งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
ระบบข้อมูล ติดตามประเมินผล การดำเนินงานเพื่อยุติการถ่ายทอดเชื้อซิฟิลิสแต่กำเนิด สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

2 วัตถุประสงค์ สามารถอธิบายระบบเฝ้าระวัง การกำกับและติดตาม
ประเมินผลโรคซิลิสแต่กำเนิดในประเทศไทยและบทบาท ของหน่วยงานของตนเองที่เกี่ยวข้องกับการเก็บรวบรวมและ การจัดทำรายงานต่าง ๆ มีแนวทางการใช้ข้อมูลเพื่อการพัฒนาคุณภาพงานใน พื้นที่ที่ตนรับผิดชอบ

3 เนื้อหา ความสำคัญของระบบการเฝ้าระวัง กำกับและติดตามประเมินผลโรคซิฟิลิสแต่กำเนิด ระบบรายงานปัจจุบัน ตัวแปร และบทบาทของหน่วยงานระดับโรงพยาบาล จังหวัด เขต และส่วนกลาง นิยาม ICD 10 และการรายงานเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง การสอบสวนโรค แบ่งเป็นการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย และการสอบสวนการระบาด 3. การใช้ข้อมูลเพื่อการพัฒนาคุณภาพงาน ข้อมูลระดับจังหวัด/เขต/ภาค คุณภาพข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล : ความครบถ้วน ความถูกต้อง และความทันเวลา การประเมินระบบเฝ้าระวัง : ความครบถ้วน ค่าพยากรณ์บวก ความเป็นตัวแทน 4. บทบาทของหน่วยงานในพื้นที่ ๆ เกี่ยวข้องกับการเก็บและรายงานข้อมูล

4 1. ความสำคัญของระบบการเฝ้าระวัง กำกับและติดตามประเมินผลโรคซิฟิลิสแต่กำเนิด
ทราบสถานการณ์ของโรค ทราบปัญหา และผลกระทบทั้งตัวผู้ป่วยและระบบบริการ สุขภาพ นำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนบริหารจัดการทรัพยากร ให้เหมาะสมกับสภาพของพื้นที่

5 2. ระบบรายงานปัจจุบัน ตัวแปร และบทบาทของหน่วยงานระดับโรงพยาบาล จังหวัด เขต และส่วนกลาง

6 ระบบรายงานปัจจุบันของ Congenital syphilis และ HIV (1)

7 ระบบรายงานปัจจุบันของ Congenital syphilis และ HIV (2)

8 บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ และรายงานข้อมูลทางระบาดวิทยา (รง. 506) (1)
OPD/IPD งานระบาดวิทยา รพ. สสจ. เขต, BOE OPD diagnosis R506 จังหวัด (เขต) R506 จังหวัด LAB HIS R506 R506 จังหวัด (BoE) diagnosis IPD Case investigation form Outbreak DB ประเทศ (BoE) กรณีโรคที่ต้องสอบสวน R506 สสอ. รพ.สต. HIS R506

9 รวบรวมข้อมูล บันทึกข้อมูล ตรวจสอบข้อมูล แก้ไขข้อมูล
บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ และรายงานข้อมูล Congenital Syphilis (รง. 506) (2) ส่วนกลาง (สำนักระบาดวิทยา) ตรวจสอบข้อมูล เปรียบเทียบ Feedback ข้อมูลราย รพ./จังหวัด (กำหนดเกณฑ์ตัวชี้วัด) เขต/จังหวัด ตรวจสอบ เปรียบเทียบ Feedback ข้อมูลรายจังหวัด/อำเภอ/รพ. โรงพยาบาล รวบรวมข้อมูล บันทึกข้อมูล ตรวจสอบข้อมูล แก้ไขข้อมูล

10 การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (Epidemiological Surveillance)

11 ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (1)
1. การเฝ้าระวังเชิงรุก (Active surveillance) เช่น การเฝ้าระวังเพื่อเพิ่มโอกาสในการค้นพบผู้ป่วย หรือได้ข้อมูลการเกิดโรคเพิ่มขึ้น 2. การเฝ้าระวังเชิงรับ (Passive surveillance) การเฝ้าระวังโดยการรายงานผู้ป่วยที่มารับบริการในสถานพยาบาลระดับต่าง ๆ - แบบ รง. 506, 507 - แบบ รง. 506/1, 507/1 (HIV/AIDS)

12 ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (2)
3. การเฝ้าระวังเฉพาะกลุ่ม/เฉพาะพื้นที่ (Sentinel surveillance) เช่น การเฝ้าระวังการติดเชื้อ HIV ในประชากรกลุ่มต่าง ๆ 4. การเฝ้าระวังเฉพาะเหตุการณ์ (Special surveillance ) เช่น กรณีเกิดอุทกภัย หรือกรณีเกิดเหตุการณ์ที่ต้องการความรวดเร็วในการตรวจจับเพื่อการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดในวงกว้าง

13 การเฝ้าระวังโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
1. การเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง และการเฝ้าระวังการติดเชื้อ(ร่วมกับ HIV/AIDS) 2. การเฝ้าระวังผู้ป่วย ตามแบบ รง. 506, หรือ รง. 507 3. การสอบสวนโรคกรณีพบการระบาดเป็นกลุ่มก้อน

14 อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ประเทศไทย
ระหว่างปี พ.ศ

15 บัตรรายงานผู้ป่วย : แบบ รง. 506 (1)

16 บัตรรายงานผู้ป่วย : แบบ รง. 506 (2)

17 บัตรรายงานผู้ป่วย : แบบ รง. 506 (3)
ปรับเพิ่มตัวแปร Congenital Syphilis ในรายงาน 506

18 บัตรเปลี่ยนแปลงการรายงานผู้ป่วย : แบบ รง. 507 (1)

19 บัตรเปลี่ยนแปลงการรายงานผู้ป่วย : แบบ รง. 507 (2)

20 แนวทางแก้ไข/ ข้อเสนอแนะ
ระบบกำกับติดตาม เฝ้าระวัง และรายงานข้อมูล Congenital Syphilis ในปัจจุบัน : ปัญหาและแนวทางแก้ไข (1) ระบบ ปัญหา แนวทางแก้ไข/ ข้อเสนอแนะ รายงาน 506 นิยามเพื่อการรักษาและนิยามการรายงาน ต้องเชื่อมกับ ICD 10 ไม่มีข้อมูล Syphilis ในหญิงตั้งครรภ์/หญิงคลอด ปัญหาการเชื่อมโยงข้อมูลในหน่วยงาน คุณภาพของข้อมูล (ความครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา) ผู้รายงานลงข้อมูลไม่ถูกต้อง/ซ้ำซ้อน เพราะต้องเบิกเงินคืน หรือเบิกยา การบังคับของโปรแกรมเรื่องการใส่การวินิจฉัยโรค ทำให้จำนวนผู้ป่วยมากเกินจริง พัฒนากับการใช้ข้อมูลจาก 43 แฟ้ม เพิ่มตัวแปร Congenital syphilis และ Syphilis หญิงตั้งครรภ์ ในรายงาน อบรม/ทำหนังสือชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง

21 แนวทางแก้ไข/ ข้อเสนอแนะ
ระบบกำกับติดตาม เฝ้าระวัง และรายงานข้อมูล Congenital Syphilis ในปัจจุบัน : ปัญหาและแนวทางแก้ไข (2) ระบบ ปัญหา แนวทางแก้ไข/ ข้อเสนอแนะ รายงานการสอบสวนโรค/การสอบสวนการระบาด มีเฉพาะแบบรายงานผู้ป่วยเฉพาะราย (รง. 506) จะสอบสวนโรคเมื่อเกิดการระบาดเป็นกลุ่มก้อน พัฒนาจากแบบฟอร์มการสอบสวนผู้ป่วยของกลุ่มบางรัก ฯ และแบบสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (โรคระบาดอื่น ๆ ) ของสำนักระบาดวิทยา ตามแนวทางของ WHO

22 นิยามการรายงานซิฟิลิสแต่กำเนิด (Congenital Syphilis)
ปรับปรุงใหม่ พ.ศ. 2559

23 นิยามในการเฝ้าระวังโรคซิฟิลิสแต่กำเนิด (Congenital Syphilis) (1)
1. เกณฑ์ทางคลินิก มารดาไม่ได้รับการรักษาซิฟิลิส หรือได้รับการรักษาไม่ได้มาตรฐานก่อนคลอด (รวมถึงรักษาได้ครบตามมาตรฐาน แต่น้อยกว่า 30 วันก่อนคลอด) ร่วมกับ มีอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ 1.1 ทารกอายุน้อยกว่า 2 ปี มี hepatosplenomegaly, rash, condylomalata, snuffles, jaundice (non-viral hepatitis), pseudoparalysis, anemia, edema (neprotic syndrome and/or malnutrition) 1.2 เด็กโตพบ stigmata (e.g. interstitial keratitis, nerve deafness, anterior bowing of shins, frontal bossing, mulberry molars, Hutchison teeth, saddle nose, rhagades, clutton joints) 1.3 ไม่มีอาการหรืออาการแสดง แต่ผลตรวจเลือดซิฟิลิสเป็นบวก (latent congenital syphilis โดยแบ่งเป็น early latent congenital syphilis ในเด็กอายุ < 2 ปี และ late latent congenital syphilis ในเด็กอายุ >2 ปี)

24 นิยามในการเฝ้าระวังโรคซิฟิลิสแต่กำเนิด (Congenital Syphilis) (2)
2. เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ 2.1 ตรวจพบเชื้อ spirochete ในสิ่งส่งตรวจที่เก็บจากรก สายสะดือและสารคัดหลั่งหรือรอยโรคจากทารก เช่น น้าไขสันหลัง สารคัดหลั่งจากโพรงจมูกและสารคัดหลั่งจากแผลที่ผิวหนัง ด้วยการตรวจวิธีใดวิธีหนึ่งดังต่อไปนี้ - Dark field microscopy พบเชื้อ Treponema pallidum - Direct fluorescent antibody test for T. Pallidum ให้ผลบวก - Other specific stains ให้ผลบวกต่อเชื้อ T. pallidum - ตรวจทางพยาธิวิทยา (histopathology) โดยการตรวจรกหรือสายสะดือพบเชื้อ T. pallidum

25 นิยามในการเฝ้าระวังโรคซิฟิลิสแต่กำเนิด (Congenital Syphilis) (3)
2.2 ตรวจแอนติบอดีต่อซิฟิลิสจากเลือด 2.2.1 ทั่วไป ตรวจแอนติบอดีต่อซิฟิลิสจากเลือดด้วยวิธี non-treponemal test วิธีใดวิธีหนึ่ง เช่น RPR (rapid plasma reagin card test) หรือ VDRL (Venereal Disease Research Laboratory slide test)ให้ผลบวก (reactive) ในทารกและ >4 เท่า เมื่อเทียบกับมารดา 2.2.2 จำเพาะ ตรวจแอนติบอดีต่อซิฟิลิสจากเลือดด้วยวิธี treponemal test วิธีใดวิธีหนึ่ง เช่น FTA-ABS (fluorescent treponemal antibody-absorption test), TPHA (Treponema pallidum hemagglutination assay), TP-PA (Treponema pallidum particle agglutination assay), ICT (immunochromatography test), EIA (enzyme immunoassay), CMIA (chemiluminescent immunoassay) หรือ immunoblot (western blot) เป็นต้น ให้ผลบวก (reactive) หลังทารกอายุ 18 เดือน

26 ประเภทผู้ป่วยในการเฝ้าระวัง (1)
แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 1. ผู้ป่วยที่เข้าข่าย (Probable case) หมายถึง ทารกที่มารดาไม่ได้รับการรักษาซิฟิลิส หรือได้รับการรักษาไม่ได้ตามมาตรฐานก่อนคลอด (รวมถึงรักษาได้ครบตามมาตรฐาน แต่น้อยกว่า 30 วันก่อนคลอด) ไม่ว่าทารกจะมีอาการแสดงหรือไม่ก็ตาม 2. ผู้ป่วยที่ยืนยันผล (Confirmed case) หมายถึง ทารกหรือเด็กที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก และการตรวจ treponemal test ให้ผลบวก ร่วมกับ มีอย่างน้อย 1 อย่างคือ

27 ประเภทผู้ป่วยในการเฝ้าระวัง (2)
2. ผู้ป่วยที่ยืนยันผล (confirmed case) ต่อ - ตรวจร่างกายพบลักษณะของโรคซิฟิลิสแต่กำเนิด - ภาพรังสีกระดูก (long bones) พบลักษณะของซิฟิลิสแต่กำเนิด - การตรวจ VDRL ในน้าไขสันหลังให้ผลบวก - มีการเพิ่มขึ้นของ cerebrospinal fluid (CSF) cell count หรือ protein โดยปราศจากสาเหตุอื่น - การตรวจ fluorescent treponemal antibody absorbed-19S-IgM antibody test หรือ IgM enzyme-linked immunosorbent assay ให้ผลบวก รวมถึง ทารกหรือเด็กที่ไม่มีอาการหรืออาการแสดง แต่ผลตรวจเลือดซิฟิลิสเป็นบวกตามเกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการทั่วไปและจาเพาะ (latent congenital syphilis)

28 การรายงานผู้ป่วยในระบบเฝ้าระวัง (รง. 506)
รายงานผู้ป่วยตามระบบเฝ้าระวัง (รง. 506) ให้รายงานตั้งแต่พบผู้ป่วยที่เข้าข่าย (Probable case) และยังสามารถรายงานเด็กที่คลอดจากมารดาที่ติดเชื้อได้ทันที เพื่อการป้องกันควบคุมโรค แต่เมื่อมีการติดตามแล้วไม่พบว่าติด เชื้อในภายหลังให้รายงานการเปลี่ยนแปลงตามแบบ รง. 507

29 การสอบสวนโรค การสอบสวนเฉพาะราย 2. การสอบสวนการระบาด
แบบสอบสวนโรคอยู่ระหว่างการพัฒนา

30 Code 506 และรหัส ICD 10 ของ Congenital Syphilis ตามนิยามใหม่ พ. ศ
รหัส ICD-10-TM ชื่อโรคภาษาอังกฤษ ชื่อโรคภาษาไทย 37 A50.0 Early congenital syphilis, symptomatic โรคซิฟิลิสแต่กำเนิดระยะต้น(ซิฟิลิสแต่กำเนิดช่วงแรก/ต้น) ชนิดมีอาการ A50.1 Early congenital syphilis, latent โรคซิฟิลิสแต่กำเนิดระยะต้น ชนิดแฝง(ซิฟิลิสแต่กำเนิดช่วงแรก/ต้น ระยะแฝง) A50.2 Early congenital syphilis, unspecified โรคซิฟิลิสแต่กำเนิดระยะต้น (ซิฟิลิสแต่กำเนิดช่วงแรก/ต้น) ไม่ระบุรายละเอียด A50.3 Late congenital syphilitic oculopathy โรคตาจากซิฟิลิสแต่กำเนิดระยะหลัง(ซิฟิลิสแต่กำเนิดช่วงหลัง) A50.4 Late congenital neurosyphilis [juvenile neurosyphilis] โรคซิฟิลิสที่ระบบประสาทแต่กำเนิดระยะหลังหรือช่วงหลัง (โรคซิฟิลิสที่ระบบประสาทในวัยเด็ก)

31 Code 506 และรหัส ICD 10 ของ Congenital Syphilis ตามนิยามใหม่ พ. ศ
รหัส ICD-10-TM ชื่อโรคภาษาอังกฤษ ชื่อโรคภาษาไทย 37 A50.5 Other late congenital syphilis, symptomatic โรคซิฟิลิสแต่กำเนิดระยะหลังแบบอื่น ชนิดมีอาการ(ซิฟิลิสแต่กำเนิดช่วงหลังแบบอื่นมีอาการ) A50.6 Late congenital syphilis, latent โรคซิฟิลิสแต่กำเนิดระยะหลัง ชนิดแฝง(ซิฟิลิสแต่กำเนิดช่วงหลังระยะแฝง) A50.7 Late congenital syphilis, unspecified โรคซิฟิลิสแต่กำเนิดระยะหลัง (ซิฟิลิสแต่กำเนิดช่วงหลัง) ไม่ระบุรายละเอียด A50.9 Congenital syphilis, unspecified โรคซิฟิลิสแต่กำเนิด ไม่ระบุรายละเอียด

32 การติดตามประเมินผลประสิทธิภาพการดำเนินงานเฝ้าระวัง
หน่วยงานที่รับผิดชอบกำกับงานในพื้นที่ เช่น สคร., สสจ. ร่วมกับ หน่วยงานส่วนกลาง ตรวจสอบและให้ข้อมูลย้อนกลับโรงพยาบาล อัตราการถ่ายทอดเชื้อซิฟิลิสจากแม่สู่ลูก .... กรมอนามัย จำนวนรายงาน congenital Syphilis … สำนักระบาดวิทยา 2. ควรมีการประเมินระบบเฝ้าระวัง .... สคร., สสจ. ร่วมกับ หน่วยงานส่วนกลาง

33 3. การใช้ข้อมูลเพื่อการพัฒนาคุณภาพการดำเนินงาน
ข้อมูลระดับโรงพยาบาล/จังหวัด/เขต/ภาค คุณภาพข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล (ความครบถ้วน ความถูกต้อง และความทันเวลา) - การประเมินระบบเฝ้าระวัง

34 จำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ที่ได้รับรายงานว่าติดเชื้อซิฟิลิส ระหว่างปี พ.ศ. 2547-2558

35 จำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ที่ได้รับรายงานว่าติดเชื้อซิฟิลิส ระหว่างปี พ.ศ จำแนกตามปีที่เริ่มป่วย Case

36 จำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ที่ได้รับรายงานว่าติดเชื้อซิฟิลิส ระหว่างปี พ.ศ จำแนกตามกลุ่มอายุและปีที่เริ่มป่วย Case

37 จำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ที่ได้รับรายงานว่าติดเชื้อซิฟิลิส ในปี พ. ศ
จำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ที่ได้รับรายงานว่าติดเชื้อซิฟิลิส ในปี พ.ศ จำแนกตามเดือนที่เริ่มป่วย Total 105 Cases

38 จำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ที่ได้รับรายงานว่าติดเชื้อซิฟิลิส ในปี พ. ศ
จำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ที่ได้รับรายงานว่าติดเชื้อซิฟิลิส ในปี พ.ศ จำแนกตามกลุ่มอายุและเดือนที่เริ่มป่วย Case

39 จำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ที่ได้รับรายงานว่าติดเชื้อซิฟิลิส ระหว่างปี พ.ศ พฤศจิกายน จำแนกตามจังหวัด/เขต และกลุ่มอายุ (1) จังหวัด เขต พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 <28วัน 28 วัน -<1ปี 1 ปี - <2 ปี รวม 28 วัน- <1ปี เชียงใหม่ 1 2 เชียงราย ลำปาง ลำพูน แม่ฮ่องสอน น่าน พะเยา แพร่ 4 5 เพชรบูรณ์ พิษณุโลก สุโขทัย ตาก อุตรดิตถ์ 3

40 จำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ที่ได้รับรายงานว่าติดเชื้อซิฟิลิส ระหว่างปี พ.ศ พฤศจิกายน จำแนกตามจังหวัด/เขต และกลุ่มอายุ (2) จังหวัด เขต พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 <28วัน 28 วัน -<1ปี 1 ปี - <2 ปี รวม 28 วัน- <1ปี ชัยนาท 3 1 กำแพงเพชร 4 5 นครสวรรค์ พิจิตร 2 อุทัยธานี 6 9

41 จำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ที่ได้รับรายงานว่าติดเชื้อซิฟิลิส ระหว่างปี พ.ศ พฤศจิกายน จำแนกตามจังหวัด/เขต และกลุ่มอายุ (3) จังหวัด เขต พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 <28วัน 28 วัน -<1ปี 1 ปี - <2 ปี รวม 28 วัน- <1ปี กรุงเทพมหานคร สปคม. 7 5 1 13 17 อ่างทอง 4 ลพบุรี นครนายก นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา 2 ปทุมธานี สระบุรี สิงห์บุรี รวม  3 กาญจนบุรี นครปฐม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ราชบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม สุพรรณบุรี 6 9

42 จำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ที่ได้รับรายงานว่าติดเชื้อซิฟิลิส ระหว่างปี พ.ศ พฤศจิกายน จำแนกตามจังหวัด/เขต และกลุ่มอายุ (4) จังหวัด เขต พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 <28วัน 28 วัน -<1ปี 1 ปี - <2 ปี รวม 28 วัน- <1ปี ฉะเชิงเทรา 6 1 3 5 จันทบุรี ชลบุรี 2 4 ปราจีนบุรี ระยอง สระแก้ว สมุทรปราการ 11 12 ตราด รวม  16 20 19

43 จำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ที่ได้รับรายงานว่าติดเชื้อซิฟิลิส ระหว่างปี พ.ศ พฤศจิกายน จำแนกตามจังหวัด/เขต และกลุ่มอายุ (5) จังหวัด เขต พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 <28วัน 28 วัน -<1ปี 1 ปี - <2 ปี รวม 28 วัน- <1ปี กาฬสินธุ์ 7 2 1 ขอนแก่น 5 มหาสารคาม ร้อยเอ็ด 3 12 บึงกาฬ 8 เลย นครพนม หนองบัวลำภู หนองคาย สกลนคร อุดรธานี

44 จำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ที่ได้รับรายงานว่าติดเชื้อซิฟิลิส ระหว่างปี พ.ศ พฤศจิกายน จำแนกตามจังหวัด/เขต และกลุ่มอายุ (6) จังหวัด เขต พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 <28วัน 28 วัน -<1ปี 1 ปี - <2 ปี รวม 28 วัน- <1ปี บุรีรัมย์ 9 1 2 ชัยภูมิ นครราชสีมา สุรินทร์ 3 5 4 6 อำนาจเจริญ 10 มุกดาหาร ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร 7 11

45 จำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ที่ได้รับรายงานว่าติดเชื้อซิฟิลิส ระหว่างปี พ.ศ พฤศจิกายน จำแนกตามจังหวัด/เขต และกลุ่มอายุ (7) จังหวัด เขต พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 <28วัน 28 วัน -<1ปี 1 ปี - <2 ปี รวม 28 วัน- <1ปี ชุมพร 11 1 กระบี่ นครศรีธรรมราช พังงา ภูเก็ต ระนอง สุราษฎร์ธานี 2 3 5 6 7 นราธิวาส 12 ปัตตานี พัทลุง สตูล สงขลา ตรัง ยะลา 4

46 การประเมินระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา

47 วัตถุประสงค์การประเมินระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
1. เพื่อศึกษาข้อมูลของระบบเฝ้าระวังเชิงปริมาณ - ความครบถ้วนของรายงาน (Completeness) - ค่าพยากรณ์บวกของการรายงาน (Predictive value positive) - ความเป็นตัวแทนของข้อมูลจากระบบเฝ้าระวัง (Representativeness) - ความครบถ้วนและความถูกต้องของข้อมูลในระบบเฝ้าระวัง (Data quality) 2. เพื่อศึกษาการบริหารจัดการข้อมูล

48 ข้อมูลของระบบเฝ้าระวังเชิงปริมาณ
- ความครบถ้วนของรายงาน (Completeness) คือจำนวนผู้ป่วยที่รายงานและถูกต้องตามนิยาม (A) เปรียบเทียบกับจำนวนผู้ป่วยทั้งหมดที่ควรรายงาน (A+C) - ค่าพยากรณ์บวกของการรายงาน (Predictive value positive) คือจำนวนผู้ป่วยที่รายงานและถูกต้องตามนิยาม (A) เปรียบเทียบกับจำนวนผู้ป่วยที่รายงานทั้งหมด (A+B) - ความเป็นตัวแทนของข้อมูลจากระบบเฝ้าระวัง (Representativeness) คือจำนวนผู้ป่วยที่รายงานทั้งหมด (A+B) เปรียบเทียบกับจำนวนผู้ป่วยทั้งหมดที่ควรรายงาน (A+C) - ความครบถ้วนและความถูกต้องของข้อมูลในระบบเฝ้าระวัง (Data quality) คือครบถ้วนและความถูกต้องของตัวแปรที่บันทึกใน รง. 506 เปรียบเทียบกับข้อมูลที่มีอยู่จริงในทะเบียนผู้ป่วยหรืออาการจริงของผู้ป่วย (ขึ้นอยู่กับการซักประวัติ)

49 ตัวอย่างการแปรผลการประเมินระบบเฝ้าระวังเชิงปริมาณ
ผู้ตามนิยามทั้งหมด 100 คน รายงาน 70 คน (ถูกต้องตามนิยาม 60 คน) แสดงว่ามี under report 40 คน และ Over report 10 คน - Completeness = A/A+C (C = Under report) =60/(60+40)=60/100 =0.6 หรือ 60 % - Predictive value positive = A/A+B (B = Over report) =60/60+10 =0.857 หรือ 85.7 % - Representativeness = (A+B)/(A+C) โดยการเปรียบเทียบตามตัวแปรที่สำคัญ เช่น โรค อายุ เพศ ที่อยู่ปัจจุบัน ฯลฯ ระยะของโรคหรือประเภทการเจ็บป่วย = 60+10/60+40= 0.7 หรือ 70% - ความครบถ้วนและความถูกต้องของข้อมูลในระบบเฝ้าระวัง (Data quality) คือครบถ้วนและความถูกต้องของตัวแปรที่บันทึกใน รง. 506 ได้แก่ ชื่อโรค – ชื่อผู้ป่วย - อายุ – เพศ- วันเริ่มป่วย – วันรับรักษา ฯลฯ

50 การบริหารจัดการข้อมูล
เป็นการศึกษากิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลในระบบเฝ้าระวัง ได้แก่ - แนวทางการจัดทำรายงาน - ขั้นตอนการประสานงานระหว่างเจ้าหน้าที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - การส่งต่อข้อมูลระหว่างโรงพยาบาล ฯลฯ

51 การประเมินระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ประจำปี พ.ศ. 2549
ตัวอย่าง การประเมินระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ประจำปี พ.ศ. 2549

52 ผลการประเมินระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ประจำปี พ.ศ. 2549
(จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มุกดาหาร กำแพงเพชร และชุมพร) จำนวนผู้ป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เปรียบเทียบกับบัตรรายงาน 506 จำแนกตามโรค โรค จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด จำนวนผู้ป่วย ที่รายงาน 506 ความครบถ้วน (ร้อยละ) หมายเหตุ ซิฟิลิส 60 11 18.33 Total Syphilis หนองใน 67 31 46.27 หนองในเทียม 9 1 11.11 แผลริมอ่อน 9.09 เริมที่อวัยวะเพศ 7 3 42.86 หูดที่อวัยวะเพศ 20 2 10.00 อื่น ๆ 133 15 11.28 รวม 307 64 20.85 สรุป : ความครบถ้วนของการรายงาน ร้อยละ

53 สรุปการเฝ้าระวัง Congenital syphilis
1. กิจกรรมที่ดำเนินการแล้ว - เฝ้าระวังผู้ป่วยโดยการรายงาน – แบบ รง. 506, 507 2. กิจกรรมที่จะดำเนินการต่อไป - การนำข้อมูลจาก 43 แฟ้ม มาใช้ในการรายงาน โดยใช้ ICD10 - จัดอบรมเจ้าหน้าที่ในการรายงานโรคซิฟิลิสตามนิยามใหม่ - ประเมินระบบเฝ้าระวังแบบบูรณาการกับหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

54 กิจกรรมสำคัญในการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง Congenital syphilis
1. การพัฒนาระบบเฝ้าระวังเชิงรับ (Passive surveillance) 2. การสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย และการสอบสวนการระบาด 3. การจัดทำรายงาน/วิเคราะห์สถานการณ์โรคอย่างสม่ำเสมอเพื่อดูแนวโน้มการเกิดโรค 4. การนิเทศ ติดตามผลการดำเนินงานเป็นระยะ 5. การประเมินระบบเฝ้าระวัง

55 ข้อเสนอแนะในการเฝ้าระวัง Congenital syphilis
1. การบูรณาการด้านข้อมูลที่เกี่ยวข้องระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ 2. การเฝ้าระวังเชิงรุก (Active surveillance) เช่น การเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง - นักเรียน/นักศึกษา หรือการเฝ้าระวังการติดเชื้อซิฟิลิสในหญิงตั้งครรภ์ (อาจทำร่วมกับ HIV/AIDS) 3. การจัดตั้งคณะทำงานเพื่อการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ระดับจังหวัด/ระดับโรงพยาบาล (ใน รพ. อาจรวมอยู่ใน คณะกรรมการ IC ได้)

56 Thank You


ดาวน์โหลด ppt สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google