AFP surveillance การเฝ้าระวังผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉียบพลัน ดารินทร์ อารีย์โชคชัย, พ.บ. สำนักระบาดวิทยา
การกวาดล้างโรคโปลิโอ WHO และประเทศทั่วโลกร่วมกันตั้งเป้าหมายในการกวาดล้างโรคโปลิโอให้หมดไปจากโลกภายใน พ.ศ. 2543 ประเทศไทยได้เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ พ.ศ. 2530 (แผนพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติฉบับที่ 6) ประเทศไทยไม่พบผู้ป่วยโปลิโอ (wild type) มาตั้งแต่ พ.ศ. 2541
4 กลวิธีหลัก ในการกวาดล้างโปลิโอ Routine immunization อย่างน้อย 3 ครั้งในเด็กต่ำกว่า 1 ปี (รายตำบลไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90) สามารถค้นหาและรายงานผู้ป่วย AFP ไม่น้อยกว่า 1:100,000 รายต่อปี ในเด็กต่ำกว่า 15 ปี รายจังหวัด สอบสวนโรคภายใน 48 ชั่วโมง และควบคุมโรคภายใน 72 ชั่วโมง หลังจากพบผู้ป่วย NID ปีละสองรอบ
ความจำเป็นของ AFP surveillance Polio เป็นโรคที่มีอาการรุนแรงทำให้เสียชีวิต หรือพิการตลอดชีวิต ผู้ติดเชื้อ polio virus จะมีอาการอ่อนแรงเพียงร้อยละ 1 สายเกินไปถ้ารอให้ ผู้ป่วยยืนยันโรคโปลิโอ!! ร้อยละ 95-99 ไม่มีอาการ ถ่ายทอดเชื้อไวรัสได้นาน 4-6 สัปดาห์ ต้องตรวจจับผู้ป่วยและควบคุมโรคให้ได้เร็วที่สุด เพาะเชื้อไวรัสจากอุจจาระใช้เวลามากกว่า 14 วัน
หลักสำคัญในการเฝ้าระวังผู้ป่วย AFP เก็บตัวอย่างอุจจาระทุกรายอย่างถูกต้อง ( ≥ ร้อยละ 80 ของผู้ป่วย) อุจจาระ 2 ตัวอย่าง ห่างกันอย่างน้อย 24 ชั่วโมง เก็บภายใน 14 วันหลังเริ่มมีอัมพาต เพื่อแสดงความไวและความครอบคลุมของระบบเฝ้าระวัง
ขั้นตอนการเฝ้าระวังผู้ป่วย AFP นิยาม : ผู้ที่มีอาการอ่อนแรงของแขน ขา ข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้าง เกิดอย่างรวดเร็ว (ยกเว้น trauma) เก็บตัวอย่างอุจจาระ 2 อย่าง (8 กรัม) ห่างกันอย่างน้อย 24 ชม. บันทึกอาการและการตรวจร่างกายลงใน AFP investigation form สอบสวนโรคในพื้นที่ (AFP3/40) ควบคุมโรค (รายงานการควบคุมโรค) ติดตามผู้ป่วยเมื่อครบ (30)60 วัน (ดู residual paralysis) (AFP3/FU/40)
เกณฑ์ชี้วัด AFP surveillance ที่สำคัญ Non-polio AFP rate ในเด็กต่ำกว่า 15 ปี อย่างน้อย 1:100,000 ต่อปี Zero report จากสถานบริการ รายสัปดาห์ มากกว่าร้อยละ 90 ของสถานบริการทั้งหมด สอบสวนโรคภายใน 48 ชม. มากกว่าร้อยละ 90 ของผู้ป่วยที่รายงานทั้งหมด เก็บตัวอย่างอุจจาระถูกต้อง มากกว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วยที่รายงานทั้งหมด ตัวอย่างอุจจาระถึงห้องปฏิบัติการภายใน 3 วัน มากกว่าร้อยละ 80 ติดตามผู้ป่วยเมื่อครบ 60 วันมากกว่าร้อยละ 80
AFP Active Case Search
วัตถุประสงค์ การค้นหาผู้ป่วยเชิงรุก ซึ่งอาจมีการตกค้าง ไม่ได้รายงานเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง เพื่อประเมินและเร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยโดยเฉพาะในพื้นที่ที่ไม่มีการรายงาน หรือต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด
หลักการ AFP เป็นกลุ่มอาการ (Syndrome) ไม่ใช่โรค ผู้ป่วย AFP อาจถูกวินิจฉัยเป็นโรคต่างๆ ได้ เช่น Poliomyelitis, Transverse myelitis, Hypokalemia, Weakness caused เป็นต้น
แนวทางการทำ Active search OPD card และ IPD chart ของเด็กต่ำกว่า 15 ปี ตามกลุ่มโรค (ICD 10) ทั้ง 21 โรค ตามช่วงเวลาที่กำหนด ดูรายระเอียดอาการและการตรวจร่างกาย Key words ที่ช่วยในการพิจารณา; hypotonia, muscle weakness, flaccid, motor power < 5, hyporeflexia (DTR < 2+), แขนขาอ่อนแรงม แขนขาไม่มีแรง, ขยับแขนขาไม่ได้, เดินเซ, ลุกไม่ได้
กลุ่มอาการ 21 โรค AFP Acute anterior poliomyelitis Acute myelopathy Guillain-Barre syndrome Acute demyelinating neuropathy Acute axonal neuropathy Peripheral neuropathy Acute intermittent porphyria Critical illness neuropathy Myasthenia Gravis Botulism Insecticide intoxication Tick paralysis Idiopathic inflammatory myopathy Trichinosis Hypokalemic, Hyperkalemic paralysis Traumatic neuritis Transverse myelitis Myalgia Weakness (Malaise, Fatigue) Hemiplegia
แนวทางการทำ Active search พิจารณาการวินิจฉัยสุดท้ายว่าเข้าได้กับกลุ่มอาการ AFP หรือไม่ เมื่อพบผู้ป่วยเข้าได้กับ AFP Onset ไม่เกิน 3 เดือนย้อนหลัง ให้รายงานและดำเนินการสอบสวน ควบคุมโรคตามระบบปกติ Onset เกิน 3 เดือน ให้รายงานและติดตามผู้ป่วยรายใหม่ในพื้นที่นั้นอย่างใกล้ชิด
แนวทางการทำ Active search ชี้แจงผลการทบทวนเวชระเบียนให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ โดยเฉพาะผู้ที่ดูแลผู้ป่วย เช่น แพทย์ พยาบาล หาข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการรายงานผู้ป่วย เสนอผู้บริหาร