุและบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ในพื้นที่ตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (L0ng Term Care)
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
มีจำนวน 1 โครงการ ลำดับ ประเภทกิจกรรม จำนวนเงิน งบประมาณ ที่ใช้ไป
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
การขับเคลื่อน ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ
1 ภารกิจด้าน อำนวยการ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาล ทั่วไป
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
พญ.ชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) จังหวัดเพชรบุรี ปี 2558
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
ผู้ทรงคุณวุฒิ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)
การใช้โปรแกรม Care Manager เพื่อช่วย Care manager ในการบริหารจัดการ
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
ระบบบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
Fully Participation ส่วนกลาง และ ศูนย์อนามัยเขต
คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care: LCT ) จังหวัดกำแพงเพชร
อ.ดร.จิรพรรณ โพธิ์ทอง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชนนี สุพรรณบุรี
สร้างเครือข่ายในชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อรับฟังการวิเคราะห์แนวทางวางแผนปฏิบัติงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานพื้นที่ดำเนินงาน ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
มีจำนวน 8 โครงการ ลำดับ ประเภทกิจกรรม จำนวนเงิน งบประมาณ ที่ใช้ไป
การดำเนินกิจการ ของสหกรณ์ออมทรัพย์.
การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
จัดสวัสดิการผู้สูงอายุตามวิถีแว้ง
ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน.
ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
รายงานผลการปฏิบัติงาน ไตรมาสที่ ๒ (มกราคม-มีนาคม๒๕๕๗)
อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้
สรุปผลการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
สมชาย ละอองพันธ์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care ) เครือข่ายสุขภาพ อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี วีรยา ด่านเสนา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

จากสภาพปัญหา ของอำเภอแก่งคอย LTC จำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น เกิดความพิการ เข้าไม่ถึงบริการรักษา ถูกทิ้งอยู่บ้านลำพัง ผู้ป่วยระยะสุดท้าย ขาดการดูแลที่บ้าน

LTC Care management : มีระบบการจัดการเพื่อช่วยเหลือให้ผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือ ได้รับการดูแล เป้าหมาย พัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาส ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ( ติดบ้าน ติดเตียง ) ได้รับบริการตามชุดสิทธิประโยชน์ โดย การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

ภายใต้การบูรณาการ ระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) โดย คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอแก่งคอย ( พชอ. ) LTC ผอ. รพ. นายอำเภอ หน. สสอ. และภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน

ผู้สูงอายุทั้งหมด 14 ตำบล LTC อำเภอแก่งคอย ผู้สูงอายุทั้งหมด 14 ตำบล จำนวน 13,810 คน คิดเป็น 14.12 % ADL จำนวน ร้อยละ ติดสังคม (ADL 12-20) 13,056 94.54 ติดบ้าน (ADL 5-11) 619 4.48 ติดเตียง (ADL 0-4) 135 0.98

LTC อำเภอแก่งคอย ข้อมูลบุคลากร * ทีมหมอครอบครัว ( FCT ) ระดับอำเภอ 9 ทีม , ระดับตำบล 14 ทีม , ระดับชุมชน 73 ทีม * Care manager : CM จำนวน 30 คน * Care giver : CG จำนวน 232 คน * ตำบลจัดการสุขภาพ จำนวน 12 ตำบล * อปท. ที่ดำเนินการ LTC จำนวน 5 แห่ง

อบรมฟื้นฟู เพิ่มทักษะ Care manager : CM

อบรมเพิ่มทักษะ Caregiver : CG ตามหลักสูตร กรมอนามัย

การนำเสนอผลงาน ของ Caregiver : CG หลังการอบรม

การสร้างเสริมสุขภาพ ในผู้สูงอายุ การสร้างเสริมสุขภาพ ในผู้สูงอายุ โรงเรียนผู้สูงอายุ ศูนย์ร่วมสุข 3 แห่ง

ดูแลต่อเนื่อง โดย ทีมหมอครอบครัว การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ( ติดบ้าน ติดเตียง ) เน้น : การมีส่วนร่วม / เข้าถึงบริการเชิงรุกในชุมชน ดูแลต่อเนื่อง โดย ทีมหมอครอบครัว

ดูแลเชื่อมโยงทุกระดับเป็นองค์รวม ดูแลเชื่อมโยง ตามแผน Care plan รายบุคคล ดูแลเชื่อมโยงทุกระดับเป็นองค์รวม มีการเชื่อมโยงการดูแล ในแต่ละระดับ ตั้งแต่สหสาขาวิชาชีพของโรงพยาบาล จนท. รพ.สต. ทีมโอบอุ้ม อสม. และผู้นำชุมชนในพื้นที่เป็นองค์รวม

การดำเนินงาน ของทีมโอบอุ้ม ( Caregiver : CG )

ภาคีเครือข่ายในชุมชน เข้ามามีส่วนร่วม

ภาคเอกชน / ภาคประชาชน เข้ามามีส่วนร่วม ภาคเอกชน / ภาคประชาชน เข้ามามีส่วนร่วม

ศูนย์ / กองทุนพัฒนาคุณภาพชีวิต อ. แก่งคอย จ ศูนย์ / กองทุนพัฒนาคุณภาพชีวิต อ.แก่งคอย จ.สระบุรี : Kaengkhoi District Center Company Logo www.themegallery.com

การมีส่วนร่วมบริจาคอุปกรณ์สิ่งของต่างๆ

บ้านป้าฉวีหลังได้รับการช่วยเหลือ บ้านป้าฉวีสภาพเดิม บ้านป้าฉวีหลังได้รับการช่วยเหลือ ยายฉวี ( มารดาผู้ป่วย ) ยอมเข้ารับการผ่าตัดต้อกระจกแล้ว ตามองเห็นด้วยคำพูด ของนายอำเภอ ว่า “ อยากเห็นบ้าน ที่สร้างใหม่ไหม ”

สภาพบ้าน และ ห้องน้ำ ก่อน และหลัง ปรับปรุง

มอบบ้าน ต.ห้วยแห้ง

คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มอบบ้าน ต.สองคอน

บทสรุป...ความร่วมมือของภาคีเครือข่าย : กองทุนพัฒนาคุณภาพชีวิต ปี พศ. สร้าง ซ่อม / ปรับปรุง สภาพบ้าน 2557 1 หลัง 14 หลัง 2558 3 หลัง 8 หลัง 2559 91 หลัง 2560 24 หลัง 2561 2 หลัง 26 หลัง รวม 152 หลัง เป้าหมาย

Quality of life :คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น OUT Come

ดูแลครอบคลุมทุกมิติ ( Intermidiate Care / Long term Care ) Strokeติดเตียง ปัจจุบันลุกนั่งได้

บูรณาการ ความร่วมมือ สู่คุณภาพชีวิตที่ดี “คนแก่งคอย ห่วงใย ใส่ใจดูแลกัน” บทสรุป DHB/พชอ. การพัฒนาแบบมีส่วนร่วม

ชาวแก่งคอย ห่วงใย ใส่ใจดูแลกัน ( Kaengkhoi Caring Society ) จาก คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและระบบสุขภาพ อำเภอแก่งคอย ( District Health Board : DHB/ พชอ. )

Thank you for your attention