งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กลุ่มที่ 3 : Scenario 3.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กลุ่มที่ 3 : Scenario 3."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กลุ่มที่ 3 : Scenario 3

2 ผู้ป่วย: 1 ราย เพศชาย อายุ 10 ปี สัญชาติไนจีเรีย
ประวัติการรับวัคซีน ได้ tOPV 2 ครั้ง ก่อนอายุครบ 1 ปี ลำดับเหตุการณ์: 1 ส.ค. 59 เดินทางจากไนจีเรีย เข้าปท.ไทย - กทม. - พักที่โรงแรม ซอยนานาเหนือ แขวงคลองเตยเหนือ เขตทวีวัฒนา 3-4 ส.ค. 59 เดินทางไป จ.จันทบุรี พักที่โรงแรม ริมน้ำกลางจันทร์ เทศบาลเมือง จันทบุรี 29 ส.ค. 59 ผล lab พบ Poliovirus Wild type I 5 ส.ค. 59 กลับมา กทม. โรงแรม ซอยนานาเหนือ 12 ส.ค. 59 เริ่มป่วย - อาการ: ไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ ปวดหัว แขนขาอ่อนแรง - Admit ที่ รพ.บำรุงราษฎร์ - Lab ตรวจเลือด & ปัสสาวะ (ผลปกติ) - Dx: AFP - เก็บ stool 2 ครั้งห่างกัน 24-48 ชั่วโมง - ทีมระบาดวิทยา สำนักอนามัย กทม. ออกสอบสวนโรค 15 ส.ค. 59 ส่ง stool ตรวจที่กรมวิทย์

3 การตอบโต้สถานการณ์กรณีเกิดการระบาดของโรคโปลิโอ ช่วงที่ 1
Nigeria Immunization schedule At Birth - BCG, HB, OPV 6 weeks – DTP, HB, OPV 10 weeks – DTP, OPV 14 weeks – DTP, HB, OPV 9 months – M, YF การดำเนินงานด้านระบาดวิทยา ทบทวนความรู้ โรคPolio/AFP กำหนดการให้วัคซีนของประเทศไนจีเรีย สถานการณ์การเกิดโรคโปลิโอในประเทศไนจีเรีย พบว่าระบาดด้วย wild type I และประชาชนบางส่วนมีความเชื่อว่าโรคโปลิโอเกิดจากภูตผี 2. วิเคราะห์ข้อมูล: 2.1 ระยะฟักตัวของโรคโปลิโอ (7-14 วัน) ได้รับเชื้อในประเทศไทย หรือ ได้รับเชื้อจากไนจีเรีย ผลการวิเคราะห์ – ไทยไม่พบผู้ป่วยโปลิโอมาแล้วกว่า 19 ปี ขณะที่ไนจีเรีย เป็นพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคโปลิโออยู่ (endemic area) – น่าจะเป็น imported case 2.2 vaccine coverage ในพื้นที่ที่ผู้ป่วยไป ได้แก่ แขวงคลองเตยเหนือ เขตทวีวัฒนา กทม. อ.เมือง จ.จันทบุรี

4 การดำเนินงานด้านระบาดวิทยา (ต่อ)
ประสานทีมและสอบสวนโรค ทีมระบาด สน.อนามัย กทม.  สอบสวนหาผู้สัมผัสใกล้ชิดในชุมชน, หาผู้ป่วยรายใหม่, หา transmission ที่โรงแรม, ให้ความรู้เรื่องโรคและการป้องกันแก่ประชาชนในพื้นที่ การประสานงาน: ทีมระบาด สน.อนามัย กทม. & สปคม.  สน.ระบาดวิทยา  สคร.6  สสจ.จันทบุรี  พื้นที่ ทีมสอบสวนโรค SRRT จันทบุรี  ทบทวนข้อมูล (AFP report – ไม่พบ case, zero report, active search – ทำเมื่อ พ.ค. 59 ไม่พบ case), สอบสวนหาผู้สัมผัสในชุมชน, หาผู้ป่วยรายใหม่ Strengthening ระบบเฝ้าระวังในโรงพยาบาล ดำเนินการทั้ง กทม. และจันทบุรี zero report ทำทั้ง passive และ active active search (ค้นหาย้อนหลังทั้งปี)

5 การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรค
ทบทวนรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีนโปลิโอในเด็กอายุ <1 ปี และ <5 ปี ทั้งในภาพจังหวัดและรายพื้นที่ (ตำบล) กทม. – รู้ในภาพรวม แต่ระดับพื้นที่ไม่รู้ ต้องทำการสำรวจซึ่งทำได้ลำบาก จันทบุรี – จากข้อมูลการสำรวจพบว่า cov. > 90% (แต่ใน HDC < 90%) (ถ้า Cov. OPV3 ในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี < 90% ให้ทำ ORI แต่ถ้า >90% ให้ทำ catch up) การทำ ORI ในพื้นที่ กทม.และจันทบุรี กทม. ทำ ORI รอบที่ 1 ในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ในชุมชนซอยนานาเหนือ เพื่อลดความเสี่ยง ระหว่างที่รอผล lab จันทบุรี ทำ catch up ในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ชุมชนเทศบาลเมือง

6 ช่วงที่ 2 ผลทางห้องปฏิบัติการ พบเชื้อ poliovirus wild type I
การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กทม: ดำเนินงานเฝ้าระวัง อย่างเข้มข้นนาน 6 เดือน กท.สธ. มีหนังสือสั่งการถึงจังหวัดให้ทำ active case finding ในรพ. ทุกระดับ ทั้งภาครัฐและเอกชน และตั้งจุด screening ในรพ. เพื่อค้นหาผู้ป่วย AFP ประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อของกทม. เพื่อพิจารณาเปิด/ไม่เปิด EOC ทำหนังสือรายงานประธานคณะกรรมการโรคติดต่อของกทม. อาจจะขยายพื้นที่เฝ้าระวังโรคในเขตอื่น ๆ รวมทั้งเฝ้าระวังในกลุ่มแรงงานต่างด้าว แคมป์ ก่อสร้างในทุกเขต ตรวจสอบคุณภาพของการรายงาน zero report ติดตามอาการอ่อนแรงของผู้ป่วยภายหลัง 30 วัน และ 60 วัน จันทบุรี: ดำเนินงานเฝ้าระวัง อย่างเข้มข้นนาน 6 เดือน กท.สธ. มีหนังสือสั่งการถึงจังหวัดให้ทำ active case finding ในรพ. ทุกระดับ ทั้งภาครัฐและเอกชน ตั้งจุด screening ในรพ. เพื่อค้นหาผู้ป่วย AFP ประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อระดับจังหวัด เพื่อพิจารณาเปิด/ไม่เปิด EOC ทำหนังสือรายงานประธานคณะกรรมการโรคติดต่อระดับจังหวัด

7 ช่วงที่ 2 ผลทางห้องปฏิบัติการ พบเชื้อ poliovirus wild type I
การเฝ้าระวังในสิ่งแวดล้อม ทั้งกทม. และจันทบุรี ให้เก็บตัวอย่างน้ำเสียที่ใกล้กับโรงแรม 2 จุด (บ่อพักน้ำทิ้งของโรงแรม และบ่อบำบัดน้ำเสียที่อยู่ใกล้โรงแรม) โดยเก็บตัวอย่าง ทุกสัปดาห์ สัปดาห์ละ 1 ตัวอย่าง เป็นเวลานาน 3 เดือน ให้เก็บตัวอย่างน้ำเสียจากบ่อบำบัดของโรงพยาบาล (เฉพาะ รพ.ที่ admit)

8 ช่วงที่ 2 ผลทางห้องปฏิบัติการ พบเชื้อ poliovirus wild type I
การป้องกันควบคุมโรค กทม: ให้ bOPV รอบที่ 2 ในเด็กต่ำกว่า 5 ปีทุกคนที่อาศัยอยู่ในชุมชนซอยนานา (ให้ bOPV ห่างจากรอบแรก 1 เดือน) มีการขยายพื้นที่การให้ bOPV ในเด็กต่ำกว่า 5 ปี ที่อาศัยอยู่ในชุมชนต่างด้าว แคมป์ก่อสร้าง โดยให้ 2 ครั้ง ห่างกัน 1 เดือน จันทบุรี: ให้ bOPV รอบที่ 2 ในเด็กต่ำกว่า 5 ปีทุกคน (mop up) ที่อาศัยอยู่ในชุมชนที่พบผู้ป่วย (ชุมชนรอบโรงแรม) ภายใน 3-5 วัน หลังทราบผลการตรวจทางห้อง lab สั่งการให้วัคซีนให้ครอบคลุมทุกชุมชนในเขตเทศบาลอำเภอเมือง

9 ช่วงที่ 2 ผลทางห้องปฏิบัติการ พบเชื้อ poliovirus wild type I
การประชาสัมพันธ์และสื่อสารความเสี่ยง ทั้งกทม. และจันทบุรี ประชาสัมพันธ์ให้เจ้าหน้าที่และประชาชนทราบสถานการณ์การระบาดของโรค เพื่อสร้างความตระหนัก และลดความตระหนก เตรียมประเด็นตอบคำถามสื่อและประชาชนว่า สถานการณ์เป็นอย่างไร เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบได้ดำเนินการอะไรแล้วบ้าง และการปฏิบัติตัวของประชาชน

10 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt กลุ่มที่ 3 : Scenario 3.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google