5A (ถนนปชต) การส่งเสริมการเลิกสูบบุหรี่ในงานประจำ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
Advertisements

กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
เครื่องมือเพื่อการคัดกรองโรคซึมเศร้า
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
ผู้วิจัย สิริภิญญ์ อินทรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ ปีการศึกษา 2556
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ชุมชนปลอดภัย.
การเยี่ยมตรวจคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
จะทำอย่างไรให้ คลินิกเลิกบุหรี่ใน “รพสต” WORK
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
การบันทึกรหัสการคัดกรองบุหรี่ ปี 2560 จังหวัดศรีสะเกษ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
เล่าเรื่องอย่างผู้นำ Coaching by story
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ และ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

5A (ถนนปชต) การส่งเสริมการเลิกสูบบุหรี่ในงานประจำ ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

ทำไมต้องส่งเสริมการเลิกสูบบุหรี่ในงานประจำ หน้าที่ความรับผิดชอบ กฎหมายคุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ ประเทศไทย จรรยาปฏิบัติสำหรับบุคลากรสาธารณสุข ในการควบคุมยาสูบ องค์การอนามัยโลก ประกาศขององค์การอนามัยโลก กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

หน้าที่ ความรับผิดชอบ หน้าที่คือ? ความรับผิดชอบคือ? กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

กฎหมายคุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ ประเทศไทย ประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 19 ( 2553) ให้โรงพยาบาลทุกระดับเป็นเขตปลอดบุหรี่ทั้งหมด 26 มิย 2553 มีผลบังคับใช้กฎหมาย กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

จรรยาปฏิบัติสำหรับบุคลากรสาธารณสุข ในการควบคุมยาสูบ เน้น จรรยาปฏิบัติสำหรับบุคลากรสาธารณสุข ในการควบคุมยาสูบ เน้น 5. ซักประวัติการบริโภคยาสูบและการได้รับควัน ยาสูบของผู้ป่วย แนะนำวิธีเลิกสูบโดย สอดแทรกอยู่ในการปฏิบัติงานประจำ กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

องค์การอนามัยโลกประกาศ ให้การเสพติดยาสูบ/บุหรี่ เป็นโรคเรื้อรังอย่างหนึ่งที่ต้องให้การบำบัดรักษา กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

Dx: Tobacco Dependence “Tobacco dependence is a chronic relapsing disease that often requires repeated intervention” Dx: Tobacco Dependence ICD-10 rev: F-17

READINESS to make a quit attempt The 5 A ถนนปชต ถ ASK about tobacco USE นน ADVISE tobacco users to QUIT ป ASSESS READINESS to make a quit attempt As a final review, the 5 A’s are as follows: Ask about tobacco use. Advise tobacco users to quit. Assess readiness to make a quit attempt. Assist with the quit attempt. Arrange follow-up care. Each of these is a key component of comprehensive tobacco cessation counseling interventions. ช ASSIST with the QUIT ATTEMPT ต ARRANGE FOLLOW-UP care www.surgeongeneral.gov/tobacco/

คำขวัญหนึ่งของป้ายเตือน รพ.ห้วยแถลง โคราช 1 คนสูบ 100 คนเจ็บ คำขวัญหนึ่งของป้ายเตือน รพ.ห้วยแถลง โคราช

นางสุพฤติยา เริงจรัล RN รพ พุทไธสง ช่วยผู้ป่วยหนึ่งคน ช่วยได้ หนึ่งชีวิต ช่วยคนเลิกบุหรี่หนึ่งคน ช่วยได้หลายชีวิต

Counseling Technique: 5A Smoker Advise to quit Assess willingness to quit ควรถามพฤติกรรมการสูบบุหรี่กับทุกคน หรือ เฉพาะผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หรือ เฉพาะผู้ป่วยบางกลุ่ม Ask about smoking status Willing Unwilling ควรแนะนำให้ทุกคนที่สูบบุหรี่ เลิกสูบบุหรี่ ทันที Non-smoker Assist 5R Advise to remain Arrange follow-up ภก.ธนรัตน์ สรวลเสน่ห์

ถามประวัติการสูบบุหรี่ ถ A1 - ถามผู้รับบริการทุกคน - สูบบุหรี่หรือเปล่า - ไม่สูบ – ชมเชย ถามอีกนิด มีคนในบ้านหรือผู้ใกล้ชิดสูบ หรือเปล่า? ไม่มี - ดีใจด้วย

ถาม เคยสูบ – ชมเชย ให้กำลังใจ เสริมพลัง ป้องกันการกลับไปสูบอีก - สูบ – แนะนำให้เลิก (นน)

สิ่งที่ต้องมีในโครงสร้าง ถ A1 แบบบันทึก สัญญลักษณ์

การถามซ้ำๆ เป็นการสร้างแรงจูงใจอย่างหนึ่ง การถามซ้ำๆ เป็นการสร้างแรงจูงใจอย่างหนึ่ง

Advise แนะนำให้เลิกสูบ (นน) A2 ชัดเจน หนักแน่น เชื่อมโยงเข้าสู่สภาพของคนสูบ

ชัดเจน (Clear) ควรจะเลิกได้แล้ว........ เลิกเถอะ...... ถ้าอยากเลิกสูบ....... ลองเลิกดูนะ.... สื่อต่างๆ แผ่นพับ ฯลฯ กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

หนักแน่นและเชื่อมโยง Strong & Personalised เน้นเข้าสู่สภาพของคนสูบแต่ละคน เป้าหมายเพื่อสร้างความตระหนักและเกิด แรงจูงใจ Proximal & Relevant เป็นสิ่งที่เกิดขึ้น กระทบตัวเขาหรือคนใกล้ชิดอย่างชัดเจน ภาพลักษณ์ สุขภาพ เศรษฐกิจ คุณภาพชีวิต กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

การสูบบุหรี่กับพฤติกรรมเสี่ยงของนักเรียน-นักศึกษา 4,645 ตัวอย่างจาก 25 จังหวัดทั่วประเทศ สูบ (%) ไม่สูบ (%) สูบ : ไม่สูบ 1.การดื่มเหล้า 88.5 25.2 3.5 2.การเที่ยวสถานบันเทิง 68.1 21.3 3.0 3.การเล่นการพนัน 40.7 12.4 3.3 4.การเสพยาเสพติด 10.6 0.6 17.6 5.การมีเพศสัมพันธ์ 67.4 18.0 3.7 สำนักงานวิจัยเอแบคโพลล์ 2547

หนักแน่นและเชื่อมโยง Strong & Personalised คุณควรเลิกสูบบุหรี่ เพราะ..... การสูบบุหรี่เป็นตัวเสริมให้โรคของคุณ..... ถือโอกาสนี้เลิกสูบบุหรี่เถอะค่ะ เพราะ..... เลิกเถอะ อายุก็ยังไม่มากรีบเลิกก่อนที่จะติดมาก.... ที่ทำงานห้ามสูบหรือเปล่า ถ้าอยากเลิก.... กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

สิ่งที่ต้องมีในโครงสร้าง นน A2 บริการเลิกบุหรี่ –ระบบบริการ one stop service คลินิก/ ร้านยา/ สายปลอดบุหรี่ - เอกสารความรู้ แผนปลิวประชาสัมพันธ์ - การประชาสัมพันธ์ทุกรูปแบบเกี่ยวกับพิษภัยของ บุหรี่ วิธีเลิก บริการช่วยให้เลิก และขอความร่วมมือไม่ สูบในที่ห้ามสูบ กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

การถาม/แนะนำ ซ้ำๆเป็นการสร้าง แรงจูงใจอย่างหนึ่ง การสร้างแรงจูงใจเป็นหัวใจสำคัญของ การลงมือเลิก

Counseling Technique: 5A Smoker Advise to quit Assess willingness to quit ควรถามพฤติกรรมการสูบบุหรี่กับทุกคน หรือ เฉพาะผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หรือ เฉพาะผู้ป่วยบางกลุ่ม Ask about smoking status Willing Unwilling ควรแนะนำให้ทุกคนที่สูบบุหรี่ เลิกสูบบุหรี่ ทันที Non-smoker Assist 5R Advise to remain Arrange follow-up ภก.ธนรัตน์ สรวลเสน่ห์

ต้องการเลิก – ประเมิน A3 ไม่ต้องการเลิก ลังเลใจ – 5 R กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

Assess ประเมิน ป A3 ประเมินลักษณะพื้นฐานของการติดบุหรี่ ประเมินความรุนแรงของการติดบุหรี่ ประเมินสิ่งกระตุ้นที่ทำให้สูบบุหรี่ ประเมินความเต็มใจ/ความพร้อมในการเลิก บุหรี่

1. ประเมินลักษณะพื้นฐาน อายุ เพศ อาชีพ ศาสนา สูบวันละกี่มวน สูบมานานกี่ปี เคยเลิกมาแล้วกี่ครั้ง เลิกได้นานที่สุดเท่าไร เลิกวิธีไหน มีอาการอย่างไร แก้อย่างไร เลิกครั้งสุดท้ายเมื่อไร / เหตุผลที่เลิก กลับไปสูบเพราะอะไร สูบตอนไหนบ้าง โรคประจำตัว กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

2. การประเมินความรุนแรงของการติดนิโคติน Fagerstrom Test for Nicotine Dependence (FTND)

Fagerstrom test วัดระดับการติดนิโคติน หลังตื่นนอนตอนเช้าคุณสูบบุหรี่มวนแรกเมื่อไร? ภายใน 5 นาที หลังตื่นนอน : 3 คะแนน 6 – 30 นาที หลังตื่นนอน : 2 คะแนน 31–60 นาที หลังตื่นนอน : 1 คะแนน หลัง 60 นาทีขึ้นไป : 0 คะแนน คุณรู้สึกอึดอัดใจไหมเมื่อต้องอยู่ในเขตปลอดบุหรี่ เช่นห้องประชุม รถเมล์ ร้านอาหาร ? ใช่ : 1 คะแนน ไม่ใช่ : 0 คะแนน

Fagerstrom test วัดระดับการติดนิโคติน บุหรี่มวนไหนที่คุณไม่อยากเลิกมากที่สุด? มวนแรกในตอนเช้า : 1 คะแนน มวนอื่นๆระหว่างวัน : 0 คะแนน โดยปกติคุณสูบบุหรี่วันละกี่มวน? มากกว่า 30 มวนขึ้นไป : 3 คะแนน 21–30 มวนต่อวัน : 2 คะแนน 11–20 มวนต่อวัน : 1 คะแนน 10 มวนหรือน้อยกว่า : 0 คะแนน

Fagerstrom test วัดระดับการติดนิโคติน คุณสูบบุหรี่จัดภายในชั่วโมงแรกหลังตื่นนอน (สูบมากกว่าช่วงเวลาอื่นๆทั้งวัน)? ใช่ : 1 คะแนน ไม่ใช่ : 0 คะแนน แม้คุณจะนอนป่วยอยู่ในโรงพยาบาลคุณก็ยัง สูบ?

อ่านผลคะแนน คะแนนรวม 0-3 ไม่ติดสารนิโคติน 4-5 ติดระดับปานกลาง 4-5 ติดระดับปานกลาง 6-7 ติดระดับปานกลางและมีแนวโน้มที่จะติด ระดับสูง 8-9 ติดระดับสูงมาก 10 ติดในระดับสูงสุด

การติดยาสูบ ทางพฤติกรรม (ติดความเคยชิน) ภาวะจิตใจ/อารมณ์/สังคม(ติดใจ) ท่าทางการสูบยาสูบ/ความเกี่ยวพัน ภาวะจิตใจ/อารมณ์/สังคม(ติดใจ) ความเครียด ความสุขที่ได้จากการสูบยาสูบ ทางร่างกาย (ติดนิโคติน) (ติดกาย) คนสูบ ทางร่างกาย พฤติกรรม ภาวะจิตใจ

การติดบุหรี่เป็น Bio – Psycho – Social การเลิกบุหรี่ก็ต้อง ช่วยให้ครอบคลุม กาย จิต สังคม Bio – Psycho – Social

ประเมินการเสพติดทางอารมณ์ /ความ เคยชิน ชอบสูบบุหรี่ในช่วงเวลาใด - หลังตื่นนอนตอนเช้า - ขณะเข้าห้องน้ำ - หลังรับประทานอาหารเสร็จ - ดื่มกาแฟ - ขณะดื่มสุรา กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

- เมื่ออยู่กับกลุ่มเพื่อน - เวลาเครียด ใช้ความคิด - หงุดหงิดหรืออารมณ์เสีย ขณะขับรถ ก่อนเข้านอน - เหงาๆ / อยู่ว่างๆ / เมื่อรู้สึกผ่อนคลาย กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

3. ประเมินสิ่งกระตุ้นที่ทำให้สูบบุหรี่ อุปสรรคที่ทำให้เลิกยาก กาแฟ เหล้า สถานที่ กลุ่มเพื่อน / ผู้ร่วมงาน คนในบ้าน กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

4. การประเมินความพร้อมในการเลิกบุหรี่ Transtheoretical (TTM) model of change 5 ระยะ Behavior change: The transtheoretical model of health behavior change JO Prochaska, WF Velicer - American Journal of Health Promotion, 1997 - apt.allenpress.com

ระยะการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เลิกได้ ลงมือเลิก พร้อมเลิก คิดแต่ลังเล Smoker Ex-smoker ไม่คิดเลิก Fava JL et al. Addict Behav1995;20:189-203

ระยะการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ไม่คิดเลิกภายใน 6 เดือนข้างหน้า (pre-contemplation) - จิตสำนึก ระทึกใจ (ถ นน) คิดเลิกภายใน 6 เดือนช้างหน้า (Contemplation) –จูงใจ คุยเหตุผล (นน ป 5R) พร้อมเลิกหรือเคยลงมือเลิก ภายใน 1 เดือน (Preparation) – บอกวิธีเลิก (ป ช) ลงมือเลิกได้ไม่เกิน 6 เดือน (Action) – ประคับประคอง เสริม แรงจูงใจ (ต) เลิกได้เกิน 6 เดือน – 1 ปี (maintenance)– ประคับประคอง เสริม การหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ทำให้อยากสูบ/ ประมาท กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

ไม่อยากเลิกใช้การสร้างแรงจูงใจ 5R

5 R Relevant ให้คนสูบบอกถึงการเลิกสูบที่ถึงเชื่อมโยงเข้ากับ สภาพผู้ป่วยและครอบครัวในปัจจุบัน Risk ให้คนสูบบอกผลเสียที่อาจเกิดขึ้นทั้งตนเองและผู้ ใกล้ชิด Rewards ให้คนสูบบอกประโยชน์ที่จะได้จากการเลิกสูบบุหรี่ Roadblocks ให้คนสูบบอกอุปสรรคในการเลิกสูบของเขา Repetition กระตุ้น ให้แรงจูงใจซ้ำอย่างต่อเนื่อง

Relevant เชื่อมโยงเข้ากับสภาพผู้ป่วยและครอบครัวในปัจจุบัน สุขภาพ –ปากและฟัน ความเจ็บป่วยอื่นๆ ปัจจุบันของคนสูบ (คิดว่ามีสาเหตุมาจากบุหรี่ หรือไม่) เศรษฐกิจของคนสูบที่ส่งผลกระทบจากความ เจ็บป่วยของคนสูบหรือคนในครอบครัว ฐานะ ของตน สังคม – สถานที่ทำงาน – เพื่อนร่วมงาน - การ ยอมรับ

Risk ผลเสียที่อาจเกิดขึ้นทั้งตนเองและผู้ใกล้ชิด สุขภาพ โรคที่เป็นอยู่ของตนเอง /ผู้ใกล้ชิด เป็น ผลมาจากควันบุหรี่ ทำให้ - หายช้า เป็นซ้ำๆ - รุนแรงขึ้น - ภาวะแทรกซ้อนมากขึ้น – รักษา ยากขึ้น - สุขภาพที่ยังไม่เสีย จะมีความเสี่ยง เศรษฐกิจ ค่าใช้จ่ายการเดินทาง - ขาดรายได้ - เงินที่เสียไปกับบุหรี่หากยังสูบต่อ ภาพลักษณ์ สังคม อนาคต – โอกาสหางาน – ก้าวหน้าในการงาน สุขภาพจิต – ตนเอง - คนใกล้ชิด เสียอย่างไร

Rewardsประโยชน์ที่จะได้จากการเลิกสูบบุหรี่ สุขภาพทั้งของคนสูบและคนใกล้ชิด - จะไม่เสี่ยง – จะลดความเสี่ยง - จะดีขึ้น – ปาก ฟัน สะอาดขึ้น เคี้ยวอาหารอร่อยขึ้น ไม่เสียวฟัน ฯลฯ เศรษฐกิจ – เงินที่จะมีเมื่อเลิกได้ – เงินที่ไม่ต้องเสีย ไปกับความเจ็บป่วยที่ป้องกันได้ สังคม – เข้าสังคมอย่างสบายใจ เข้าร้านอาหารไม่ ต้องกังวลใจ สุขภาพจิต – ตนเอง - คนใกล้ชิด ดีอย่างไร

Roadblocks อุปสรรคในการเลิกสูบของเขา เพราะอะไรจึงยังไม่เลิก – เลิกไม่ได้ – ความ เชื่อ – ความรู้ เกี่ยวกับการสูบบุหรี่ เคยเลิกมาก่อนมีอาการอย่างไร เพราะอะไรจึงกลับไปสูบอีก -ให้ความรู้พฤติกรรมบำบัดและยาบำบัดเพื่อช่วย ให้เลิกบุหรี่ง่ายขึ้น ที่เหมาะสมกับคนสูบแต่ละ คน

Repetition กระตุ้น ให้แรงจูงใจซ้ำอย่างต่อเนื่อง ยังไม่เลิก – ถ้าอยากเลิกมาคุยกันได้ที่ ....... - เพราะเหตุใดจึงยังไม่เลิก – ย้อนไปสร้างแรงจูงใจ ใหม่ทุกครั้ง เลิกไม่ได้ซักที – เพราะเหตุใด หาสาเหตุและกระตุ้นซ้ำ กลับไปสูบอีกแล้ว หลายรอบแล้ว ให้กำลังใจ ประคับประคองและเริ่มสร้างแรงจูงใจ หาสาเหตุของ อุปสรรค กระตุ้นให้พยายามซ้ำ ไม่มีคำว่าล้มเหลวหาก คุณยังพยายามต่อไป เรายินดีที่จะช่วยเสมอ เลิกได้แล้ว – ยินดี อย่ากลับไปสูบอีก

สิ่งที่ต้องมีในโครงสร้าง ป A3 แบบบันทึกประวัติ/การประเมิน (ที่สั้นและครอบคลุมข้อมูลที่จำเป็น สะดวก/ ง่าย ต่อการบันทึกและรวบรวมข้อมูล

Assist ช่วยให้เลิก ช A4 แนะนำวิธีเลิกที่เหมาะกับผู้สูบ ช่วยเหลือประคับประคอง ส่งต่อตามความเหมาะสม กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

5D Delay – 3-5 นาที Deep breath – 2-3 ครั้ง Drink water อย่างน้อย 2 ลิตร/วัน อมน้ำ จิบน้ำ อาบน้ำ เช็ดหน้า/ตัว Do something else – ขยัน งานยุ่ง มุ่งออกกำลังกาย Destination – ไม่สูบแล้ว / แรงจูงใจ อ้างอิง 4D จาก NSW AU ส่วน D ที่ 5 อ.กรองจิต คิดเอง กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

เมื่อรู้สึกอยากสูบบุหรี่ อย่าสูบบุหรี่ทันทีที่อยากสูบ ยืดเวลาออกไป 3-5 นาที สูดลมหายใจเข้าออกลึกๆ และช้าๆ ทำเช่นนี้ 2-3 ครั้ง จะช่วยให้ผ่อนคลาย ดื่มน้ำ อาบน้ำ อมน้ำหรือล้างหน้า เช็ดตัว เมื่อรู้สึก หงุดหงิดกระวนกระวาย ทำกิจกรรมอื่น เพื่อเบี่ยงเบนความสนใจ ขยัน งานยุ่ง มุ่ง ออกกำลังกาย บอกตัวเอง เสมอว่าตั้งใจเลิกสูบแน่นอนแล้ว คิดถึง แรงจูงใจ คิดถึงเงินที่สามารถประหยัดได้ คิดถึงเงิน ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

ลักษณะการช่วยให้เลิก คลินิกเลิกบุหรี่ ให้คำปรึกษาพฤติกรรมบำบัด เต็มรูปแบบ ผู้ป่วยใน - ให้การประคับประคองตามอาการ ผู้ป่วยนอก ทำ Brief advice ( A1,A2,A3,A4) ประมาณ 1-3- 5 นาที ก็ช่วยให้ผู้รับบริการ ตัดสินใจเลิกมากขึ้นได้ และได้ Quit Date, Quit Rate เพิ่มขึ้น ส่งต่อให้ อสม.ติดตาม A5

Arrange ติดตาม ต A5 หัวใจสำคัญของการเพิ่มอัตราการเลิกสูบบุหรี่ได้ และ การไม่กลับไปสูบอีก (การติดตามในวันที่ 3,7,14,30 วัน 3,6,12 เดือนนับ จากวันลงมือเลิกบุหรี่) รวม 8 ครั้ง อัตราการเลิกได้สูงขึ้น 52% กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

Kathleen A. O'Connell et al ทำวิจัยติดตามดูความรู้สึกอยากสูบในคนที่กำลังเลิกสูบ จำนวน 36 คน โดยให้บันทึกความรู้สึกอยากสูบ 3 วัน ติดต่อกันในระยะ 10 วันแรกที่กำลังเลิกบุหรี่ พบว่า ความรู้สึกอยากสูบเกิดขึ้นเฉลี่ย 3.6 ครั้งต่อวัน การอดทนเพื่อไม่สูบ พบว่า 67% ใช้การปรับเปลี่ยน พฤติกรรมทำอย่างอื่นแทนการสูบ และ 33% ใช้ ความคิดเตือนตนว่าไม่สูบ

Average number of Craves Per Day 8 7 6 5 4 3 2 1 Day 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 72 Hours craves No crave episode will last longer than 3 mins but time disorientation is very real so keep a clock handy Source: Kathleen A. O'Connell et al coping in real time, Research in Nursing&Health,1998 ;WhyQuit.com

การวางแผนติดตาม สามารถกำหนดวันติดตามตามความเหมาะสม ดำเนินการตามขอบเขตความสามารถที่มี ต้องจัดระบบให้ได้แล้วจะง่าย ตามไม่ได้จะทำอย่างไร? ตามแล้วบอกว่าเลิกได้ เชื่อหรือไม่? หากกำหนด Quit date ที่ไม่ใช่ภายในวันนั้น จะตาม อย่างไร?

ติดตามอะไร? ประเมินความก้าวหน้า พูดคุยเกี่ยวกับอาการอยากบุหรี่ที่เกิดขึ้นและ วิธีแก้ไข ประเมินความสามารถในการแก้ปัญหา ตรวจสอบการกลับไปสูบอีก ทบทวนแผนถ้ากลับไปสูบอีก ทบทวนแรงจูงใจ ความมั่นใจ สร้างภาพลักษณ์ของคนไม่สูบบุหรี่ กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่

สิ่งที่ต้องมีในโครงสร้าง ต A5 แบบบันทึกผลการติดตาม หากอยู่กับแบบประเมินจะดีมาก เพื่อทราบ ประวัติของคนสูบ การพูดคุยเมื่อติดตาม ประคับประคองจะตรงประเด็น

ตัวอย่าง ครั้งที่ วันที่ ผลการคุย หมายเหตุ ไม่พบ 3 วันก่อนวันกำหนดเลิก 3 -7 วันหลังเลิก 14 วันหลังเลิก 1 เดือน 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน

ติดตาม....จะพูดอย่างไร เมื่อพบว่า เลิกได้ เผลอสูบไป ๑ มวน หรือ ๑ วัน กลับไปสูบอีก ยังเลิกไม่ได้

ความสำเร็จ ดูที่อะไร? ติดตามไม่ได้ ไม่กลับมา ? ตอบว่าเลิกไม่ได้ ไม่ต้องการเลิก?

ความสำเร็จดูที่ไหน? อย่าดูที่เลิกได้หรือไม่ได้ ให้ดูที่แต่ละขั้นตอน ที่ได้สร้างความ เข้าใจ และความรู้สึกดีๆ ที่มีต่อกัน

A5 ชุมชน OPD IPD ไม่ ไม่ อยากเลิก อยากเลิก A5 A5 เลิกได้ เลิกไม่ได้ คลินิก A3,A4 IPD 1-2 ส 1-3- 6-12 ด ถ นน A1,A2 ถ นน A1,A2 ถ นน ป A1,A2, A3 ป จูงใจ A3,5R โรงเรียน วัด ชุมชน 5R ไม่ ไม่ อยากเลิก จูงใจ 5R อยากเลิก A4 A4 (routine work) A5 A5 A5 เลิกได้ เลิกไม่ได้ เลิกได้ เลิกไม่ได้ เลิกได้ เลิกไม่ได้

บุคลากรสาธารณสุขสามารถช่วยให้คนเลิกสูบบุหรี่ได้ วิธี ให้เลิกเอง ให้คำปรึกษาปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ให้ยา ให้ยาและให้คำปรึกษา BC อัตราเลิกได้นาน 1 ปี 7% 10-30% 10-20% 30-40%

การได้รับการถามประวัติ และแนะนำให้เลิกบุหรี่ โดยบุคลากรสาธารณสุข การได้รับการถามประวัติ และแนะนำให้เลิกบุหรี่ โดยบุคลากรสาธารณสุข พ.ศ. การได้รับการ ถามประวัติ เคยได้รับการแนะนำให้เลิกบุหรี่ 2552 60.2% 50% 2554 65% 55% GATS 2552, 2554

5 ยักษ์ใจดี ยิ้มแย้ม ทักทาย ยกย่อง เป็นคนดี ยืนหยัด ในหลักการเลิก ยืดหยุ่น ให้ทางเลือก เยือกเย็น อดทน ให้กำลังใจสม่ำเสมอ

ด้วยความปารถนาดี จากมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่