วิวัฒนาการการศึกษา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การส่งเสริมและสนับสนุน ให้สหกรณ์เป็นวาระ แห่งชาติ.
ฝ่ายสภา บทบาทในฐานะนักพัฒนาท้องถิ่น ฝ่ายบริหาร บทบาทผู้นำ
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
บทที่ 6 การจัดการองค์การ.
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี อนันต์ สิทธิวัฒนานนท์
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
วิสัยทัศน์การจัดการความรู้ กรมชลประทาน กรมชลประทานมุ่งจัดการ ความรู้ สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ความคืบหน้า การจัดทำฐานข้อมูลด้าน ความมั่นคง ระเบียบวาระ ที่ ๓. ๑.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
สรุป การเมืองการปกครองท้องถิ่น ไทย POL 341 ผศ. ดร. ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร คณะรัฐศาสตร์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต.
ขอบเขตการศึกษาวิชารัฐประศาสน ศาสตร์. โครงสร้างและอำนาจ หน้าที่ ขอบเขตการศึกษาวิชารัฐ ประศาสนศาสตร์ บุคลากร กระบวนการ.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism Theory)
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
หลักการ และ วิธีการ ของ บี.-พี.
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่ บทที่ 11 การจูงใจ (MOTIVATION)
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
องค์การและการจัดการ Organization and Management
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
Legal Culture วัฒนธรรมทางกฎหมาย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การบริหารจัดการ เชิงสถานการณ์ (Situaional Management)
เยาวเรศ ก้านมะลิ 1 อรัญ ซุยกระเดื่อง2
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
จริยธรรม (Ethics) คืออะไร
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
ความหมาย และ คำจำกัดความของคำว่า “ รัฐประศาสนศาสตร์ “
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
วิวัฒนาการทฤษฎีการจัดการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิวัฒนาการการศึกษา

วิวัฒนาการการศึกษา หรือ พัฒนาการการศึกษา แบ่งออกเป็นยุค หรือ แบ่งตามกระบวนทัศน์ หรือพาราไดม์(paradigm)

วิวัฒนาการการศึกษา รปศ. ในโลกตะวันตก วิวัฒนาการการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์ วิวัฒนาการการศึกษา รปศ. ในโลกตะวันตก ค.ศ. 1887-1950 สมัยทฤษฎีดั้งเดิม ค.ศ. 1950-1970 สมัยทฤษฎีท้าทายหรือวิกฤติการณ์ด้านอัตลักษณ์ครั้งแรก ค.ศ. 1960-1970 สมัยวิกฤติการณ์ด้านอัตลักษณ์ครั้งที่สอง ค.ศ. 1970-ปัจจุบัน สมัยทฤษฎีและแนวการศึกษา รปศ.สมัยใหม่ พิทยา บวรวัฒนา (2541)

ค.ศ. 1887-1950 สมัยทฤษฎีดั้งเดิม (ยุคคลาสสิก) (Classic theory) วิวัฒนาการการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์ วิวัฒนาการการศึกษา รปศ. ในโลกตะวันตก ค.ศ. 1887-1950 สมัยทฤษฎีดั้งเดิม (ยุคคลาสสิก) (Classic theory) การบริหารแยกออกจากการเมือง ระบบราชการ วิทยาศาสตร์การจัดการ และ หลักการบริหาร พิทยา บวรวัฒนา (2541)

วิวัฒนาการการศึกษา รปศ. ในโลกตะวันตก วิวัฒนาการการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์ วิวัฒนาการการศึกษา รปศ. ในโลกตะวันตก ค.ศ. 1950-1960 สมัยทฤษฎีท้าทายหรือวิกฤติการณ์ด้านอัตลักษณ์ครั้งแรก หรือ ยุคการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ (Human Relations Management theory) ทฤษฎีและแนวการศึกษาเรื่อง การบริหาร คือ การเมือง ระบบราชการแบบไม่เป็นทางการ มนุษยสัมพันธ์ และ ศาสตร์การบริหาร พิทยา บวรวัฒนา (2541)

วิวัฒนาการการศึกษา รปศ. ในโลกตะวันตก วิวัฒนาการการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์ วิวัฒนาการการศึกษา รปศ. ในโลกตะวันตก ค.ศ. 1960-1970 สมัยวิกฤติการณ์ด้านอัตลักษณ์ครั้งที่ 2 หรือ ยุคการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Science management theory)  แนวความคิดทางพฤติกรรมศาสตร์และ รัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่ พิทยา บวรวัฒนา (2541)

วิวัฒนาการการศึกษา รปศ. ในโลกตะวันตก วิวัฒนาการการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์ วิวัฒนาการการศึกษา รปศ. ในโลกตะวันตก ค.ศ. 1970-ปัจจุบัน สมัยทฤษฎีและแนวการศึกษา รปศ.สมัยใหม่ หรือ ยุคการบริหารสมัยใหม่ (Modern Management) ทฤษฎีและแนวการศึกษาเรื่อง นโยบายสาธารณะ ทางเลือกสาธารณะ เศรษฐศาสตร์การเมือง ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การ การจัดการแบบประหยัด ชีวิตองค์การ การออกแบบองค์การสมัยใหม่ ฯลฯ พิทยา บวรวัฒนา (2541)

พัฒนาการการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์

ยุคก่อน WW II ยุคหลัง WW II ถึง 1970 ยุค 1970 ถึง ปัจจุบัน

พัฒนาการการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ ยุคก่อน WW II

พัฒนาการการศึกษา รปศ. : ยุคก่อน WW II Woodrow Wilson (1887) - บทความเรื่อง The Study of Administration - politics / administration dichotomy (แนวความคิดการบริหารแยกจากเมือง)

พัฒนาการการศึกษา รปศ. : ยุคก่อน WW II Woodrow Wilson (1887) 1. การบริหารควรถูกแยกออกจากการเมือง โดยเห็นว่า หน้าที่ของฝ่ายบริหาร ก็คือ การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ ส่วนหน้าที่ของฝ่ายการเมือง ก็คือ การกำหนดนโยบายหรือหน้าที่ในการออกกฎหมาย

พัฒนาการการศึกษา รปศ. : ยุคก่อน WW II Woodrow Wilson (1887) 2. สนับสนุนให้มีการปฏิรูประบบการบริหารงานบุคคล โดยให้แยกข้าราชการประจำออกจากข้าราชการการเมือง เพื่อป้องกันการแทรกแซงทางการเมือง

พัฒนาการการศึกษา รปศ. : ยุคก่อน WW II Woodrow Wilson (1887) 3.การเพิ่มอำนาจฝ่ายบริหารให้สามารถคานอำนาจของฝ่ายการเมือง ในการบริหารและปกครองประเทศ

พัฒนาการการศึกษา รปศ. : ยุคก่อน WW II Frank Goodnow (1900) - นักรัฐศาสตร์ จาก Columbia University - สนับสนุนแนวคิดการเมืองแยกออกจากการบริหาร - หนังสือชื่อ Politics and Administration

พัฒนาการการศึกษา รปศ. : ยุคก่อน WW II Frederick W. Taylor (1911) บทความ The Principles of Scientific Management หนังสือ Scientific Management - พัฒนาวิธีการใหม่ของการจัดการโรงงานในภาคเอกชน แต่ก็มีการนำแนวคิดมาใช้ในภาครัฐ - บิดาแห่งการบริหารจัดการแบบวิทยาศาสตร์(The father of Scientific Management) - มีพื้นฐานความรู้ทางด้านวิศวกร - ผู้จัดการโรงงานในเมืองฟิลาเดลเฟีย ในขณะนั้นปัญหาของโรงงานอุตสาหกรรมที่ประเทศอเมริกาในขณะนั้นประสบอยู่คือปัญหาในเรื่องประสิทธิภาพการผลิต การบริหารงานตามหลักวิทยาศาสตร์การจัดการเป็นวิธีที่ดีกว่าการอาศัยหลักการความเคยชิน

พัฒนาการการศึกษา รปศ. : ยุคก่อน WW II Frederick W. Taylor (1911) บทบาทของนักบริหาร 1. สร้างหลักการทำงานที่เป็นวิทยาศาสตร์สำหรับการทำงานในขั้นตอนต่างๆ ของงาน 2. คัดเลือกคนงานตามหลักกฎเกณฑ์วิทยาศาสตร์ 3. พัฒนาคนงานให้เรียนรู้หลักการทำงานแบบวิทยาศาสตร์ 4. เน้นการจัดการแบบมีระบบและหลักเกณฑ์ 5. สร้างบรรยากาศการร่วมมือระหว่างผู้บริหารกับคนงาน การบริหารงานตามหลักวิทยาศาสตร์การจัดการเป็นวิธีที่ดีกว่าการอาศัยหลักการความเคยชิน

พัฒนาการการศึกษา รปศ. : ยุคก่อน WW II Frederick W. Taylor (1911) - การบริหารงานที่ดีต้องทำตามวิธีปฏิบัติที่ฝ่ายบริหาร ศึกษาแล้วว่าดีที่สุด (One-Best Way) - ไม่เห็นความสำคัญของคนงาน คนงานเปรียบเสมือนเครื่องจักรที่ สามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลง หรือ ทดแทนได้ เพื่อตอบสนองต่อการเพิ่มผลผลิตเป็นปัจจัยสำคัญ การบริหารงานตามหลักวิทยาศาสตร์การจัดการเป็นวิธีที่ดีกว่าการอาศัยหลักการความเคยชิน

พัฒนาการการศึกษา รปศ. : ยุคก่อน WW II Max Weber (1911) นักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน - Bureaucracy (การจัดองค์การแบบระบบราชการ) - Theory of domination (การได้มาซึ่งอํานาจของบุคคล) เสนอแนวคิดเกี่ยวกบการจัดองค์การขนาด ใหญ่ที่มีรูปแบบที่ เรียกว่า “ระบบราชการ” หลักการการบริหารแบบระบบราชการ (Bureaucracy) เป็นรูปแบบการบริหารที่ สามารถนํามาซึ่งความสําเร็จสูงสุดในการดําเนินงานต่างๆ แนวความคิดของ Max Weber มองว่าระบบราชการ(Bureaucracy) เป็นรูปแบบขององค์กรในอุดมคติที่พึงประสงค์

พัฒนาการการศึกษา รปศ. : ยุคก่อน WW II Leonard White (1926) - หนังสือชื่อ Introduction to the Study of Public Administration, 1926 - ตำราเล่มแรกของวิชา รปศ. - เสนอหลัก 4 ประการที่เป็นรากฐานการศึกษา รปศ.

พัฒนาการการศึกษา รปศ. : ยุคก่อน WW II Leonard White (1926) 1. การบริหารเป็นกระบวนการหนึ่งเดียวที่สามารถศึกษาได้อย่างเป็นระเบียบ ทั้งระดับชาติ ระดับมลรัฐ และระดับท้องถิ่น (Administration is a unitary process that can be studied uniformly, at the federal, state, and local levels) 2. พื้นฐานของการศึกษามาจากการจัดการ ไม่ใช่กฎหมาย (The basis for study is management, not law) 3. การบริหารยังคงเป็นศิลปะ แต่แนวคิดในการเปลี่ยนไปสู่ศาสตร์เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้และคุ้มค่าต่อการศึกษา (Administration is still art but the ideal of transformance to science is feasible and worthwhile) 4. การบริหารได้เป็น และจะยังคงเป็นหัวใจของปัญหาของรัฐบาลสมัยใหม่ต่อไป (Administration has become and will continue to be the heart of the problem of modern government)

พัฒนาการการศึกษา รปศ. : ยุคก่อน WW II Henri Fayol (1942) ผู้จัดการ/วิศวกร ในโรงงานในฝรั่งเศส - หนังสือ General and Industrial Management - หลักการบริหารจัดการ 14 ประการ ประการที่1 หลักอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ประการที่2 หลักของการมีผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียว ประการที่3 หลักของการไปในทิศทางเดียวกัน ประการที่4 หลักสายการบังคับบัญชา ประการที่5 หลักของการแบ่งงานกันทำ ประการที่6 หลักความมีระเบียบวินัย ประการที่7 หลักประโยชน์ของส่วนบุคคลเป็นรองจากประโยชน์ส่วนรวม ประการที่8 หลักของการให้ผลตอบแทน ประการที่9 หลักของการรวมอำนาจ ประการที่10 หลักความเป็นระเบียบเรียบร้อย ประการที่11 หลักความเสมอภาค ประการที่12 หลักความมั่นคงในการทำงาน ประการที่13 หลักความคิดริเริ่ม ประการที่14 หลักความสามัคคี สรุปหลักการบริหารของ Henri Fayol 1.การวางแผน 2.การจัดองค์กร 3.การบังคับบัญชาสั่งการ 4.การประสานงาน 5.การควบคุม

Henri Fayol Max Webber ระบบราชการ (Bureaucracy) แนวคิดการแยก การบริหารออกจากการเมือง การศึกษาหลักการ และ เทคนิค การบริหารที่มีประสิทธิภาพ เผยแพร่หลักการบริหาร 14 ประการ (ตีพิมพ์ในหนังสือ General and Industrial Management) ในปี 1942 Henri Fayol Max Webber ระบบราชการ (Bureaucracy) อำนาจ ผู้ปกครอง ผู้ถูกปกครอง การยอมรับ เพื่อให้การใช้อำนาจในการปกครองได้มีประสิทธิภาพ ต้องอาศัยกลไกด้านการบริหารเข้ามาช่วย

แยกการบริหาร(Bureaucracy)ออกจากการเมือง(Politics) รัฐประศาสนศาสตร์ยุคก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง แยกการบริหาร(Bureaucracy)ออกจากการเมือง(Politics) การบริหาร อาศัยหลักการวิทยาศาสตร์มาศึกษา หลักเกณฑ์ เพิ่มประสิทธิภาพ หลักความประหยัดคุ้มค่า

การได้มาซึ่งอำนาจตามแนวคิดของ Max Webber 1. แบบที่อาศัยจารีตประเพณี (traditional domination) - อำนาจจะได้มาจากความเชื่อหรือประเพณีนิยมและสิ่งที่ถือปฏิบัติกันมาในอดีต ได้แก่ ระบบศักดินา (feudal) 2. แบบที่อาศัยบารมี (charismatic domination) - ผู้บริหารที่มีคุณสมบัติพิเศษหรือบารมีที่จะให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาเกิดความศรัทธาในตัวผู้บริหารและพร้อมที่จะให้ความสนับสนุน ได้แก่ ระบบเผด็จการ (dictation) 3. แบบที่อาศัยกฎหมายและการมีเหตุมีผล (legal domination) - การเคารพและปฏิบัติตามกฎหมาย เพราะเห็นว่ากฎหมายได้รับการกลั่นกรองแล้ว โดยทั้งผู้นำและผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาต่างยอมรับ ได้แก่ ระบบราชการ (bureaucracy)

พัฒนาการการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ ยุคหลัง WW II ถึง 1970

พัฒนาการการศึกษา รปศ. : ยุคหลัง WW II ถึง ค.ศ. 1970

พัฒนาการการศึกษา รปศ. : ยุคหลัง WW II ถึง ค.ศ. 1970 Paul H. Appleby (1945) หนังสือ “Big Government” - การบริหารภาครัฐเป็นเรื่องของการเมืองและต้องเกี่ยวข้องกับการเมือง - ส่งเสริมการให้กลุ่มต่างๆ เข้ามาร่วมกำหนดนโยบายสาธารณะ - ผู้บริหารต้องมีจริยธรรม

พัฒนาการการศึกษา รปศ. : ยุคหลัง WW II ถึง ค.ศ. 1970 Robert A. Dahl (1947) หนังสือ “The Science of Public Administration” สนับสนุนให้วิชารัฐประศาสนศาสตร์เป็นวิทยาศาสตร์โดย ศึกษาพฤติกรรมมนุษย์และใช้วิธีการศึกษาแบบเปรียบเทียบ (Comparative)

พัฒนาการการศึกษา รปศ. : ยุคหลัง WW II ถึง ค.ศ. 1970 Dwight Waldo (1948) หนังสือ “The Administrative State” รัฐประศาสนศาสตร์ควรสนใจเรื่องของค่านิยม ประชาธิปไตย และความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับการบริหาร เรียกร้องให้นักรัฐประศาสนสตร์คนอื่นๆหันมาสนใจศึกษารัฐศาสตร์ในลักษณะที่มุ่งศึกษาพฤติกรรมต่างๆ ของรัฐบาลในการกำหนดนโยบายสาธารณะให้มากขึ้น แทนที่จะศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ทางการเมืองและการบริหารเพียงอย่างเดียว

พัฒนาการการศึกษา รปศ. : ยุคหลัง WW II ถึง ค.ศ. 1970 Elton Mayo (1927) - Anti-Scientific Management - Human Relations - Hawthorne Studies

Elton Mayo, William Dickson ทัศนคติ และ พฤติกรรมกลุ่ม รัฐประศาสนศาสตร์ยุคหลังสงครามโลกครั้งที่สองถึง ค.ศ. 1970 Elton Mayo, William Dickson ศึกษาความสัมพันธ์ ของ สภาพแวดล้อม กับ ประสิทธิภาพการทำงานของคน ในโรงงานWestern Electric Company ในเมือง Hawthorne เป็นกลุ่มนักวิชาการด้าน รปศ. ที่เน้นมนุษยสัมพันธ์ซึ่งให้ความสนใจต่อปัจจัยมนุษย์ เน้นการศึกษาธรรมชาติของแรงจูงใจต่างๆ ผลการศึกษา ทัศนคติ และ พฤติกรรมกลุ่ม การทดลองที่ฮอร์ธอร์น(Hawthorne Experiments) หรือ การศึกษาที่ฮอร์ธอร์น Hawthorne Studies มีผลต่อประสิทธิภาพ ท้าทายหลักการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ของ Taylor ที่มองความเป็นมนุษย์ตามแบบหลักการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ เพียงอย่างเดียว ที่ดูเป็นเสมือนเครื่องจักรเครื่องกล

พัฒนาการการศึกษา รปศ. : ยุคหลัง WW II ถึง ค.ศ. 1970 Abraham Maslow (1954) ทฤษฎีลำดับขั้นของความต้องการ (Maslow’s Hierarchy of human needs) หน้าที่ของผู้บริหารคือ เพื่อจัดหาหนทางสนองความต้องการของผู้ทำงานซึ่งส่งเสริมเป้าหมายขององค์การด้วย  และเพื่อขจัดสิ่งที่มาขัดขวางการสนองความต้องการและทำให้เกิดความไม่สบายใจ เจตคติในทางลบ 

พัฒนาการการศึกษา รปศ. : ยุคหลัง WW II ถึง ค.ศ. 1970 Chris Argyris (1957) - เสนอแนวความคิดทางการจัดการเชิงพฤติกรรมศาสตร์ - Personality and Organization (1957) - เสนอแนวคิดการเติบโตเป็นผู้ใหญ่(Mature Man) พัฒนาการของคนจะเริ่มต้นจากบุคลิกภาพแบบเด็ก (Infancy) ไปสู่การมีวุฒิภาวะ (Maturity) ภาวะเด็ก (Infancy) เฉื่อยชา (Passivity) พึ่งพาคนอื่น (Dependency) มีพฤติกรรมไม่สลับซับซ้อน (Limited Behavioral) ไม่สนใจในเรื่องลึกซึ้ง (Shallow Interest) มองปัญหาเฉพาะหน้า (Short Time Perspective) ชอบอยู่ใต้บังคับบัญชา (Subordinate Pollster) ไม่ตระหนักในตน (Lack of Self-awareness) บรรลุวุฒิภาวะ (Maturity) ตื่นตัวเสมอ (Activity) มีอิสระ (Independence) มีพฤติกรรมสลับซับซ้อน (Differentiate Behavioral) สนใจในเรื่องที่ลึกซึ้ง (Deeper Interest) มองการณ์ไกล (Long time Perspective) เป็นตัวของตัวเอง (Equal) มีความตระหนักในตนและควบคุมตนเองได้ (Self Control)

พัฒนาการการศึกษา รปศ. : ยุคหลัง WW II ถึง ค.ศ. 1970 Frederick Herzberg (1959) - ทฤษฎีการจูงใจกับสุขวิทยา (Motivator-Hygiene Theory) การทำงานต้องมีการการใช้แรงจูงใจหรือการกระตุ้นการทำงาน อันนำมาซึ่งความสำเร็จ มีความสุขหรือมีความพอใจในการปฏิบัติงาน

พัฒนาการการศึกษา รปศ. : ยุคหลัง WW II ถึง ค.ศ. 1970 Douglas McGregor (1960) - เป็นศาสตราจารย์ด้านการบริหารของ MIT - The Human Side of Enterprise - Theory X – Theory Y (ทฤษฎีแรงจูงใจตามทฤษฎี  X และทฤษฎี  Y ของแมคเกรเกอร์) Donglas McGregor  เห็นว่าคนมี 2 ประเภท   และการบริหารคนทั้ง 2 ประเภท  ต้องใช้วิธีการบริหารแตกต่างกัน

หลักการบริหารของผู้นำตามสมมุติฐานตามทฤษฎี X-Y พัฒนาการการศึกษา รปศ. : ยุคหลัง WW II ถึง ค.ศ. 1970 Douglas McGregor (1960) หลักการบริหารของผู้นำตามสมมุติฐานตามทฤษฎี X-Y - ควบคุมการทำงานใกล้ชิด - สอดส่องดูแลอย่างสม่ำเสมอ - ให้เสรีภาพ และโอกาสน้อย - ให้เสรีภาพในการทำงาน - เปิดโอกาสให้คิดและริเริ่มสร้างสรรค์ ทำงานด้วยตนเอง - ควบคุมอย่างห่าง ๆ กว้าง ๆ Donglas McGregor  เห็นว่าคนมี 2 ประเภทและการบริหารคนทั้ง 2 ประเภท  ต้องใช้วิธีการบริหารแตกต่างกัน

- The Functions of the Executives พัฒนาการการศึกษา รปศ. : ยุคหลัง WW II ถึง ค.ศ. 1970 Chester I. Barnard - The Functions of the Executives ให้ความสำคัญในการคิดศาสตร์แห่งการบริหาร เช่น - การจัดระบบความร่วมมือการทำงานในองค์การ - การดำรงอยู่ขององค์การ ขึ้นกับความสำเร็จ - ความอยู่รอดขององค์การ ขึ้นกับความสามารถของฝ่ายบริหาร - เน้น ความร่วมมือระหว่างคนในองค์การ และ องค์การกับสมาชิก ภายใต้การแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ระหว่างกัน เป็นต้น สนับสนุนให้การบริหารเป็นส่วนหนึ่งของศาสตร์การบริหาร

เสนอแนวคิดใหม่ การบริหารเป็นส่วนหนึ่งของการเมือง รัฐประศาสนศาสตร์ยุคหลังสงครามโลกครั้งที่สองถึง ค.ศ. 1970 นักวิชาการไม่เห็นด้วยกับแนวคิดแยกการบริหาร(Bureaucracy)ออกจากการเมือง(Politics) การนำเสนอในวารสาร Public Administration Review ในปี ค.ศ. 1949 การบริหารราชการมีรูปแบบความแตกต่างจากบริหารองค์การรูปแบบอื่นๆ และในความเป็นจริงแล้วการบริหารราชการแยกออกจากกระบวนทางการเมือง เสนอแนวคิดใหม่ การบริหารเป็นส่วนหนึ่งของการเมือง ในช่วงเวลานี้ได้เกิดข้อเสนอการบริหารแบบ “ระบบราชการที่ไม่เป็นทางการ” ซึ่งพยายามชี้ให้เห็นว่า แท้จริงแล้วเป้าหมายขององค์การขึ้นอยู่กับความสามารถขององค์การในการควบคุมพฤติกรรม และขึ้นอยู่กับลักษณะความสัมพันธ์แบบไม่เป็นทางการภายในองค์การนั้นๆ

ควรให้ความสำคัญของโครงสร้างที่ไม่เป็นทางการของระบบราชการ รัฐประศาสนศาสตร์ยุคหลังสงครามโลกครั้งที่สองถึง ค.ศ. 1970 สรุปภาพรวม แนวคิดที่ 1 แนวคิดที่ 2 แนวคิดที่ 3 แนวคิดที่ 4 นำเสนอแนวคิด การบริหารเป็นส่วนหนึ่งของการเมือง เปรียบเสมือนเหรียญสองด้านที่แยกออกจากกันไม่ได้ ควรให้ความสำคัญของโครงสร้างที่ไม่เป็นทางการของระบบราชการ เน้นให้ความสำคัญกับความเป็นปัจเจกบุคคล และพฤติกรรมกลุ่มต่อประสิทธิภาพขององค์การ ผ่านหลักการ “มนุษยสัมพันธ์” ศึกษาพฤติกรรมเชิงประจักษ์ของพฤติกรรมการบริหาร ให้ความเห็นว่า “การบริหาร เป็นส่วนหนึ่งของศาสตร์การบริหาร”

พัฒนาการการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ ยุค 1970 ถึง ปัจจุบัน

พัฒนาการการศึกษา รปศ. ยุค 1970 ถึง ปัจจุบัน พัฒนาการการศึกษา รปศ. : ยุค 1970 ถึง ปัจจุบัน พัฒนาการการศึกษา รปศ. ยุค 1970 ถึง ปัจจุบัน - การท้าทายวิกฤติการณ์ของ รปศ. ครั้งที่ 2 - เห็นว่า ทฤษฎีต่างๆ เป็นการพัฒนาให้เป็นวิชาการเกินไปกว่าการนำไปใช้ - ปี 1968 นักวิชาการ รปศ. ประชุมที่หอประชุม Minnowbrook, Syracuse University - ”ทฤษฎีเพื่อความสอดคล้องกับความต้องการของสังคม” หรือ ยุคหลังพฤติกรรมศาสตร์ (post-behavioralism)

Post-Behavioralism ยุคตั้งแต่คริสต์ศักราชที่ 1970 จนถึงปัจจุบัน พัฒนาการการศึกษา รปศ. : ยุค 1970 ถึง ปัจจุบัน ยุคตั้งแต่คริสต์ศักราชที่ 1970 จนถึงปัจจุบัน การบริหารเป็นส่วนหนึ่งของการเมือง การบริหารเป็นส่วนหนึ่งของศาสตร์การบริหาร สอดคล้องกับความต้องการของคนในสังคม Post-Behavioralism รัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่ (New Public Administration)

New Public Administration พัฒนาการการศึกษา รปศ. : ยุค 1970 ถึง ปัจจุบัน Post-Behavioralism การให้ความสนใจเรื่องที่สอดคล้องกับความต้องการของสังคม (relevance) การให้ความสำคัญกับค่านิยม (value) การให้ความสำคัญต่อความเสมอภาคทางสังคม (social equity) การรู้จักริเริ่มเปลี่ยนแปลง (change) และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง New Public Administration