พฤติกรรมของสัตว์ (behavior)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
คุณสมบัติของสิ่งมีชีวิต
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
ชุมชนปลอดภัย.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม
สมัยกลาง (EARLY MEDIVAL)
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
Scene Design and Lighting Week1-3
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่ บทที่ 11 การจูงใจ (MOTIVATION)
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
แผ่นดินไหว.
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
SMS News Distribute Service
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
บทที่ 10 พฤติกรรม (Behavior) supreecha swpy 2006.
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
รายวิชา การบริหารการศึกษา
พฤติกรรมของสัตว์ กลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ ประเภทพฤติกรรมของสัตว์
Catering SER 3102 วิชาการจัดเลี้ยง.
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
ระบบย่อยอาหาร.
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
2. Reflex :-  พบในสัตว์ที่มี CNS  flat worm
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
ศาสนาเชน Jainism.
ยิ้มก่อนเรียน.
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พฤติกรรมของสัตว์ (behavior)

* โดยมีระบบประสาทและฮอร์โมนเป็นตัวควบคุม พฤติกรรม (Behavior) การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม ทั้งภายนอกร่างกาย และภายในร่างกายเพื่อการอยู่รอด Gene Behavior Environment * โดยมีระบบประสาทและฮอร์โมนเป็นตัวควบคุม

สรุป พฤติกรรมของสัตว์เป็นผลจากการทำงานร่วมกันระหว่างปัจจัยทางพันธุกรรมและสภาพแวดล้อม Gene - ควบคุมพฤติกรรมซึ่งพัฒนาให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมโดย Natural selection - ควบคุมระดับการเจริญของ ระบบประสาท ฮอร์โมน กล้ามเนื้อ ตัวอย่าง : งู (Garter snake) - พวกอยู่บนบกไม่กินทาก - พวกอยู่ใกล้ชายฝั่งกินทาก

กลไกการเกิดพฤติกรรม

วิธีการศึกษา วิธีการทางสรีรวิทยา(physiological approch) วิธีการทางจิตวิทยา(psychological approch)

พฤติกรรมจำแนกได้ออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ (โดยแสดงพฤติกรรมออกมาได้ในช่วงชีวิตของสิ่งมีชีวิต) 1. Innate Behavior : พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิดและไม่เปลี่ยนแปลง 2. Learned Behavior : พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ปรับเปลี่ยนได้ขึ้นกับ Experience ในช่วงชีวิต

(Autometic responses to the environment) Innate Behavior (Autometic responses to the environment) เป็นพฤติกรรมง่าย ๆ มีลักษณะเฉพาะตัวที่ใช้ในการตอบสนองต่อสิ่งเร้าชนิดใดชนิดหนึ่ง และพฤติกรรมนี้สัตว์ใน species เดียวกันจะตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างหนึ่งเหมือนกัน (Fixed - action pattern) ตัวอย่าง : การกลืนอาหาร, การตวัดลิ้นจับแมลง - พฤติกรรมนี้ได้มาจากกรรมพันธุ์เท่านั้น ไม่จำเป็นต้อง เรียนรู้มาก่อน - พบในสัตว์ชั้นต่ำซึ่งมีระบบประสาทยังไม่เจริญดี เช่น Protozoa

1. พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิด (inherited behavior) 1.1 พฤติกรรมแบบไคนีซิส ( Kinesis )

* เชื่อว่า ไคนีซีส พัฒนาการเป็นพฤติกรรมการลองผิดลองถูก 1.1 Kinesis พฤติกรรมการเคลื่อนที่โดยตอบสนองต่อสิ่งเร้าด้วยการเคลื่อนที่หนีหรือเข้าหาโดยไม่มีทิศทาง การเคลื่อนที่ของพารามีเซียมหนีออกจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ พฤติกรรมการเคลื่อนที่ของแมลงสาบในที่โล่ง พฤติกรรมการเคลื่อนที่ของตัวกุ้งเต้น(wood lice)เมื่อความชื้นน้อยลง การเคลื่อนที่เข้าหาแสงของยูกลีนา * เชื่อว่า ไคนีซีส พัฒนาการเป็นพฤติกรรมการลองผิดลองถูก

1.2 พฤติกรรมแบบแทกซิส (Taxis)

1.2 Taxis พฤติกรรมการเคลื่อนที่เข้าหาหรือออกจากสิ่งเร้า อย่างมีทิศทางที่แน่นอน เช่น หนอนแมลงวัน, เห็บ, ยุง - สัตว์จะต้องมี Sensory receptor ที่เหมาะสมกับสิ่งเร้า - ช่วยให้ให้สัตว์หาตำแหน่งของบ้านได้ถูกต้อง การบินเข้าหาแสงไฟของแมลงดานาในเวลากลางคืน การเคลื่อนที่หนีแสงสว่าง แต่เข้าหาความมืดของหนอนแมลงวัน การเคลื่อนที่เข้าหาแสงสว่างของเห็บ(Ixodes ricinus) การเคลื่อนที่ของพลานาเรียเข้าหาแสงและเข้าหาอาหาร การเคลื่อนที่เข้าหาหรือออกจากวัตถุ โดยใช้แสงเป็นเข็มทิศ ยกตัวอย่างเช่นผึ้ง มด โดยใช้ดวงอาทิตย์เป็นเข็มทิศ

1.3 พฤติกรรมแบบรีเฟลกซ์ ( Reflex )

1.3 พฤติกรรมแบบรีแฟลกซ์ (Reflex arcs) ตอบสนองสิ่งเร้า รวดเร็ว หลีกเลี่ยงอันตราย ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย เกี่ยวข้องกับระบบประสาทส่วนกลาง การกระพริบตา การกระตุกเท้าหนีตะปู การกระตุกหัวเข่า การบิดตัวหนีปลายเข็มของไส้เดือน การไอการจามของคน สาระสำคัญ พบในสัตว์แทบทุกชนิด รวมทั้งคนด้วย พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาท ไม่ต้องมีการเรียนรู้

1.4 พฤติกรรมแบบรีเฟล็กซ์ต่อเนื่อง (Chain of Reflexes) รังมดแดง การทำรังของแตน ทารกดูดนมแม่  ใยแมงมุม กวางอพยพหนีอากาศหนาว รังนก

1.4 พฤติกรรมแบบรีแฟลกต่อเนื่อง(chain of reflexes) มีแบบแผนแน่นอนในสัตว์แต่ละสปีชีส์ มีผลมาจากกรรมพันธุ์ มากกว่าสิ่งแวดล้อม เกิดจาก simple reflex + simple reflex * เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากรีแฟลกซ์สามารถไปกระตุ้นรีแฟลกซ์อื่นๆของระบบประสาทให้ทำงานทำให้เกิดพฤติกรรย่อยๆหลายพฤติกรรม

การสร้างรังของนก การชักใยของแมงมุม การแทะมะพร้าวของกระรอก การฟักไข่และการเลี้ยงลูกอ่อนของไก่ พฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีของสัตว์ การปกป้องอาณาบริเวณที่ได้รับการคุ้มครองของกิ้งก่า การสร้างปลอกหุ้มไขของแมงมุม การสร้างรังและหาอาหารมาไว้ในรังของพวกต่อและหมาล้า การดูดนมของทารกการค้นหาหัวนมของแม่และการดูดนมของลูกปลาวาฬ การเต้นรำของผึ้ง การนำไข่กลับรังของห่านเกรย์แลก การจำศีลของสัตว์ เช่น กบและหมีขั้วโลก และการอพยพย้ายถิ่นของสัตว์ การกำสิ่งของในมือเด็ก

โอเรียนเตชั่น (orientation) พฤติกรรมที่สัตว์ตอบสนองต่อปัจจัยทางกายภาพที่สอดคล้องกับสภาวะแวดล้อม ที่เหมาะสมกับการดำเนินชีวิต ปลายว่ายน้ำตั้งฉากกับดวงอาทิตย์เพื่อป้องกันการมองเห็นของศัตรูที่อยู่ต่ำกว่า

Learned Behavior Learning เป็นการเพิ่ม fitness (การอยู่รอดและสืบพันธุ์) ให้แก่สัตว์ พฤติกรรมที่ต้องอาศัยประสบการณ์ที่มีในอดีตมาปรับปรุงในพฤติกรรมที่เกิดขึ้น แบ่งออกได้หลายแบบ ดังนี้

2.1 พฤติกรรมการเรียนรู้แบบแฮบบิชูเอชัน ( Habituation ) 2. พฤติกรรมการเรียนรู้ (Learned behavior) 2.1 พฤติกรรมการเรียนรู้แบบแฮบบิชูเอชัน ( Habituation )

2.1 Habituation (ความเคยชิน) เป็นการลดภาระการตอบสนองของสัตว์ ทำให้ประหยัดพลังงาน พฤติกรรมที่สัตว์เพิกเฉยที่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่ มิได้มีผลต่อการดำรงชีวิตเมื่อได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้านั้นเป็นเวลานาน

การหลบของลูกนก ต่อสิ่งที่บินอยู่เหนือหัว การหนีของกา ที่มีต่อหุ่นไล่กา กบที่เลี้ยงไว้ในบ่อ สุนัขที่เลี้ยงไว้ในบ้าน ที่ใกล้สนามบิน ในเวลาสงคราม เมื่อมีการเปิดสัญญานเตือนภัย นกที่สร้างรังอยู่ริมถนน หรือหากินตามแหล่งถนน การฝ่าสัญญาไฟแดงของนักขับรถ การกินอาหารสุกๆ ดิบๆ การที่คางคกตวัดลิ้นจับแมลงทุกชนิดที่ผ่านหน้า การหนีเรียน การโดดเรียน การนอนในเวลาเรียน การหนีเที่ยว การโกหกครู/อาจารย์

2.2 พฤติกรรมการเรียนรู้แบบฝังใจ ( Imprinting ) ลูกเป็ดเดินตามแม่ตนเองตามธรรมชาติ

2.2 Imprinting (ความฝังใจ): การเรียนรู้ที่จำกัดโดยเวลา เป็นพฤติกรรมที่สัตว์สามารถจดจำและผูกพันกับแม่หรือพ่อได้ พฤติกรรมความฝังใจนี้จะเป็นการทำงานร่วมกันระหว่างกรรมพันธุ์และการเรียนรู้ โดยกรรมพันธุ์จะเป็นตัวกำหนดช่วงเวลาที่จำเป็น ซึ่งจะเกิดความฝังใจขึ้น ส่วนการเรียนรู้ความผูกพันระหว่าง สัตว์กับพ่อแม่หรือวัตถุที่จะทำให้เกิดความฝังใจขึ้น

การฝังใจของลูกสัตว์ที่คิดว่าคนคือพ่อแม่ของตนจึงเดินตามพวกเขาตลอดเวลา

การเดินตามวัตถุแรกที่เคลื่อนที่ได้และส่งเสียงได้ของลูกสัตว์ เช่น ลูกนก ลูกห่าน ลูกวัว ลูกควาย หลังจากฝักออกจากไข่หรือหลังคลอดแล้ว และเดินได้แล้ว การฝังใจต่อกลิ่นต่อพืชชนิดหนึ่งที่แมลงหวี่ฟักออกจากไข่ที่แม่แมลงหวี่วางไข่ทิ้งไว้ การฝังใจที่เกิดจากการได้ยินเสียงของลูกเป็ด การฝังใจที่เกิดจากกลิ่นในปลาแซลมอน การผสมพันธุ์ของสัตว์ในสปีชีส์เดียวกัน การเกี้ยวพาราสีของนกในต่างสปีชีส์ การเดินไปกอดวัตถุที่อ่อนนุ่มและมีขวดนมของลูกลิงชิมแพนซี

2.3 พฤติกรรมการเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข ( Conditioning ) อีวาน พาฟลอฟ (Ivan Pavlov)  การทดลองพฤติกรรมการเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข

2.3 Conditioning (การเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข) เป็นพฤติกรรมที่สิ่งเร้าตัวหนึ่งเข้าแทนสิ่งเร้าที่ แท้จริง (สิ่งเร้าเดิม) แล้วชักนำให้เกิดการตอบสนอง ชนิดเดียวกัน ตัวอย่าง หมา + เนื้อ( Stimulus I ) น้ำลายไหล หมา + เสียงกระดิ่ง + เนื้อ( Stimulus II ) น้ำลายไหล หมา + เสียงกระดิ่ง น้ำลายไหล

พฤติกรรมการมีเงื่อนไข ในการตอบสนองของสุนัข supreecha swpy 2006

พฤติกรรมการมีเงื่อนไข ในการกดบาร์ของหนูเพื่อได้อาหาร supreecha swpy 2006

พฤติกรรมการมีเงื่อนไข ในการกินแมลงปอ แมลงรอบเบอร์และผึ้ง

ภาพ ก เมื่อได้รับแสงพลานาเรียยืดตัวออก ภาพ ข เมื่อกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าพลานาเรียหดตัวสั้นเข้า ภาพ ค เมื่อให้แสงแล้วกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าสลับกัน ภาพ ง เมื่อให้แสงและไม่กระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้า พลานาเรียจะหดตัว

การที่เด็กไม่กินผักสีเขียวหั่นฝอยที่โรยบนอาหาร เพราะคิดว่าเป็นต้นหอมที่เขาไม่กิน การฝึกสัตว์ให้แสดงพฤติกรรมที่เราต้องการ โดยการให้รางวัลและการลงโทษ การเห็นภาพวิวทิวทัศน์แล้วทำให้เกิดความสุข การได้ยินคำว่า มะม่วง หรือ มะยมแล้วทำให้เกิดน้ำลายไหล การฝึกหนูให้กระโดดหนีเมื่อหลอดไฟสว่าง

2.4 พฤติกรรมการเรียนรู้แบบลองผิดลองถูก (Trial and Error)

2.4 Trial and Error : (การลองผิดลองถูก) ซับซ้อนมากกว่า Habituation เป็นพฤติกรรมที่สัตว์แสดงออกโดยบังเอิญ แล้วถ้าได้รางวัลก็จะชักนำให้ทำพฤติกรรมเช่นนั้นอีก : การตอบสนอง (Response) ถูกต้องทำให้อยู่รอดและประสบผลสำเร็จในการสืบพันธุ์ - Reward (ให้รางวัล) - Punishment (การลงโทษ) การเคลื่อนที่แบบลองผิดลองถูกของไส้เดือน ในกล่องพลาสติกที่มีความมืดและชื้น การเคลื่อนที่ของมดในทางวกวน การเคลื่อนที่ของหนูในเขาวงกต ความพยายามของสุนัขที่จะไปกินอาหาร โดยมีเชือกอ้อมเสาไม้อยู่

2.5 พฤติกรรมการเรียนรู้แบบใช้เหตุผล ( Reasoning )

5. Insight Learning (การรู้จักใช้เหตุผล) เกิดในพวก Primates เป็นพฤติกรรมที่มีการดัดแปลงมาจากการลองผิดลองถูก โดยการเรียนรู้นี้จะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วโดยสัตว์ตอบสนองได้ถูกต้องเลยในครั้งแรก สรุป Fixed-action pattern Insight (Innate) (Learned) มีเป้าหมาย เพิ่มโอกาสอยู่รอด + โอกาสสืบพันธุ์

ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับการพัฒนาการของระบบประสาท

 ชนิดของสิ่งมีชีวิต ระบบประสาท  พฤติกรรมส่วนใหญ่ 1.โพรทิสต์เซลล์เดียว ไม่มีระบบประสาทหรือมีเส้นใย   พฤติกรรมมีมาแต่กำเนิด พวกไคนีซิสประสานงานและแทกซิส  2.สัตว์หลายเซลล์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง ยังไม่ซับซ้อน เช่น มีร่างแหประสาทและปมประสาท พฤติกรรมมีมาแต่กำเนิด เช่น รีเฟลกซ์ และรีเฟลกซ์ต่อเนื่อง 3.สัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นต่ำ   สมองส่วนหน้าไม่ค่อยเจริญ แต่สมองส่วนกลางเจริญดีมาก เริ่มมีการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้นกว่าสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง แต่ยังไม่รู้จักใช้เหตุผล  4.สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม  สมองส่วนหน้าเจริญดี แต่สมองส่วนกลางลดขนาดลง  มีการเรียนรู้มากยิ่งขึ้น และมีพฤติกรรมแบบการใช้เหตุผลด้วย  5.มนุษย์   สมองส่วนหน้าเจริญดี แต่สมองส่วนกลางลดขนาดลงไปมาก มีการเรียนรู้ และการใช้เหตุผลที่สลับซับซ้อน             

พฤติกรรมทางสังคม ( Social behavior ) 1. การสื่อสารด้วยเสียง ( Sound Signal) เสียงของสัตว์ใช้ในการติดต่อสื่อสารระหว่างกันและก่อให้เกิดการตอบสนองถือว่าเป็นการเรียนรู้อย่างหนึ่ง

การสื่อสารด้วยเสียงมีจุดมุ่งหมายคล้ายกันดังนี้ ใช้ในการบอกชนิดสัตว์ ซึ่งอยู่ในสปีชีส์เดียวกัน ใช้บอกเพศว่าเป็นเพศผู้หรือเพศเมีย บอกตำแหน่งตนเองให้ทราบว่าอยู่จุดใด เป็นการประกาศเขตแดนให้สัตว์ตัวอื่นๆรู้ บอกสัญญาณเตือนภัยหรือข่มขู่ บอกความรู้สึกต่างๆและเกี้ยวพาราสี

เสียงมีความหมายที่แตกต่างกันออกไปคือ เสียงเรียกติดต่อ (contact calls) เสียงเรียกเตือนภัย (warning calls) เสียงเรียกคู่ (mating calls) เสียงเรียกกำหนดสถานที่ของวัตถุ (echolocation)

2. การสื่อสารด้วยท่าทาง (Visual Signal) นกยูงตัวผู้รำแพนเพื่อหาคู่  การเกี้ยวพาราสีของงู

การใช้ลักษณะท่าทางในการสื่อสารของสุนัข การแสดงท่าทางของสุนัข เมื่อพบสุนัขตัวอื่นที่มันไม่รู้จัก เมื่อมันพบเจ้าของ

3. การสื่อสารด้วยสารเคมี ( Chemical Signal ) เสือดาวแสดงอาณาเขตโดยการปัสสาวะ **เช่น การปล่อยฟีโรโมน

**เช่น การปล่อยฟีโรโมน **เช่น การปล่อยฟีโรโมน

4. การสื่อสารด้วยการสัมผัส ( Physical Contract ) **ลูกลิงกำพร้ากำลังกอดหุ่นที่เสมือนแม่ที่ให้ความอบอุ่น ความสบาย ถึงแม้ความจริงเป็นเพียงหุ่นที่สามารถให้อาหาร

4. Physical Communication (การสื่อสารโดยการสัมผัส) เช่น การสัมผัสเป็นสื่อเพื่อขออาหาร ของลูกนกนางนวลบางชนิด โดยใช้จงอยปากจิกที่จุดสีแดงบริเวณจงอยปากของแม่เพื่อกระตุ้นให้แม่ไปหาอาหารมาให้

เตรียมตัวสอบย่อย..อิอิ จบบทแล้วนะ เตรียมตัวสอบย่อย..อิอิ