บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสื่ออีเลิร์นนิง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
Advertisements

ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
บทที่ 6 การจัดการองค์การ.
มาตรฐานครูสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
The Students’ Opinion on Learning Management of Report Financial Analysis Course นายวิทยา ยิ่งนคร ผู้วิจัย บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ( การบัญชี ) วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจ.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
โครงการพัฒนาการตรวจเงินแผ่นดิน อิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการ.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
การจัดหาพัสดุในส่วนของรายจ่ายลงทุนในภาพรวม ประจำเดือนมิถุนายน 2561
บทที่ 6 การพัฒนาระบบการสอนบนเครือข่าย
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
Project Project (โครงงาน) ปริญญานิพนธ์ กิจกรรมซึ่งดำเนินงานตามลำดับ
Chapter 3 Executive Information Systems : EIS
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
SMS News Distribute Service
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสื่ออีเลิร์นนิง Prajaks Jitngernmadan Faculty of Informatics Burapha University Bangsaen, Chonburi Prajaks Jitngernmadan

Principle of e-Learning สารบัญ การพัฒนาสื่ออีเลิร์นนิง การทำงานแบบทีมงาน บุคคลากรที่สำคัญ ลักษณะการผลิตสื่อ Principle of e-Learning

การพัฒนาสื่ออีเลิร์นนิง ต้องมีการวางลำดับขั้นตอนในการพัฒนา วิเคราะห์และออกแบบรายละเอียดย่อยของแต่ละขั้นตอนโดยใช้เครื่องมือต่าง ๆ ช่วย เช่น การใช้ไดอะแกรม หรือ แผนภูมิ เช่น Flow Chart เป็นต้น การทำงานเฉพาะบุคคล มีขนาดเล็ก จัดการได้เอง การทำงานเป็นทีม ขนาดของงานจะใหญ่ ต้องใช้ผู้ร่วมงานหลายหน้าที่ เช่น ผู้เชี่ยวชาญเนื้อหา บรรณาธิกร เป็นต้น Principle of e-Learning

การพัฒนาสื่ออีเลิร์นนิง ตัวอย่าง Principle of e-Learning

Principle of e-Learning การทำงานแบบทีมงาน ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ กลุมบุคคลที่หลากหลาย และทํางานสอดประสานกัน ซึ่งในการออกแบบและผลิตสื่อในลักษณะของหนวยงาน เชน ศูนยผลิตสื่อ บริษัทรับผลิตสื่อ จะดําเนินการโดยมีกลุมบุคคลหลายกลุมดูแลการทํางานการออกแบบและผลิตสื่อตามขั้นตอนการออกแบบการสอนอยางเปนระบบ การตัดสินใจและการประสานงานระหวางการทํางานที่ชัดเจน ซึ่งไมไดขึ้นอยูกับครูผูสอน หรือผูเชี่ยวชาญเนื้อหาเทานั้น บุคลากรฝายตางๆ มีความเชี่ยวชาญและชํานาญที่ใหความคิดเห็น และออกแบบในรายละเอียดตางๆ เพื่อประกอบใหสื่ออีเลิรนนิงมีความสมบูรณเพิ่มมากขึ้น Principle of e-Learning

Principle of e-Learning การทำงานแบบทีมงาน Principle of e-Learning

Principle of e-Learning บุคคลกรที่สำคัญ ผูบริหารโครงการอีเลิรนนิง (e-Learning Project Manager) หนาที่ผูบริหารโครงการอีเลิรนนิง มีหนาที่ดําเนินโครงการตั้งแตเริ่มตนจนเสร็จสิ้น ทําหนาที่จัดการ และบริหารงานตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการดําเนินโครงการ เชน การเสนอโครงการ การจัดหาบุคลากร การประสานงาน การสรางบทเรียน จัดหาอุปกรณที่จําเปน ควบคุมงบประมาณ และระยะเวลาที่ใชในแตละขั้นตอนใหเปนไปตามที่กําหนด Principle of e-Learning

Principle of e-Learning บุคคลกรที่สำคัญ ผูบริหารโครงการอีเลิรนนิง (e-Learning Project Manager) ศึกษาความเปนไปไดของโครงการ ทั้งดานเศรษฐศาสตร และสิ่งแวดลอมทั้งหมด เชน แผนงาน ราคา คาตอบแทน คาใชจาย ฯ ทําแผนการดําเนินงานโครงการ ควบคุม กํากับติดตาม การดําเนินงานโครงการ พิจารณาการประสานงานของฝายตาง ๆ ในการออกแบบ การผลิต ติดตามจนกระทั่งเสร็จสิ้นโครงการ Principle of e-Learning

Principle of e-Learning บุคคลกรที่สำคัญ ครูผูสอน (Instructor) หนาที่ครูผูสอนทําหนาที่ออกแบบแผนการสอน กําหนดวัตถุประสงค เนื้อหา กิจกรรม และการประเมินผล ใหสอดคลองกับเปาหมายการเรียนการสอน ครูผูสอนอาจจะทําหนาที่เปนผูเขียนเนื้อหาดวย (ในปจจุบัน สวนใหญทําหนาที่ผูใหเนื้อหารวมดวย) ซึ่งเรียกวาเปนผูเชี่ยวชาญเนื้อหา (Subject Matter Expert) กําหนดความตองการของรายวิชา กําหนดวัตถุประสงค และโครงรางเนื้อหา ตามที่ประชุมตกลงไวแลว ซึ่งผูเชี่ยวชาญเนื้อหา อาจทําหนาที่เพียงการเขียนเนื้อหา และใหคําปรึกษาก็ได้ ครูผูสอนออนไลนจะเปนผูดูแล สนับสนุนการเรียน และกํากับกระบวนการเรียนการสอนใหดําเนินไปไดตามแผนการสอนที่วางไว้ Principle of e-Learning

Principle of e-Learning บุคคลกรที่สำคัญ นักออกแบบการสอน (Instructional designer) หนาที่นักออกแบบการสอน ออกแบบและพัฒนาการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค และกลุมเปาหมาย โดยประยุกตทฤษฎีการเรียนการสอน และหลักจิตวิทยาการเรียนรูที่เหมาะสมสอดคลองกับการจัดการเรียนการสอน สรางความเขาใจ ดานเปาหมายหลักสูตรที่ตรงกัน ของการออกแบบการสอนกับบุคคลที่เกี่ยวของ ทํางานรวมกับผูเชี่ยวชาญเนื้อหา เพื่อใหเกิดความเขาใจ ถึงดานความรู ความเขาใจเจตคติ และทักษะ ที่กลุมเปาหมาย ของการเรียนการสอน ผานอีเลิรนนิงควรไดรับ Principle of e-Learning

Principle of e-Learning บุคคลกรที่สำคัญ นักออกแบบการสอน (Instructional designer) ออกแบบสื่อที่จะปรากฏใหผูเรียนไดเรียนอยางเขาใจและเหมาะสมกับวัตถุประสงคการเรียนที่คาดหวังใหผูเรียนไดรับ การออกแบบสื่อดังกลาว เปนการออกแบบโดยใชกลวิธีการสอน และหลักจิตวิทยาในการนําเสนอเนื้อหาที่ใหผูเรียนเขาใจ และจดจําเนื้อหาได ทํางานรวมกับผูเชี่ยวชาญเนื้อหา เพื่อพัฒนาแบบรางหรือตนแบบ (layout/ storyboard) กอนสงไปยังฝายผลิต Principle of e-Learning

Principle of e-Learning บุคคลกรที่สำคัญ ฝายผลิต (Production team) โดยทั่วไปฝายผลิตจะประกอบดวย นักพัฒนาเว็บ นักคอมพิวเตอรกราฟก นักผลิตสื่อสตรีมมิ่ง และนักเขียนโปรแกรม ซึ่งทําหนาที่ในเชิงการผลิตทางเทคนิค หนาที่ของฝายผลิต เปนฝายที่ดําเนินการผลิต และจัดทําตามที่ผานการออกแบบมาแลวเปนสื่อประเภทดิจิทัล การดําเนินงานของฝายผลิต เปรียบเสมือนเครื่องจักรของโรงงานอุตสาหกรรม Principle of e-Learning

Principle of e-Learning บุคคลกรที่สำคัญ ฝายผลิต (Production team) นักพัฒนาเว็บ มีหนาที่ พัฒนาโครงสรางเว็บไซต โดยใชความสามารถ ดานศาสตรทางวิทยาการคอมพิวเตอร โดยเฉพาะการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาเว็บไซต เชน HTML, XML, Java Script, Visual Basic, Database เปนตน ศาสตรการออกแบบการทํางานที่เอื้อความสะดวกแกผูใช (Use Interface Design) นักพัฒนาเว็บบางคน อาจมีความถนัดดานกราฟก และการพัฒนามัลติมีเดียดวย Principle of e-Learning

Principle of e-Learning บุคคลกรที่สำคัญ ฝายผลิต (Production team) นักคอมพิวเตอรกราฟก มีหนาที่ออกแบบการสื่อสารทางภาพ เพื่อใหสามารถสื่อสารกับผูเรียนไดตามหลักการออกแบบทางศิลปะ เชน การเลือกใชสี เสียง ภาพ สวนตอประสานที่เปนกราฟกตางๆ ระหวางผูเรียนกับเนื้อหาในสื่อที่เปนมัลติมีเดียหรือเว็บเพจ นักผลิตสื่อสตรีมมิ่ง มีหนาที่ ถายทําวีดิทัศน ประกอบบทเรียนอีเลิรนนิง และใชเทคโนโลยีในการแปลงสื่อวีดิทัศนใหเปนสื่อดิจิตอลใหไดคุณภาพตามที่นักออกแบบบทเรียนไดออกแบบไว้ นักเขียนโปรแกรม มีหนาที่ เขียนโปรแกรมตางๆที่เกี่ยวของ เช่น เขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมการทํางานของภาพเคลื่อนไหวในสื่อการเรียน เป็นต้น Principle of e-Learning

Principle of e-Learning บุคคลกรที่สำคัญ ผูดูแลระบบบริหารจัดการเรียนการสอน และระบบเครือขาย (Learning management system administrator/Network administrator) ทําหนาที่ ดูแลระบบ หรือซอฟตแวร ที่บริหารจัดการเรียนการสอน อีเลิรนนิง (Learning Management System: LMS) ดําเนินการดานเทคนิคตางๆ อันเกี่ยวเนื่องและเชื่อมโยงกับระบบเครือขายคอมพิวเตอรดวย ผูดูแลระบบ ตองใหขอมูลเกี่ยวกับระบบบริหารจัดการแกผูใชงาน ใหการอบรมทุกฝายที่เกี่ยวของ ประสานงานกับทุกฝาย และทําการทดสอบ ทดลอง และตรวจสอบทั้งฮารดแวรและซอฟตแวรที่จะใชงาน Principle of e-Learning

Principle of e-Learning บุคคลกรที่สำคัญ ผูดูแลระบบบริหารจัดการเรียนการสอน และระบบเครือขาย (Learning management system administrator/Network administrator) ติดตั้งระบบ LMS เซิรฟเวอร สรางความพรอมเว็บไซตของระบบกอนมีการสรางรายวิชา กําหนดรายชื่อและสิทธิผูสรางรายวิชา เพิ่มรายชื่อผูสอน เพิ่มผูเรียนในฐานขอมูล การอบรมผูสอนเพื่อการใชงานระบบ ติดตามและใหการชวยเหลือเมื่อเกิดปญหา สํารองขอมูล ทํารายงานสถิติการเขาใชผลการใชรายวิชาตาง ๆ Principle of e-Learning

Principle of e-Learning บุคคลกรที่สำคัญ ฝายธุรกิจ ผูปฏิบัติงานฝายนี้ ทําหนาที่เปนตัวแทนขององคการ โครงการ หรือกิจการ โดยทําหนาที่ สงเสริมการจําหนาย และหาลูกคา เพื่อกระจายการผลิตสื่ออีเลิรนนิงไปสูผูตองการใชงานไดมากขึ้นและทั่วถึง และชวยประสานงานการสงเสริมการตลาด ใหบรรลุผลสําเร็จและเปาหมายของ โครงการอีเลิรนนิง บุคลากรฝายธุรกิจ ควรประกอบดวย นักการตลาด นักบัญชี ผูใหคําปรึกษา Principle of e-Learning

Principle of e-Learning ลักษณะการผลิตสื่อ การผลิตภายในหนวยงาน (In-house production) ซึ่งแบบนี้อาจมีทั้งรูปแบบการทํางานเฉพาะบุคคล หรือเปนแบบทีมงานขนาดใหญก็ได ขึ้นอยูกับหนวยงาน และสวนสนับสนุนตางๆ ที่รองรับ การผลิตจากภายนอกหนวยงาน (Outsourcing) ซึ่งแบบนี้ก็อาจมีทั้งรูปแบบการทํางานเฉพาะบุคคล หรือเปนแบบทีมงานขนาดใหญก็ไดเชนกัน เชน เปนการวาจางผูทํางานอิสระเฉพาะดานมารับงาน 1-2 คน หรือใชการ จางงานเต็มรูปแบบผานหนวยงานภายนอก หรือบริษัทที่รับผลิต Principle of e-Learning

Principle of e-Learning Questions??? Principle of e-Learning