การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Work Breakdown Structure
Advertisements

PMAT Personnel Management Association of Thailand
SCC - Suthida Chaichomchuen
บทที่ 2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
school of Information communication Tecnology,
ระบบการจัดการข้อมูลการผลิต สำหรับ บริษัทอินโนลาเท็กซ์(ประเทศไทย)จำกัด
NJUG 4 Agile Software Development & Interactive TV application
Homework 2 Present.
Business System Analysis and Design (BC401)
Tawatchai Iempairote วันที่ 3 กรกฎาคม 2556
PHP FRAMEWORK – Web Programming and Web Database Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
โครงงานคืออะไร หลักการของการเรียนรู้ของ โครงงาน จุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนรู้ ด้วยโครงงาน โครงงานกับการเรียนรู้แบบต่างๆ ลักษณะเด่นของการเรียนรู้ด้วย.
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์ สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๕ วันศุกร์ที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ณ ห้อง ๓๐๑ ชั้น ๓ ตึกแดง ทำเนียบรัฐบาล 1.
การวิเคราะห์ความแปรปรวนของค่าอัตราส่วนปลอดภัย
Google Documents Chaowalit Budchang
บทที่ 3 กระบวนการพัฒนา(Process Model)
การวิเคราะห์เชิงปริมาณเบื้องต้น
ครูสมศรีกับยุคปฏิรูปการศึกษา
บทที่ 4 กระบวนการอาไจล (An Agile View of Process)
Software Evolution แบบจำลองกระบวนการพัฒนา/ผลิตซอฟต์แวร์ (Process Model) แบบจำลองใช้สำหรับชี้นำถึงกิจกรรมหลัก (key Activities) ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ ด้วยการกำหนดรายละเอียดหรือข้อบัญญัติไว้ในแต่ละกิจกรรมในแต่ละขั้นตอนที่มีลำดับขั้นตอนการพัฒนาที่ชัดเจน.
Measuring Agility in Agile Software Development
Action Research รศ. ดร. วิโรจน์ สารรัตนะ
กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์
2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
การวิเคราะห์เชิงปริมาณเบื้องต้น
บทที่ 5 ความต้องการ วิศวกรรมความต้องการ แบบจําลองการวิเคราะห์
Software Evolution แบบจำลองกระบวนการพัฒนา/ผลิตซอฟต์แวร์ (Process Model) แบบจำลองใช้สำหรับชี้นำถึงกิจกรรมหลัก (key Activities) ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ ด้วยการกำหนดรายละเอียดหรือข้อบัญญัติไว้ในแต่ละกิจกรรมในแต่ละขั้นตอนที่มีลำดับขั้นตอนการพัฒนาที่ชัดเจน.
การวิเคราะห์ระบบงาน ขั้นตอนวิเคราะห์ จะเริ่มต้นด้วยการวิเคราะห์ระบบงาน
Controlling 1.
การจัด กระบวนการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ
วิทยาศาสตร์ และ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
บทที่ 2 ภาพรวมกระบวนการ (A Generic View of Process)
Introduction TO Web PRogramming
งบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
UML (Unified Modeling Language)
บทที่ 1 ภาพรวมของการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
e-Portfolios Development
การพัฒนาการส่งเสริมการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
สรุปตรวจราชการรอบ 2 วันที่ 3 ส.ค.2561 ปัจจัยความสำเร็จ/ผลงานเด่น
(1) ภาวะการหางานทำของบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
CPE 491 Proposal (สอบเสนอหัวข้อเพื่อทำ Project)
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2560
การประกวดสิ่งประดิษฐ์ ของคนรุ่นใหม่
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
ข้อกำหนดทางธุรกิจในยุคดิจิตอล
ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส. พิเศษ 1/5 สาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีก
หลักการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย :
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์
การรัน-การใช้ IntelliSense-แก้ข้อผิดพลาด
การขับเคลื่อนการพัฒนาองค์กร นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
“No time to go to library use MSU LibraryGO. App”
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
Thailand 4.0 บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software).
วิชา วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
สัญลักษณ์พยากรณ์อากาศ
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
บทที่ 2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนา IT ให้บูรณาการเข้ากับโครงสร้างและระบบงาน
ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ
บทที่ 3 กระบวนการผลิตซอฟต์แวร์ (Software Process)
นายเกรียงไกร แก้วมีศรี ผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานี
อ.พรพนา ปัญญาสุข วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย
Introduction to Structured System Analysis and Design
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์ บทที่ 3 การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์

วัตถุประสงค์ เพื่อทำความรู้จักกับการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์ เพื่อศึกษาแบบจำลองกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อศึกษาการประเมินและการปรับปรุงกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์

กล่าวนำ การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์ คือ แนวคิดใหม่ของกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่มีลักษณะการทำงานแบบวนซ้ำ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาซอฟต์แวร์ให้มีความก้าวหน้าและเป็นไปตามมาตรฐานที่วางไว้ เน้น การสื่อสารระหว่างผู้พัฒนา กับผู้ใช้/ลูกค้า เน้นสื่อสารมากกว่าใช้เอกสาร มีเอกสารที่เกี่ยวข้องไม่มาก เวลาที่ใช้ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ไม่นาน ส่งมอบกับลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว ทำให้ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย

การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์ เป้าหมายหลัก คือ สนับสนุนการทำงานของระบบที่มีความซับซ้อนและตอบสนองความต้องการของลูกค้าหรือผู้ใช้ที่ไม่ชัดเจนหรือเปลี่ยนแปลงบ่อย

แบบจำลองกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์ ถูกคิดค้นกลางปี 1990 แก้ไขปัญหาความต้องการของลูกค้าเปลี่ยนแปลงบ่อย สามารถย้อนกลับไปแก้ไขงานที่ไม่สมบูรณ์ ค.ศ. 2001 ตั้งชื่อว่า ระเบียบวิธีเอจายล์ (Agile Method)

กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์ ลักษณะทำงานวนซ้ำ การออกแบบซอฟต์แวร์ไม่ออกแบบทั้งหมดในคราวเดียว ออกแบบทีละเล็กทีละน้อย สื่อสารกับผู้ใช้แบบไม่เป็นทางการ จัดทำเอกสารที่สำคัญเท่านั้น ส่งมอบงานให้กับลูกค้าหรือผู้ใช้บ่อย

วัตถุประสงค์แบบเอจายล์แก้ไขปัญหา ใช้เวลาในการพัฒนาซอฟต์แวร์นาน ลูกค้าหรือผู้ใช้ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงความต้องการระหว่างการพัฒนาซอฟต์แวร์ นักพัฒนาซอฟต์แวร์เข้าใจความต้องการของลูกค้าหรือผู้ใช้ ตั้งแต่เริ่มโครงการซึ่งความต้องการอาจไม่ชัดเจน ใช้นักพัฒนาซอฟต์แวร์เป็นจำนวนมากและทีมงานทุกคนทำงานหนัก มีระเบียบวิธีที่ซับซ้อน นักพัฒนาซอฟต์แวร์ต้องจัดทำเอกสารจำนวนมาก และใช้เวลานาน

บทบัญญัติของเอจายล์ การให้ความสำคัญกับผู้ปฏิบัติงาน โดยเน้นความถนัดของแต่ละบุคคล และเน้นการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ร่วมงาน มากกว่าการทำงานตามกระบวนการและเครื่องมือที่ใช้สนับสนุนการพัฒนาซอฟต์แวร์ การพัฒนาซอฟต์แวร์ เพื่อนำไปใช้งานได้จริง มากกว่าการจัดทำเอกสาร การทำงานร่วมกับลูกค้าหรือผู้ใช้ มากกว่าการเจรจาต่อรองตามสัญญา การแก้ไขซอฟต์แวร์ตามการเปลี่ยนแปลงความต้องการของลูกค้าหรือผู้ใช้ มากกว่าการปฏิบัติงานตามแผนที่ได้กำหนดไว้

แบบจำลองกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์ แบบจำลอง Extreme Programming แบบจำลองการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบปรับตัว แบบจำลองผลึก แบบจำลอง Agile Unified Process แบบจำลอง Microsoft Solutions Framework แบบจำลอง สครัม

แบบจำลอง Extreme Programming ใช้แนวความคิดของการออกแบบเชิงวัตถุ การทำงานมี 4 ขั้นตอน การวางแผน การออกแบบ การเขียนโปรแกรม การทดสอบระบบ ที่มา http://www.ques10.com

แบบจำลองการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบปรับตัว Adaptive Software Development: ASD แบบจำลองที่ถูกคิดค้นโดย Jim Highsmith และ Sam Bayer ในปี ค.ศ. 2000 เหมาะกับโครงการซอฟต์แวร์ที่มีความซับซ้อน มี 3 ขั้นตอน การคาดคะเน การร่วมมือ การเรียนรู้ ที่มา http://www.ques10.com

แบบจำลองผลึก Crystal Model แบบจำลองที่ถูกคิดค้นโดย Alistair Cockburn และ Jim Highsmith ในปี ค.ศ.1990 เป็นระเบียบวิธีแบบเบา ลักษณะการทำงานแบบวนซ้ำ ใช้ทรัพยากรอย่างจำกัด มีการสื่อสารระหว่างทีม มุ่งเน้น คน การปฏิสัมพันธ์ สังคม ทักษะ ความสามารถพิเศษ การสื่อสาร เป้าหมายหลัก ส่งมอบซอฟต์แวร์ให้ผู้ใช้ เกิดประโยชน์ เป้าหมายรอง การจัดเตรียมความพร้อม เพื่อใช้ในโครงการซอฟต์แวร์ถัดไป

แบบจำลองผลึก Crystal Model เป้าหมายหลัก ส่งมอบซอฟต์แวร์ให้ผู้ใช้ เกิดประโยชน์ เป้าหมายรอง การจัดเตรียมความพร้อม เพื่อใช้ในโครงการซอฟต์แวร์ถัดไป

แบบจำลอง Agile Unified Process ถูกคิดค้นโดย Scott Ambler การประยุกต์แบบจำลอง RUP ให้มีแนวความคิดการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์ มี 7 ขั้นตอน การสร้างแบบจำลอง การเขียนโปรแกรม การทดสอบ การนำไปใช้ การจัดการโครงแบบ การบริหารโครงการ สภาพแวดล้อม

แบบจำลอง Microsoft Solutions Framework การจัดการผลิตภัณฑ์ การจัดการโปรแกรม การพัฒนา การทดสอบ การส่งมอบ ประสบการณ์ผู้ใช้

แบบจำลองกระบวนการ MSF คือ แบบจำลองที่มีลักษณะการทำงานเหมือนกับแบบจำลองเวียนก้นหอย แบ่งเป็น 5 ขั้นตอน การนึกคิด การวางแผน การพัฒนา การสนับสนุน การใช้งาน ที่มา https://technet.microsoft.com/en-us/library/bb497060.aspx

แบบจำลอง สครัม แบบจำลองที่พัฒนาโดย Jeff Sutherland ในปี ค.ศ. 1999 และพัฒนาต่อโดย Ken Schwaber และ Mike Beedle ในปี ค.ศ.2001 แบบจำลองสครัมมีลักษณะคล้ายกีฬารักบี้ การทำงานที่แต่ละคนต่างผลักดันซึ่งกันและกัน สามารถนำไปปรับใช้ในการบริหารจัดการและควบคุมโครงการซอฟต์แวร์ ทำงานใกล้ชิดกับลูกค้า/ผู้ใช้ เพื่อเก็บรวบรวมความต้องการ อยู่บนพื้นฐานของการวนซ้ำ การทำงานเป็นช่วงประมาณ 2-4 สัปดาห์

แบบจำลองสครัม ที่มา https://www.pinterest.com/pin/560276009863679342/

คำถามท้ายบท การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์คืออะไร มีความสำคัญอย่างไร อธิบายแบบจำลอง ที่สนใจมาคนละ 1 แบบ บอกข้อดีข้อเสียของแบบจำลองสครัม