องค์กรต้นสังกัด: โรงพยาบาล เขาชัยสน จังหวัด พัทลุง 2. คำสำคัญ: -

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
Advertisements

การดำเนินการเยี่ยมบ้าน ของศูนย์สุขภาพชุมชน
1. การให้การดูแลผู้ป่วยแบบ ปฐมภูมิ 2. การประเมินผู้ป่วยตามความ รุนแรง 3. การดูแลผู้ป่วยที่อาจมีอาการ เปลี่ยนแปลง 4. การป้องกันและการเฝ้าระวัง การติดเชื้อในชุมชน.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือน กันยายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
แผนการควบคุมวัณโรค จังหวัดนราธิวาส
ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐานระบบงานเยี่ยมบ้าน
การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
เป็น Novel Coronavirus พบครั้งแรก เม. ย ที่ซาอุดิอา ราเบีย กระจายไป 25 ประเทศ ส่วนใหญ่ตะวันออกกลาง ณ. 1 มิ. ย. 58 พบผู้ป่วยยืนยัน 1,154 ราย เสียชีวิต.
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
รพ.พุทธมณฑล.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ผลงาน : เพิ่มประสิทธิภาพในการ รักษา ด้วย... การเสริมพลังอำนาจในกลุ่มผู้ ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ โรงพยาบาลอากาศอำนวย อำเภออากาศอำนวย จังหวัด สกลนคร.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
27 เมษายน 2559 จังหวัด นครราชสีมา. วัตถุประสงค์การจัดทำ รายงานวัณโรค เพื่อทราบสถานการณ์ และประสิทธิผลการดำเนินงาน ควบคุมวัณโรค ของหน่วยงาน ที่ให้บริการ.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
โครงการพัฒนารูปแบบ การคัดกรองวัณโรคและการรักษาวัณโรค
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ปัจจัยที่มีผลต่อการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนานไม่สำเร็จ
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
คลินิกบริการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS โรงพยาบาลเขาสมิง จังหวัดตราด
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
Seminar 1-3.
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
งาน Palliative care.
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แพทย์หญิงดนุชา ช่อเฟื้อง
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
ความสำเร็จของโครงการจัดการเชิงรุกรายบุคคลเพื่อเริ่มยาต้านไวรัส
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
องค์กรต้นสังกัด: โรงพยาบาล ระแงะ จังหวัด นราธิวาส
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยรับยาต้านไวรัสเอดส์
ศูนย์ปฏิบัติการยุติวัณโรค NOC TB อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
การติดตาม (Monitoring)
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เป็นวัณโรคแบบบูรณาการ
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

องค์กรต้นสังกัด: โรงพยาบาล เขาชัยสน จังหวัด พัทลุง 2. คำสำคัญ: - โครงการพัฒนาคุณภาพ งานการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อวัณโรค/เอชไอวี (TB/HIV) 1. ชื่อผลงาน:พัฒนาคุณภาพงานควบคุมวัณโรค/เอชไอวี แบบ case to case โดยใช้หลัก 5ป องค์กรต้นสังกัด: โรงพยาบาล เขาชัยสน จังหวัด พัทลุง 2. คำสำคัญ: -

3. บริบท/ภาพรวม/สภาพปัญหา บริบท การรักษาวัณโรคที่เป็นที่ยอมรับกัน คือการรักษาผู้ป่วยวัณโรคโดยมีพี่เลี้ยงคอยกำกับการกินยาต่อหน้าทุกวัน ที่เรียกว่า DOTS ( Directly Observed Treatment System ) โดยพี่เลี้ยงทำหน้าที่คอยกำกับดูแล ให้กำลังใจเพื่อให้ผู้ป่วยกินยาสม่ำเสมอจนกระทั่งหายขาด เฉกเช่นเดียวกับการรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี ที่ต้องกินยาตลอดชีวิต ถ้ามีพี่เลี้ยงคอยกำกับ หรือคอยให้กำลังใจก็น่าจะเป็นผลดีกับคนไข้ โรงพยาบาลเขาชัยสนมีผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีและป่วยวัณโรคร่วมอยู่ในการดูแลจำนวนหนึ่ง เพราะฉะนั้นการทำให้ผู้ป่วย และพี่เลี้ยงเข้าใจในโรค ขั้นตอนการรักษา อาการข้างเคียงจากยา ย่อมทำให้ผลสัมฤทธิ์ของการรักษาดีขึ้น ปัญหา:ยาที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วยวัณโรค และยาที่ใช้ในการรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี มีความเป็นพิษต่อตับสูง เพราะฉนั้นผู้ป่วยที่เป็นทั้งสองโรคในเวลาเดียวกันและต้องใช้ยารักษาทั้งสองโรคร่วมกันย่อมมีความเสี่ยงต่อการเกิดพิษต่อตับจากการใช้ยาสูงกว่าผู้ป่วยที่รับการรักษาเพียงโรคเดียว ปัญหาที่พบคือ: ผู้ป่วยที่ทำการรักษาทั้งสองโรคในเวลาเดียวกันเกิดความเป็นพิษต่อตับจากการใช้ยาขั้นรุนแรงจนต้องส่งต่อผู้ป่วยไปรับการรักษายังโรงพยาบาลประจำจังหวัด

4. ภาพรวม เป้าหมาย: จะทำงานที่ส่วนใด จะทำร่วมกับใคร จะทำที่ไหน อย่างไร ผู้ป่วยวัณโรคที่มารับยาที่โรงพยาบาลเขาชัยสนได้รับการเจาะเลือดหาเชื้อ HIV 100% ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มารับยาที่โรงพยาบาลเขาชัยสนได้รับการคัดกรอง TB 100% แนวทางพัฒนา/การเปลี่ยนแปลง: ใช้หลักการการร่วมมือกับผู้ป่วยในการค้นหาพี่เลี้ยงเพื่อคอยให้กำลังใจ และกำกับการกินยา การทำความเข้าใจและการให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ รวมถึงการทำความเข้าใจและให้ความรู้แก่ชุมชน

5.สาระสำคัญของการพัฒนา (Improvement Highlight) การให้ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ admit 14 วัน* การ round ward โดยทีมสหวิชาชีพเพื่ออธิบายเรื่องโรค กระบวนการรักษา การติดตาม ADR ,adherence การติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยวัณโรคโดยทีมสหวิชาชีพ ประกอบด้วย เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ จนท.รพ.สต. อสม.  ส่วนใหญ่จะเป็นกรอบแนวคิด และกิจกรรมพัฒนาที่ทำ  ขอให้มีรูปประกอบ หรือเขียนละเอียดเกี่ยวกับสิ่งที่ทำให้เห็นภาพชัดเจน กิจกรรมในโรงพยาบาล การดูแลผู้ป่วยตามมาตรฐานวิชาชีพ การดูแลผู้ป่วยตามหลัก 5 ป กิจกรรมนอกโรงพยาบาล -การเยี่ยมบ้าน -การออกให้ความรู้ในชุมชน

ผู้ป่วย ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าป่วยวัณโรค กิจกรรมในคลินิกวัณโรค พบปะพูดคุยกับผู้ป่วยทำความรู้จัก อธิบายความจำเป็นในการต้องนอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาล ให้คำปรึกษา/เจาะเลือด HIV อธิบายเรื่องโรค การปฏิบัติตัว อธิบายเรื่องยา ADR และ Adherence และติดตาม ADR ,Adherence ขณะ admit ค้นหา care giver และมอบหมายภารกิจ แนะนำให้คนใกล้ชิตมาตรวจคัดกรอง ค้นหาปัญหาของผู้ป่วย ติดต่อประสานงานกับ รพ.สต. เพื่อติดตามผู้ป่วย Admit ward 14 วัน * ผู้ป่วย ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าป่วยวัณโรค อธิบายเรื่องโรค การปฏิบัติตัว อธิบายเรื่องยา ADR และ Adherence แนะนำ กำชับให้คนใกล้ชิตมาตรวจคัดกรอง discharge พบปะพูดคุย ติดตาม ADR ,Adherence ติดตามการมาคัดกรองของญาติ ค้นหาปัญหาของผู้ป่วย นัดมารับยาทุกเดือน การติดตามเยี่ยมบ้าน พบปะพูดคุย ติดตาม ADR ,Adherence ติดตามการมาคัดกรองของญาติ ค้นหาปัญหาของผู้ป่วย ปัญหาที่ค้นพบ 5 ป เพื่อแก้ปัญหา *ผู้ป่วยบางรายอาจได้รับการพิจารณาให้ discharge ก่อนครบ 14 วันได้

กระบานการเตรียมความพร้อมเพื่อรับยา กิจกรรมในคลินิก HIV พบปะพูดคุยกับผู้ป่วยทำความรู้จัก อธิบายความจำเป็นในการกินยา ให้คำปรึกษา/คัดกรอง TB by chest X-ray และ sputum AFB เจาะ LAB พื้นฐาน อธิบายเรื่องโรค การปฏิบัติตัว อธิบายเรื่องยา ADR และ Adherence แนะนำเรื่อง care giver ค้นหาปัญหาของผู้ป่วย กระบานการเตรียมความพร้อมเพื่อรับยา ผู้ป่วย ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าติดเชื้อ HIV discharge พบปะพูดคุย ติดตาม ADR ,Adherence ค้นหาปัญหาของผู้ป่วย ติดตาม CD4 ทุก 6 เดือน / VL ปีละครั้ง นัดมารับยาทุกเดือน พบปะพูดคุย ติดตาม ADR ,Adherence ค้นหาปัญหาของผู้ป่วย การติดตามเยี่ยมบ้าน ปัญหาที่ค้นพบ 5 ป เพื่อแก้ปัญหา *ผู้ป่วยบางรายอาจได้รับการพิจารณาให้ discharge ก่อนครบ 14 วันได้

ใช้หลัก 5 ป ในการทำงานคลินิกวัณโรค ป1= พบปะพูดคุย : การให้เวลาพูดคุย ซักถาม สัมภาษณ์เชิงลึก กับทั้งตัวผู้ป่วยเอง ญาติ ผู้ดูแล เพื่อนบ้าน ป2= วิเคราะห์ปัญหา สาเหตุ : การวิเคราะห์ปัญหาลงลึกถึงสาเหตุที่แท้จริง หลังจากค้นพบปัญหาของผู้ป่วย ป3= ประชุมทีม : ประชุมทีมวิเคราะห์ปัญหาของผู้ป่วยรายบุคคล เตรียมแผนการแก้ปัญหารายบุคคล ผู้ป่วยรายใดมีปัญหาจะนำเข้าทีมที่ดูแลช่วยกันหาสาเหตุหาแนวทางแก้ไข ป4= ปรองดองของทีม: การร่วมมือกันของทีมสหวิชาชีพในการแก้ไขปัญหาโดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง  ป5= ประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ: การดูแลรอบด้านที่มากไปกว่าการรักษาเอชไอวี  ปัญหาบางปัญหาต้องประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ ในการแก้ไขปัญหา เช่นปัญหาทางสังคม ปัญหาที่อยู่อาศัย ปัญหาเศรษฐกิจ

การส่งต่อผู้ป่วยเพื่อรับการรักษายัง รพท. ป2 วิเคราะห์ปัญหา ป3ประชุมทีม ดูแลรักษาตามแผนการรักษา ป1 พบปะพูดคุย ผู้ป่วย ป4 ปรองดอง(ความร่วมมือของสหวิชาชีพ) ป5 ประสานงานกับหน่วยงานอื่น การติดตามเยี่ยมบ้าน

6. ผลลัพธ์ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น (ข้อมูลก่อนและหลัง) ขอเป็นข้อมูลตัวเลขได้ 3 ปี ผลงาน สิ่งที่เกิดขึ้นหลังการทำงานของเรา ผลที่เกิดขึ้นแก้ปัญหาไหม ยังห่างไกลจากจุดที่คิดไว้แค่ไหน ถึงจุดที่สำเร็จหรือยัง เพราะอะไร

ผลงาน เป้าหมาย ปีงบฯ 2554 ปีงบฯ 2555 ปีงบฯ 2556 จำนวนผู้ป่วยทั้งหมดโรคทั้งหมด 28 38 34 ร้อยละของการขาดยา / default <3 7.14 ร้อยละของการติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วย 100 94.74(36) 97.05(33) อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยที่มีต่อคลินิกวัณโรค >90% 70 95 จำนวนผู้ใกล้ชิด ญาติผู้ป่วยที่มารับการคัดกรองตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่

ถ่ายรูปตารางการให้บริการ ผลที่เกิดขึ้นสามารถลดปัญหาผู้ป่วยขาดยาและล้มเหลวในการรักษาได้ และถึงจุดสำเร็จแล้ว ถึงแม้ผู้ป่วยบางรายยังขาดการตระหนักในการดูแล/รักษาตนเอง เจ้าหน้าที่ต้องคอยเอายาไปให้ที่บ้าน แต่สุดท้ายผู้ป่วยก็ได้รับการรักษาด้วยยา และการใส่ใจของเจ้าหน้าที่จนครบคอสการรักษา ซึ่งถ้าเป็นก่อนหน้านี้ผู้ป่วยอาจขาดยาและทำให้ผลการรักษาล้มเหลว หรือเกิดเชื้อดื้อยาได้

7.บทเรียนเพื่อการแบ่งปัน การพูดคุยโดยมีเวลาให้กับผู้ป่วยอย่างเต็มที่ ทำให้ผู้ป่วยคลายกังวล เกิดความไว้วางใจ และนำมาซึ่งการตัดสินใจร่วมกันในการแก้ไขปัญหา และการวางแผนการรักษาโดยผู้ป่วยมีส่วนร่วม การรักษาแบบตั้งรับโดยที่เจ้าหน้าที่ไม่เคยรุกคืบลงไปหาผู้ป่วยถึงบ้านทำให้เรารับทราบข้อมูล/บริบทของผู้ป่วยแบบไม่ครอบคลุมทำให้ผลการรักษาอาจไม่เป็นไปตามที่เจ้าหน้าที่คาดคิด หรือเกิดการล้มเหลวได้ การลงเยี่ยมบ้านผู้ป่วยวัณโรคทำให้ทราบปัญหาที่แท้จริงของผู้ป่วย เช่น ปัญหาเศรษฐกิจ การติดเหล้า การมีภรรยาหลายคน ปัญหาครอบครัว ฯลฯ และสามารถนำข้อมูลที่แท้จริง ปัญหาที่ได้เจอจริงๆ มาแก้ปัญหาให้กับผู้ป่วย แบบ case to case โดยให้ผู้ป่วย care giver และญาติ มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ /วางแผนการรักษา การแก้ปัญหาแบบ case to case คือการแก้ปัญหาที่แท้จริงของผู้ป่วย เพราะผู้ป่วยแต่ละรายย่อมมีบริบทของตนเอง เพราะฉะนั้นปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยแต่ละรายจึงเป็นปัญหาเฉพาะตน

8. สิ่งที่อยากฝากไว้ให้คนอื่นรู้ กิจกรรม เหล่านี้ สามารถขยายผลไปสู่ที่อื่นได้ หากจะขยายรับไปทำบ้าง ควรต้องมีปัจจัยอะไรบ้างที่ต้องรู้ และเตรียมตัวไว้ มีเจ้าหน้าที่แบบสหวิชาชีพคอยให้บริการที่คลินิกแบบเต็มเวลา (หรือเฉพาะช่วงเวลาที่คลินิกเปิดบริการ) เตรียมตัวเตรียมใจให้พร้อม รักงานการเยี่ยมบ้าน ไม่ห่วงสวย