บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
Specific Factor Model ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
New Trade Theory ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
Lecture 8.
Production and Cost.
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
Efficiency & Economy DRMC. ทางเลือก INPUTS OUTPUTS Land, Labor, Capital Consumer Goods Defense Goods Investment Items, etc..
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิต (Cost of Production)
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 1 บทนำ เศรษฐศาสตร์คืออะไร เศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
EC961 วิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
ต้นทุนการผลิต (Cost of Production).
การผลิตและต้นทุนการผลิต
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์การผลิต.
การบริหารการผลิต Operation Management
ทฤษฎีนีโอคลาสสิค.
ทฤษฎีการผลิต.
Sheet Ac 313 การปันส่วนค่าใช้จ่ายการผลิต
ประเภทบุคลากร นักวิชาการสาธารณสุข, นักทรัพยากรบุคคล, จพ.ธุรการ Production Line 1.จัดทำแผนบุคลากร 2.จัดประชุม/สัมมนา 3.ประเมินผลและจัดการความรู้ 4.ร่วมผลิตบุคลากรทางการแพทย์
การแข่งขันทาง การตลาด และตัวแปรทาง เศรษฐกิจ. การแข่งขันทางการตลาด (Competition) พฤติกรรมของผู้บริโภคไทยได้มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ในช่วง.
คณะกรรมการบริหารการเงินการคลังเขตสุขภาพที่ 10 9 กันยายน 2558 สรุปผลการดำเนินงานปี 2558 และทิศทางปี 2559 Project Manager CFO Project Manager CFO เขตสุขภาพที่
Foundations of Economic Thinking:
การแต่งตั้ง เลื่อน ย้าย ข้าราชการ
ลักษณะเฉพาะของการเงินสหกรณ์
Flexible Budgeting and
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การค้าระหว่างประเทศและกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ
การจัดการการผลิตและการปฎิบัติการ
นโยบายการพัฒนาสถานประกอบการเพื่อสุขภาพมุ่งสู่คุณภาพ
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต
สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง
การแทนข้อมูล ในคอมพิวเตอร์ ผศ. กัลยาณี บรรจงจิตร 31/12/61.
“ระบบการจัดเก็บข้อมูลบริการ เพื่อเชื่อมโยงกับระบบบัญชี”
โครงการพัฒนานวัตกรรมเพื่อขับเคลื่อนงานครอบครัวอบอุ่น
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
บทที่ 4 การจัดการสินค้าคงคลัง
การใช้คู่มือประเมินความสามารถทางเชาวน์ปัญญา เด็กอายุ 2-15 ปี
บทที่ 3 พฤติกรรมผู้ผลิต.
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 25..
กฎหมายอาญา(Crime Law)
เอกสารประกอบคำบรรยาย เรื่อง
ผู้วิจัย ศิริมา เที่ยงสาย
ดร. อำนาจ วิชยานุวัติ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 27 มกราคม 2562
บทที่ 7: นโยบายของรัฐและปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการพัฒนาการเกษตร
บทที่ 2 แนวคิดทางด้านต้นทุน ชนิดต้นทุน
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
การผลิตและการจัดการการผลิต
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
การจัดการกระจายสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิทยาศาสตร์
การเป็นผู้ประกอบการและการสร้างกิจการใหม่
การกระจายอายุของบุคลากร เวชศาสตร์เขตร้อน
การดำเนินงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี
บทที่ 1 หลักเบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
การเงินระหว่างประเทศ
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
ผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพปี 59ซึ่งเราจะทำการสำรวจปีละ 1 ครั้ง ในเดือน มิ.ย. – ส.ค. ของทุกปี ข้อมูลนี้จะเป็นข้อมูล base line ในปีงบ 60 และในเดือนธันวาคมนี้จะมีการปรับมาตรฐานผู้ทำการสำรวจเพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน.
อุปสงค์ อุปทาน ดุลยภาพของตลาด
การจัดการงานคลังและงบประมาณ ครั้งที่ 5 อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ประวัติการศึกษาไทย หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู
บทที่ 2 การจัดการเงินทุนขั้นแรกของธุรกิจขนาดย่อม
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5) บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5) ต้นทุนการผลิต (บทที่ 6) รายรับจากการผลิต (บทที่ 6)

การผลิต (Production) การผลิต : กระบวนการหรือกิจกรรมใดๆ ที่เปลี่ยนแปลงหรือแปรรูปปัจจัยการผลิตให้เป็นสินค้าและบริการ สินค้าและบริการที่ผลิตได้ถือเป็นเศรษฐทรัพย์ เป้าหมายของผู้ผลิต คือ กำไรสูงสุด (Maximize Profit)

ประสิทธิภาพในการผลิต ประสิทธิภาพทางเทคนิค (Technical Efficiency) : วิธีการผลิตที่ใช้ปัจจัยการผลิตน้อยที่สุด โดยให้ผลผลิตเท่ากับวิธีอื่น ประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ (Economic Efficiency) : วิธีการผลิตที่เสียต้นทุนต่ำสุด โดยให้ผลผลิตเท่ากัน เป็นการนำราคา ปัจจัยการผลิตมาพิจารณาด้วย

การผลิตแบ่งออกเป็น 2 ระยะ ระยะสั้น (Short Run) : ช่วงเวลาที่จะต้องมีปัจจัยคงที่อย่างน้อยหนึ่งปัจจัย ดังนั้นการที่จะผลิตสินค้าเพิ่มขึ้นในระยะสั้นทำได้โดยการเพิ่มปัจจัยแปรผัน ระยะยาว (Long Run) : ช่วงระยะเวลาที่ไม่มีปัจจัยใดคงที่ ปัจจัยการผลิตทุกชนิดสามารถเปลี่ยนแปลงได้

การวิเคราะห์การผลิตในระยะสั้น ปัจจัยการผลิตในระยะสั้น ปัจจัยคงที่ (eg. land, capital) ปัจจัยแปรผัน (eg. labor, raw material) ฟังก์ชั่นการผลิต การแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการผลิตต่างๆ และจำนวนผลผลิต เมื่อกำหนดเทคนิคการผลิตให้ Total Product (TP) = f (a1, a2, a3) = f (ปัจจัยคงที่, ปัจจัยแปรผัน)

ความหมายและความสัมพันธ์ระหว่าง ผลผลิตแบบต่างๆ ผลผลิตรวม (Total Product : TP) : ผลผลิตทั้งหมดที่ผู้ผลิตได้รับ จากการใช้ปัจจัยการผลิตแบบแปรผันร่วมกับปัจจัยคงที่ ผลผลิตเพิ่ม (Marginal Produc : MP) : จำนวนผลผลิตที่เพิ่มขึ้น เมื่อใช้ปัจจัยการผลิตเพิ่มขึ้น 1 หน่วย MP = TP / L, MPn = TPn – TPn-1 ผลผลิตเฉลี่ย (Average Product :) : ผลผลิตทั้งหมดที่คิดเฉลี่ยต่อหน่วยปัจจัยแปรผัน AP = TP / L

ความสัมพันธ์ระหว่าง TP , MP และ AP

ความสัมพันธ์ระหว่าง TP , MP และ AP (continued) TP & MP : Max TP, MP = 0 AP & MP : AP increase, when MP > AP AP decrease, when MP < AP

กฏการลดน้อยถอยลงของผลผลิตเพิ่ม (Law of Diminishing Marginal Physical Returns) ถ้ามีปัจจัยใดปัจจัยหนึ่งคงที่แล้ว การเพิ่มปัจจัยแปรผันขึ้นเรื่อย จะก่อให้เกิดการลดน้อยถอยลงของผลผลิตหน่วยสุดท้ายในที่สุด และผลผลิตหน่วยสุดท้ายอาจจะลดลงเท่ากับศูนย์หรือต่ำกว่าศูนย์ก็ได้

การแบ่งช่วงของการผลิต (Stage of Production)

ทฤษฎีการผลิตระยะยาว การวิเคราะห์การผลิตระยะยาว ทำได้โดยใช้เครื่องมือ การวิเคราะห์การผลิตระยะยาว ทำได้โดยใช้เครื่องมือ - เส้นผลผลิตเท่ากัน (Isoquant Line) - เส้นต้นทุนเท่ากัน (Isocost Line) กฏผลได้ต่อขนาด (Law of return to scale) การประหยัดและไม่ประหยัดเนื่องจากขนาด (Economies of scale and Diseconomies of scale)

เส้นผลผลิตเท่ากัน (Isoquant Line) เส้นที่แสดงการใช้ปัจจัยการผลิต 2 ชนิดในสัดส่วนที่แตกต่างกัน ซึ่งให้ผลผลิตเท่ากัน

อัตราการใช้ปัจจัยการผลิตทดแทนกัน (Marginal Rate of Technical Substitution : MRTS) จำนวนปัจจัยการผลิตชนิดหนึ่งที่ลดลงโดยที่ปัจจัยการผลิตอีกชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้น 1 หน่วย เพื่อให้ได้ผลผลิตจำนวนเท่าเดิม MRTSLK = - K / L : slope of IQ การใช้ปัจจัยการผลิต L เพิ่มขึ้น โดยลดปัจจัยการผลิต K ลง MRTSKL = - L / K การใช้ปัจจัยการผลิต K เพิ่มขึ้น โดยลดปัจจัยการผลิต L ลง

กฎการลดน้อยถอยลงของอัตราการใช้ ปัจจัยการผลิตทดแทนกัน ค่า MRTS ของปัจจัยการผลิต 2 ชนิดจะลดลงเรื่อยๆ เมื่อใช้ปัจจัยการผลิตอีกชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้น และปัจจัยการผลิตอีกชนิดหนึ่งลดลง

เส้นต้นทุนเท่ากัน (Isocost Line) เส้นที่แสดงส่วนผสมของปัจจัยการผลิต 2 ชนิดที่แตกต่างกันที่สามารถซื้อได้ด้วยเงินทุนจำนวนเดียวกัน ปัจจัย K เส้นต้นทุนเท่ากัน slope = - PL / PK 10 4 5 12 ปัจจัย L

การเปลี่ยนแปลงของเส้นต้นทุนเท่ากัน เส้นต้นทุนเท่ากันเปลี่ยนแปลงได้ 2 กรณี คือ ราคาปัจจัยการผลิตเปลี่ยน รูป ก งบประมาณการผลิตเปลี่ยน รูป ข ปัจจัย K ปัจจัย K ปัจจัย L รูป ก ปัจจัย L รูป ข

การใช้ส่วนผสมของปัจจัยการผลิตที่เหมาะสม เงื่อนไขการผลิตที่เหมาะสมกำหนดจากจุดที่เส้นผลผลิตเท่ากันสัมผัสกับเส้นต้นทุนเท่ากัน โดย ณ จุดสัมผัส ค่าความชันของเส้น Isoquant และเส้น Isocost จะมีค่าเท่ากัน ดุลยภาพการผลิต ปัจจัย K ปัจจัย L ที่จุด E ค่าความชันของ Isocost = ค่าความชัน Isoquant = - PL / PK L1 K1 E

เส้นแนวทางขยายการผลิต (The Expansion Path) เส้นที่แสดงส่วนผสมของปัจจัยการผลิตที่เสียต้นทุนต่ำสุด

กฎว่าด้วยผลได้ต่อขนาด (Law of Return to Scale) Increasing Return to Scale : ผลได้ต่อขนาดเพิ่มขึ้นเนื่องจากการประหยัดเนื่องจากขนาด (Economies of Scale) : division of labor, specialization, internal/external economies Constant Return to Scale : ผลได้ต่อขนาดคงที่ Decreasing Return to Scale : ผลได้ต่อขนาดลดลง เนื่องจากการไม่ประหยัด (Diseconomies of scale) :internal/ external diseconomies