คัดกรองพัฒนาการเด็ก คปสอ.หนองใหญ่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
Advertisements

  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘.
Developmental Surveillance & Promotion Manual (DSPM)
Birth asphyxia Pakamas Srisuvunrat.
ประเภทบุคลากร นักวิชาการสาธารณสุข, นักทรัพยากรบุคคล, จพ.ธุรการ Production Line 1.จัดทำแผนบุคลากร 2.จัดประชุม/สัมมนา 3.ประเมินผลและจัดการความรู้ 4.ร่วมผลิตบุคลากรทางการแพทย์
ประธานกลุ่ม:พ.อ.กิตติศักดิ์ ดวงกลาง สมาชิก:ผู้แทนจาก สขว.กอ.รมน., ศปป.1 กอ.รมน., ศปป.6 กอ.รมน., กอ.รมน.ภาค 2, กอ.รมน.จังหวัด ก.ส., ข.ก., บ.ก., น.ค., ล.ย.,
สรุปผลการตรวจราชการติดตามและประเมินผล กระทรวงสาธารณสุข คณะที่ ๑ : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบ ควบคุมโรค ภาพรวมเขต 8 ( รอบ 2/2558) กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต.
การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 นพ. วัลลภ ไทยเหนือ.
Service Plan สาขาสูติกรรม
ประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาระบบบริการอนามัยแม่และเด็ก
ปฐมนิเทศนักศึกษาฝึกงานภายนอก 18 สิงหาคม 2558
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
เป็นกระบวนการเรียนรู้ ไม่ใช่การตรวจสอบ
พัฒนาการที่ต้องติดตามเฝ้าระวัง (Red Flags in Child Development)
สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา
นายแพทย์อภิชาติ รอดสม สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที 6
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ด้านการสื่อสาร และประชาสัมพันธ์
การแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปาก จังหวัดปทุมธานี
สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง
โครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
Service Plan สาขาแม่และเด็ก
ทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์ และสิ่งแวดล้อม เหมือนและต่างกันอย่างไร
นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ.
การประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการให้คำแนะนำ
การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
NUTRITION ในเด็ก 0-5 ปี เดือนแรก NUTRITION ในเด็กนักเรียน 6-14 ปี เดือน สุดท้าย SERVICENUTRITION COMMUNITY_SERVICE 0-5 ปี = 1E ปี = 1H300 ไม่ต้องมี
ทิศทางการขับเคลื่อนหลักสูตรส่งเสริมและพัฒนาเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี
การเบิก-จ่ายเงินอย่างมืออาชีพ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
Buddy Happy Brain (Smart Kids) ศูนย์อนามัยที่ ๓
การคัดกรองพัฒนาการเด็ก เครือข่ายอำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง
แนวทางการให้บริการวัคซีนโปลิโอ
โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรกรรมยั่งยืน ปี 2560
นโยบายการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการทำงานของ “วิทยากรแกนนำเน็ตประชารัฐ”
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
ลูกรัก เก่ง ฉลาด ด้วย 3 ดี
วันที่พุธที่ 7 พฤศจิกายน 2561 เวลา – น.
ผลการดำเนินงานMCHBเขต ปี 2558
นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ นโยบาย พรบ 08/04/62
รายงานความก้าวหน้า งบค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เป็นปัญหาพื้นที่ระดับเขต/จังหวัด (PPA) ปีงบประมาณ 2561 นำเสนอ อปสข. 7 กย.61.
การดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เขตสุขภาพที่ 5
การจดทะเบียนพาณิชย์ ตามพระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
Time management.
Performance Agreement : PA ปี 2560
พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา พ.ศ.2544 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ
Assignments งานประจำวิชา.
การจัดทำหลักสูตรส่งเสริมและพัฒนาเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปีและผลการใช้หลักสูตรฯ ประจำปี 2559.
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
ท.พ. สุธา เจียรมณีโชติชัย ผู้อำนวยการกองทันตสาธารณสุข
การประสานงาน การแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้ไลน์กลุ่ม social media
การดำเนินงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก
อัตราส่วนการตายมารดาต่อการเกิดมีชีพแสนคน
อนามัยแม่และเด็กอำเภอ
ผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพปี 59ซึ่งเราจะทำการสำรวจปีละ 1 ครั้ง ในเดือน มิ.ย. – ส.ค. ของทุกปี ข้อมูลนี้จะเป็นข้อมูล base line ในปีงบ 60 และในเดือนธันวาคมนี้จะมีการปรับมาตรฐานผู้ทำการสำรวจเพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน.
การอำนวยความเป็นธรรมทางอาญาของพนักงานฝ่ายปกครอง
อำเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี
การพัฒนา รพ.สต.ตำบลคุณภาพ (ศูนย์เรียนรู้ด้าน IT)
ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
เทคนิคการจัดรายการ เพื่อเป็นนักจัดรายการที่มีคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คัดกรองพัฒนาการเด็ก คปสอ.หนองใหญ่ คัดกรองพัฒนาการเด็ก คปสอ.หนองใหญ่

คปสอ.หนองใหญ่

แผนที่ แสดงเขตรับผิดชอบของ อำเภอหนองใหญ่ อ.บ้านบึง N รพสต.หนองประดู่ ต.ห้างสูง อ.บ่อทอง รพสต.ห้างสูง ต.หนองใหญ่ รพสต.คลองตะเคียน อ.วังจันทร์ รพสต.ห้วยมะระ รพสต.คลองพลู ต.หนองเสือช้าง ต.คลองพลู รพสต.หนองเสือช้าง สัญลักษณ์ แทน ที่ว่าการอำเภอ แทน โรงพยาบาล แทน รพสต. ต.เขาซก รพสต.ชากนา รพสต.เขาซก รพสต.ท่าจาม อ.ปลวกแดง

ข้อมูลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน 1 แห่ง สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ 1 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน 1 แห่ง สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ 1 แห่ง รพ.สต. 9 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 5 แห่ง โรงเรียน 14 แห่ง

ประชากร จำนวนหลังคาเรือน 6,218 หลังคาเรือน ประชากรทั้งสิ้น 22,237 คน จำนวนหลังคาเรือน 6,218 หลังคาเรือน ประชากรทั้งสิ้น 22,237 คน ชาย 11,523 คน หญิง 10,714 คน ประชากร 0-5 ปี 1,514 คน

การจัดระบบคัดกรอง (DSPM) กลุ่มเด็กปกติ และระบบส่งต่อ เพื่อการดูแลเด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้า เชิงรุกในชุมชน รพ.สต.คัดกรอง 9,18,30,42 ด. 0-5 ปี ศดล. คัดกรอง WCC อสม. ผิดปกติ ผู้ปกครอง. ผลการคัดกรอง ปกติ สงสัย/ล่าช้า แนะนำกระตุ้น 1 เดือน 1.แนะนำผู้ปกครองตรวจพัฒนาการตามอายุ 2.ส่งเสริมกิจกรรม กิน กอด เล่น เล่า 3.ส่งเสริมกิจกรรมภายในครอบครัว ประเมินซ้ำ ผลการประเมิน สงสัย/ล่าช้า ส่งต่อ รพศ. ปกติ ส่งต่อ รพช. กระตุ้น 3 เดือน TEDA4I ผิดปกติ

การจัดระบบคัดกรอง (DAIM) เด็กกลุ่มเสี่ยง และระบบส่งต่อ นน.<2500 / Birth Asphyxia ตรวจพัฒนาการทารกแรกเกิด DAIM และตรวจระบบประสาท ตั้งแต่ห้องคลอด ประเมินซ้ำ DAIM และตรวจระบบประสาท อายุ 1 เดือน / 4 เดือน /12 เดือน / 60 เดือน ประเมินซ้ำ DAIM 9 เดือน / 18 เดือน / 30 เดือน / 42 เดือน ผิดปกติ ปกติ สงสัยล่าช้า กระตุ้นพัฒนาการ 1 เดือน และตรวจประเมินซ้ำ ส่งต่อ รพศ. ประสาน รพ.สต.ติดตาม

การถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ ประชุมคณะกรรมการระดับ อำเภอ ชี้แจงนโยบายตามโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เฉลิมพระเกียรติ วางแผนขั้นตอนการทำงานร่วมกัน

การถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ (ต่อ) จังหวัดให้การสนับสนุนชุดตรวจพัฒนาการเด็ก ดำเนินการตรวจพัฒนาการเด็กที่มารับบริการที่ WBCและเด็กในชุมชนตรวจพัฒนาการตามกลุ่มอายุ แนะนำผู้ปกครองกระตุ้นพัฒนาการและติดตามเด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้า1 เดือน (รพ.สต.) หากผิดปกติส่งต่อโรงพยาบาลหนองใหญ่ เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า กระตุ้น ติดตามผลการประเมินซ้ำเมื่อครบ 3 เดือน หากผิดปกติส่งต่อ รพ.ชลบุรี รพ.สต. และ รพ.หนองใหญ่ มีการประสานงานร่วมกันติดตามและเยี่ยมบ้านเด็กที่พบความผิดปกติ

การพัฒนาศักยภาพบุคลากร 1. ได้รับการอบรมครู ก จำนวน 2 คน 2 ได้รับการอบรมครู ข จำนวน 3 คน 3 ครู พี่เลี้ยงศูนย์เด็ก ได้รับการอบรมจากจังหวัด ร้อยละ100 (5 คน) 4 ครู ก และครู ข จัดอบรมเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานระดับ รพ.สต. ร้อยละ100 (9 คน) 5 พัฒนาศักยภาพ อสม. ระดับตำบล

การอบรมให้ความรู้เจ้าหน้าที่ในอำเภอ

นวตกรรมด้านพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี รพ.สต. มีและใช้นวตกรรม เผยแพร่นวตกรรมภายในอำเภอหนองใหญ่ ภายในจังหวัด และนอกจังหวัด มีการต่อยอดนวตกรรมจากกลุ่มอายุ9 ด.,18ด., 30 ด.,42 ด. เพิ่มเติมตั้งแต่ แรกเกิดถึง 5 ปี จัดทำโครงการลูกน้อยพัฒนาการดี เริ่มที่นมแม่ โดยงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล สร้างเครือข่ายตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็ก โดยแกนนำ อสม.

ตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กในคลินิก WCC ใน รพ.

ตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กในคลินิก WCC ใน รพ.สต.

กิจกรรมที่ตรวจในรพ.สต.

กิจกรรมคัดกรองพัฒนาการในศูนย์เด็กเล็ก

ตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กในศูนย์เด็กเล็ก

ตรวจพัฒนาการเด็กเชิงรุกในชุมชน

ตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กโดย อสม.

อบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง

การอบรมลูกน้อยพัฒนาการดีเริ่มที่นมแม่

สรุปผลการคัดกรองพัฒนาการเด็ก 4 ช่วงวัย (ตุลาคม 58 – กุมภาพันธ์ 59) สรุปผลการคัดกรองพัฒนาการเด็ก 4 ช่วงวัย (ตุลาคม 58 – กุมภาพันธ์ 59)

ร้อยละการตรวจพัฒนาการ จำแนกตามกลุ่มอายุ ระหว่าง เดือน ตุลาคม 2558 - กุมภาพันธ์ 2559 89.36 93.44 86.15 92,06 13.85 7.94 6.56 10.64 9 เดือน 18 เดือน 30 เดือน 42 เดือน สมวัย 57 56 58 59 สงสัยล่าช้า 4 9 5 7 หลังกระตุ้น(ปกติ) 8 ส่งต่อ 1

ผลการคัดกรองพัฒนาการเด็กอายุ 42 เดือน ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอำเภอหนองใหญ่ ต.ค. 2558 – ก.พ. 2559 กลุ่มเป้าหมาย (คน) ได้รับการคัดกรอง จำนวน สมวัย สงสัยล่าช้า 46 41(89.13) 5 (10.87) หลังการกระตุ้นพัฒนาการ 1 เดือน มีพัฒนาการปกติสมวัย 5 คน

พัฒนาการล่าช้าแต่ละด้านแยกตามอายุ

ผลการตรวจพัฒนาการทั้งหมด ระหว่าง เดือน ตุลาคม 2558 - กุมภาพันธ์ 2559 เด็กที่ตรวจทั้งหมด พัฒนาการปกติ สงสัยล่าช้า 255 230 25 ร้อยละ 90.20 9.80 การจัดลำดับด้านพัฒนาการไม่สมวัย อำเภอหนองใหญ่ อันดับที่ 1 RL 10 ราย อันดับที่ 2 EL 8 ราย อันดับที่ 3 FM 7 ราย

ปัญหาอุปสรรค แนวทางแก้ไข 1. สถานบริการบางแห่งมุมพัฒนาการเด็กยังไม่เป็นสัดส่วน การแก้ไข จัดมุมพัฒนาการตามความเหมาะสม 2. การตรวจเด็ก 1 คนอาจใช้เวลานานเกิน 30 นาที การแก้ไข 1.นัดมาตรวจวันอื่น 2.ลงตรวจที่บ้าน 3.เผยแพร่และใช้นวตกรรม ทุกรพ.สต. 4.เพิ่มศักยภาพ อสม. ช่วยตรวจพัฒนาการกลุ่มอายุอื่นๆ

ปัญหาอุปสรรค แนวทางแก้ไข (ต่อ) 3. ผู้ปกครองบางรายยังไม่เข้าใจบทบาทตนเองในการประเมินพัฒนาการเด็กด้วยตนเองที่บ้าน การแก้ไข จัดทำแผนการอบรม ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปีให้มีความรู้ในการประเมินเบื้องต้น และการส่งเสริมพัฒนาการเด็กในรายที่มีปัญหา 4. อสม. ขาดทักษะในการตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก การแก้ไข จัดทำแผนพัฒนาทักษะและศักยภาพ อสม. ในการตรวจ ประเมินพัฒนาการเด็ก และแนะนำผู้ปกครองได้ 5.การลงบันทึกข้อมูลในโปรแกรมยังไม่ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน การแก้ไข ลงบันทึกทุกครั้งที่มีการตรวจพัฒนาการเด็ก รพ. ส่งข้อมูลทาง Line ให้กับ รพ.สต.เครือข่าย

สวัสดี