องค์ประกอบในการออกแบบสิ่งพิมพ์
ในการออกแบบสิ่งพิมพ์ องค์ประกอบที่เป็นตัวอักษร องค์ประกอบ ในการออกแบบสิ่งพิมพ์ องค์ประกอบที่เป็นรูปภาพ องค์ประกอบพื้นฐานและองค์ประกอบอื่นๆ
องค์ประกอบที่เป็นตัวอักษร ตัวอักษร เป็นส่วนประกอบสำคัญของสิ่งพิมพ์ เพราะตัวอักษรเป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดความคิดจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่ง
ประเภทตัวพิมพ์ ตัวอาลักษณ์ ตัวพิมพ์แบบตัวตกแต่ง ตัวพิมพ์แบบเขียน ตัวพิมพ์แบบไม่มีหัวหรือหัวปาด ตัวพิมพ์แบบมีหัว
ตัวอาลักษณ์ (text letter / blackletter typeface) เป็นตัวพิมพ์ที่มีลักษณะเหมือนคัดลายมือ หรือตัวพิมพ์ที่เหมือนเขียนด้วยปากกาคอแร้ง นิยมใช้ในการเรียงพิมพ์ข้อความสั้นๆ และต้องการให้ดูเก่าแก่โบราณ
ตัวพิมพ์แบบเขียน (script / cursive typeface)
ตัวพิมพ์มีแบบหัวหรือเส้นกิ่ง (serif typeface) หมายถึง ตัวพิมพ์ที่มีหัวเป็นวงกลม (ภาษาไทย) หรือมีเส้นกิ่งที่ฐานหรือที่หางของตัวพิมพ์ (ภาษาอังกฤษ) เป็นแบบตัวพิมพ์ที่อ่านง่ายที่สุด จึงนิยมใช้ในการพิมพ์ข้อความขนาดยาวๆ
ตัวพิมพ์แบบไม่มีหัวหรือตัวปาด (san-serif typeface) หมายถึง ตัวพิมพ์ที่มีหัวเป็นจงอยเหมือนถูกปาดออก (ภาษาไทย) หรือไม่มีเส้นกิ่ง (ภาษาอังกฤษ) ทำให้สวยงามสบายตา แต่อ่านยากกว่าแบบมีหัว ในสมัยก่อนจึงไม่นิยมใช้กับข้อความยาวๆ แต่ปัจจุบันเทคโนโลยีการพิมพ์ที่ดีขึ้นทำให้สามารถนำมาใช้ได้ไม่ต่างกันนัก
ตัวพิมพ์แบบตัวตกแต่ง (display typeface) หมายถึงตัวอักษรที่ได้รับการออกแบบให้มีลักษณะแปลกออกไปเป็นพิเศษ แต่อ่านค่อนข้างยาก จึงนิยมใช้กับข้อความสั้นๆ ที่เป็นพาดหัว หรือหัวเรื่องเท่านั้น
สกุลตัวพิมพ์ สกุลตัวพิมพ์ (typeface) คือ ตัวพิมพ์ที่ได้รับการออกแบบ ให้มีลักษณะอย่างน้อย 4 แบบ เช่น - ตัวพิมพ์แบบตัวธรรมดา (regular) : โบรวาลเลียยูพีซี (BrowalliaUPC) - ตัวพิมพ์แบบตัวหนา (bold) : โบรวาลเลียยูพีซี (BrowalliaUPC) - ตัวพิมพ์แบบตัวเอน (italic) : โบรวาลเลียยูพีซี (BrowalliaUPC) - ตัวพิมพ์แบบตัวหนาเอน (bold italic) : โบรวาลเลียยูพีซี (BrowalliaUPC)
การวัดตัวพิมพ์ ในการวัดตัวพิมพ์นั้นนิยมใช้หน่วยเป็นพอยต์โดยการกำหนดขนาดตัวพิมพ์ตามแนวตั้ง โดยนับจากระดับสระล่างไปจนถึงระดับวรรณยุกต์บนสุด ขนาดตัวพิมพ์เท่ากัน ความสูงของตัวอักษร (“บ”) อาจไม่เท่ากันได้
การเลือกใช้ตัวพิมพ์ในสิ่งพิมพ์ ตัวพิมพ์แบบตัวปาด (san-serif) - พาดหัว และใช้ ตัวพิมพ์มีแบบหัวหรือเส้นกิ่ง (serif) - เนื้อหา หลีกเลี่ยงการใช้ตัวพิมพ์หลายรูปแบบในงานแต่ละชิ้น (เลือกใช้ตัวพิมพ์ต่างกันในสกุลเดียวกันแทน) หลีกเลี่ยงการใช้ตัวพิมพ์ที่มีลักษณะคล้ายกันในหน้างานเดียวกัน
จะไปหาตัวพิมพ์มาจากไหน?
การนำตัวพิมพ์มาใช้ ตัวพิมพ์แต่ละชนิดที่ใช้อยู่ในปัจจุบันได้รับการพัฒนาขึ้นจากนักออกแบบหลายๆ กลุ่ม มีทั้งเพื่อการค้า และอนุญาตให้นำมาใช้ฟรี ตัวพิมพ์ภาษาไทยที่ให้ใช้ฟรี มาจากทั้ง 3 แหล่งใหญ่ ดังนี้ 4 ฟอนต์แห่งชาติ (NECTEC) 10 ฟอนต์เพื่อชาติ (TEPClub) 13 ฟอนต์มาตรฐาน (SIPA) f0nt.com
ตัวอย่าง 4 ฟอนต์แห่งชาติ (NECTEC)
ตัวอย่าง 10 ฟอนต์เพื่อชาติ (TEPClub)
ออกแบบโดย คุณศุภกิจ เฉลิมลาภ ออกแบบโดยคุณเอกลักษ์ เพียรพนาเวช ตัวอย่าง ฟอนต์ SIPA TH Sarabun PSK ออกแบบโดย คุณศุภกิจ เฉลิมลาภ TH Chamornman ออกแบบโดยคุณเอกลักษ์ เพียรพนาเวช
f0nt.com
ช่องว่างระหว่างบรรทัด ช่องไฟ การล้ำ พื้นที่ว่าง วรรคคำ ช่องว่างระหว่างบรรทัด
การปรับแนวบรรทัด เรียงชิดซ้าย เรียงชิดขวา เรียงกลาง เรียงเต็มแนว ปัจจุบันเทคโนโลยีการเรียงพิมพ์ทำให้มีการปรับแนวบรรทัดที่หลากหลายมากขึ้น เรียงกลาง เรียงเต็มแนว
ข้อมูลเพิ่มเติม หนังสือ ชื่อหนังสือ: ฟอนต์ไหนดี? ชื่อหนังสือ: ฟอนต์ไหนดี? ผู้แต่ง: ธวัชชัย ศรีสุภาพ สำนักพิมพ์: มาร์เว็บ (2549) เว็บไซด์ www.f0nt.com
Adobe InDesign