Semantic Differential

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
Advertisements

การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
การกำหนดปัญหาใน การวิจัย 1. แหล่งที่มาของปัญหา วิจัย 2. การวิเคราะห์ปัญหาวิจัย 3. การประเมินหัวข้อ ปัญหาที่จะทำวิจัย.
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
แบบสอบถาม (Questionnaire)
การใช้งานโปรแกรม SPSS
ข้อมูลและประเภทของข้อมูล
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
การวัด Measurement.
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
การขอโครงการวิจัย.
มาฝึกสมองกันครับ.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การนำเสนอผลงานการวิจัย
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
การวางแผนกำลังการผลิต
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
หลักการเขียนข่าว เพื่อการประชาสัมพันธ์องค์กร
กิจกรรมที่ 12 รวบรวมข้อมูลอย่างไรกันดี
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Semantic Differential สมพงษ์ พันธุรัตน์

Projective techniques Observation Self report Attitude Projective techniques

Self report Thurstone Likert Guttman Osgood

แนวคิดของมาตรวัดเจตคติของ ออสกูด เป็นการวัดความรู้สึกของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่มีต่อสิ่งเร้า สิ่งเร้านี้ว่า มโนมติ (Concept) มโนมติ (Concept) ต่างๆ มีความหมาย มโนมติจะประกอบด้วยลักษณะที่สำคัญหลายลักษณะหรือหลายองค์ประกอบหรือหลายมิติ มิติเหล่านั้นมาจากความหมายทางภาษา เรียกมิติเหล่านั้นว่า Semantic space มโนมติต่างๆ คือ จุดที่อยู่ใน space

หลักการสร้างมาตรวัดเจตคติ ของ ออสกูด กระบวนการในการอธิบาย ตัดสินใจ หรือประเมินมโนมติของบุคคลนั้น สามารถเขียนแทนได้ในเนื้อปริมาณที่อยู่ในช่วงการวัดทางจิตวิทยา (Psychological contium) ซึ่งมีความเข้มมากน้อยตามลักษณะของคำคุณศัพท์ 2 คำ ที่มีลักษณะตรงข้ามกัน (Bipolar adjectives) และใช้เป็นสิ่งที่นำมาอธิบายมโนมตินั้น

หลักการสร้างมาตรวัดเจตคติ ของ ออสกูด ความแปรเปลี่ยนหรือแนวทางในการอธิบายมโนมติของแต่ละบุคคลในช่วงของการวัดจะมีลักษณะเป็นมิติเดียว และไม่ขึ้นอยู่กับช่วงการวัดอื่นๆ

หลักการสร้างมาตรวัดเจตคติ ของ ออสกูด การตอบสนองหรือการแสดงความรู้สึกของแต่ละบุคคลที่มีต่อมโนมติในช่วงการวัดแต่ละช่วงนี้ จะอยู่ใน Semantic space และมีปริมาณตามที่ต้องการ

ทฤษฎีความสมดุลของเจตคติ (Attitude balance theory) มีแนวคิดว่าถ้าหากแนวคิด 2 เรื่องใดมีความเกี่ยวเนื่องกันแล้ว เจตคติต่อเรื่องราวคู่นั้นจะรวมกัน (Converge) แต่ถ้าเรื่องราวคู่ใด มีความผิดแผกแตกต่างกัน หรือไม่เกี่ยวเนื่องกันแล้ว เจตคติต่อเรื่องราวนั้นก็จะออกห่างกัน (Diverge) ดังนั้นในทางตรงกันข้าม ถ้าหากเราทราบว่าเจตคติคู่ใดที่รวมลงรอยเดียวกันแล้ว เรื่องราวและแนวคิดคู่นั้นก็จะเกี่ยวเนื่องเป็นคู่กัน แต่ถ้าเจตคติคู่ใดมีลักษณะแยกจากกันแล้ว เรื่องราวและแนวคิดคู่นั้นจะไม่เกี่ยวเนื่องกัน

องค์ประกอบของความหมายทางภาษา องค์ประกอบด้านการประเมินค่า (Evaluation Factor) องค์ประกอบด้านศักยภาพ (Potency Factor) องค์ประกอบด้านกิจกรรม (Activity Factor)

องค์ประกอบด้านการประเมินค่า (Evaluation Factor) ดี-เลว จริง-เท็จ ฉลาด-โง่ มีประโยชน์-ไร้ประโยชน์ น่ารัก-น่าเกลียด สำคัญ-ไม่สำคัญ เพลิดเพลิน-น่าเบื่อ หวาน-ขม สุข-ทุกข์ สำเร็จ-ล้มเหลว ง่าย-ยาก ชอบ-เกลียด

องค์ประกอบด้านศักยภาพ (Potency Factor) หนัก-เบา ใหญ่-เล็ก แข็งแรง-อ่อนแอ จริงจัง-ตามสบาย

องค์ประกอบด้านกิจกรรม (Activity Factor) เร็ว-ช้า เป็นระเบียบ-ยุ่งเหยิง ว่องไว-เฉื่อยชา จอแจ-เงียบเชียบ ธรรมดา-ซับซ้อน ร่าเริง-หงอยเหงา

ขั้นตอนการสร้างมาตรวัดเจตคติ เลือกมโนมติที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ต้องการจะศึกษาเจตคติ การสร้างมาตรา (Scale) คือการเลือกคำคุณศัพท์ที่ตรงข้ามกันให้เหมาะสม มาอธิบายมโนมติ การจัดมาตราวัด (Scale) นำคำคุณศัพท์ที่กำหนดไว้จัดเรียงลงในมาตราวัดแบบสุ่ม จัดทำคำชี้แจงและเสนอตัวอย่างคำถามคำตอบ นำไปทดลองใช้เพื่อหาคุณภาพของเครื่องมือ

การเลือกมโนมติ เลือกมโนมติที่กลุ่มผู้ตอบรู้จักและเข้าใจได้ตรงกัน มีความหมายที่ชัดเจน เลือกมโนมติที่สามารถกระตุ้นให้บุคคลแสดงความคิดเห็น และมีความรู้สึกที่แตกต่างกันได้มาก

การสร้างมาตรา (Scale) ใช้กลุ่มพิจารณา โดยเลือกตัวแทนกลุ่มหนึ่งจากบุคคลที่เราต้องการศึกษาเจตคติ แล้วเสนอมโนมติและคำคุณศัพท์ให้กลุ่มคนดังกล่าวพิจารณาความสอดคล้องต้องกันระหว่างมโนมติและคำคุณศัพท์เหล่านี้ โดยให้เรียงลำดับความสอดคล้องจากมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด แล้วนำผลที่ได้มาเลือกไว้ประมาณ 10-20 คู่ เพื่อนำไปสร้างสเกลต่อไป

การสร้างมาตรา (Scale) ให้ผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวกับหัวข้อเรื่องนั้นโดยตรงเป็นผู้พิจารณาคำคุณศัพท์ โดยการตัดทิ้งถ้าเห็นว่าห่างไกลจากเรื่องที่ศึกษาเกินไป พร้อมทั้งให้เพิ่มเติมตามที่เห็นเหมาะสม

การจัดมาตราวัด (Scale) นำคำคุณศัพท์ที่กำหนดไว้จัดเรียงลงในมาตราวัดแบบสุ่ม โดยไม่แยกองค์ประกอบและทิศทาง ไม่ควรจัดให้คำคุณศัพท์ทางบวกอยู่ด้านเดียวกันหมด ควรคละกันไป เพื่อป้องกันการตอบของผู้ตอบที่ประเมินค่าโดยมีอคติ หรือตอบโดยไม่มีการพิจารณา ในการวัดแต่ละมโนมติควรใช้คำคุณศัพท์คู่ประมาณ 5-30 คู่

การกำหนดค่าน้ำหนักในแต่ละ Scale ใช้วิธีกำหนดน้ำหนักสมมุติ (Arbitrary weighting) อาจเป็น 3, 5, 7 หรือ 9 ช่วงก็ได้ แต่ออสกูดเสนอแนะว่ามาตราแบบ 7 ช่วงเป็นแบบที่มีประสิทธิภาพในการวัดมากกว่า

กำหนดตัวเลขตั้งแต่ 1-7

กำหนดคะแนนจุดกึ่งกลางเป็น 0 และกำหนดตัวเลข 1, 2, 3 ทั้งสองด้าน

กำหนดคะแนนจุดกึ่งกลางเป็น 0 เช่นเดียวกับวิธีที่ 2 แต่จะกำหนดตัวเลข 3, 2, 1 สำหรับคำคุณศัพท์ทางด้านซ้ายมือ และกำหนดตัวเลข -3, -2, -1

การวิเคราะห์หาคุณภาพ วิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor analysis) วิเคราะห์รายข้อ เพื่อหาอำนาจจำแนก หาความเที่ยงของมาตรวัด โดยแบ่งครึ่ง (Split half) หรือวิธีของฮอยท์ (Hoyt's reliability) หรือวิธีสัมประสิทธิ์เอลฟาของครอนบาค (Alpha coefficient)

การวิเคราะห์ข้อมูลจากมาตรวัดเจตคติ ผลจากการใช้มาตรวัดเจตคติแบบจำแนกความหมายของคำ สามารถนำมาวิเคราะห์ได้ 4 แบบใหญ่ๆ คือ การเปรียบเทียบ ระหว่างมาตรา ระหว่างองค์ประกอบ ระหว่างมโนมติ ระหว่างกลุ่ม

การวิเคราะห์เส้นภาพ (Profile) เจตคติเป็นรายมาตราและรายบุคคล

การวิเคราะห์เส้นภาพเจตคติเปรียบเทียบกลุ่ม A และกลุ่ม B

การวิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างมโนมติในองค์ประกอบเดียว คะแนนเจตคติของ นักเรียนคนหนึ่งที่มีต่อ "ครู" ซึ่งมี 4 มโนมติ ทุกมโนมติมี 6 มาตรา ในองค์ประกอบด้านการประเมินค่า

ความห่างหรือระยะทางระหว่างมโนมติใน Semantic space 2 il d D S = = il D ระยะทางเส้นตรงระหว่างมโนมติ i และ l = il d ความแตกต่างทางพีชคณิตระหว่างจุด 2 จุด คือ i กับ l ( ) 2 l i il X d - S =

มาตรา มโนมติ A B C D E 1 6 2 5 3 4 7 Mean 5.83 1.83 5.33 6.00 2.17 S2 0.57 1.07 0.80