องค์การทางการเงินทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แหล่งทุนเพื่อการศึกษาในต่างประเทศ
Advertisements

การสืบค้นข้อมูล IMF  ฐานข้อมูล International Monetary Fund Online Service (IMF) มีเนื้อหา ครอบคลุม ทางด้าน การเงินธุรกิจ  International Financial Statistics.
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด - ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม 2554 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 – 2122
19 th and 20 th May 2013 Chiang Mai, Thailand
การเก็บข้อมูล (Data Collecting)
รอบรู้อาเซียน.
การค้าระหว่างประเทศ (International Trade)
สถานการณ์ ด้านพลังงานของโลก
Globalization and the Law III
1 การพัฒนาความร่วมมือทางการเงิน ในภูมิภาคและโครงสร้างระเบียบ การเงินของโลก เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะ วิกฤติทางการเงิน ฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ และ ปกรณ์
REPRESENTATIVE FULL - BODIED MONEY CREDIT MONEY GRASHAM’S LAW
ส่วนนโยบายรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
ดุลยภาพผู้ผลิตในตอนที่ไม่มีการค้า (Producer Equilibrium in Autarky)
ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับการพัฒนา
วิชาเศรษฐกิจชุมชนท้องถิ่น
บทที่ 9 เศรษฐกิจการค้าและการเงินระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจพอเพียงยุคเอทีเอ็ม โดย ดร
ธาริษา วัฒนเกส ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย 23 กุมภาพันธ์ 2550
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานท้องถิ่น
สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว The Lao People’s Democratic Republic
บทที่ 12 การระดมเงินทุนจากตลาดหลักทรัพย์ระหว่างประเทศ
การเงินระหว่างประเทศ
โลกาภิวัตน์และอำนาจอธิปไตย Globalizaion and Sovereignty
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
ASEAN Becomes Single Market
International Economics Payment among Nation
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
ภาพรวมตลาดทุนไทย เชิงเปรียบเทียบ
กลยุทธ์สร้างความแข็งแกร่งทางการเงินหลังเกษียณ สำหรับข้าราชการไทย
ดุลยภาพผู้ผลิตในตอนที่ไม่มีการค้า (Producer Equilibrium in Autarky)
ความรู้เกี่ยวกับการ นำเข้าและส่งออก
การเบิกจ่ายค่าจ้างเหมาบริการ
องค์กรทางการเงินระหว่างประเทศ
“Exports and Overseas Investment” ณ โรงแรมโซฟิเทล เซ็นทรัล พลาซา
@ North South Initiative
องค์การระหว่างประเทศ น.อ.กฤษฎางค์ สุทัศน์ ณ อยุธยา
GATT & WTO.
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
Globalization and the Law
(Economic Development)
การจัดการการเงินการคลังท้องถิ่น
การเสริมสร้างศักยภาพเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียนที่จังหวัดสระแก้ว กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ.
INB3202 การจัดการการเงินระหว่างประเทศ
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
ข้อเสนอการพัฒนากรมอนามัย โดย คณะทำงานจัดทำข้อเสนอการพัฒนากรมอนามัย โครงการฝึกอบรมนักบริหารรุ่นใหม่ กรมอนามัย รุ่นที่ 1 ปีงบประมาณ 2558.
วาระที่ 3.1 กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ
6 ทศวรรษ สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ*
PMQA. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอกุดรัง
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2560
ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
สิทธิประโยชน์การเป็นสมาชิกกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ
การค้นพบครั้งยิ่งใหญ่ทางวิทยาศาสตร์
The Association of Thai Professionals in European Region
สวัสดิการและประโยชน์เกื้อกูลของข้าราชการ
ผู้ทรงคุณวุฒิ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
ผศ.ดร.พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เมืองไทยกับกองทุน การเงินระหว่างประเทศ (IMF)
กระบวนการยุติธรรมอาญาทางเลือก
อ.ดร.จิรพรรณ โพธิ์ทอง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชนนี สุพรรณบุรี
แนวทางการใช้กระบวนการประเมินความเสี่ยงวัตถุอันตรายทางอุตสาหกรรม
พีสสลัลฌ์ ธำรงศ์วรกุล Ph.D. สุภาภรณ์ ตันตินันทตระกูล Ph.D.
ตัวชี้วัดธรรมาภิบาล (Indicators of Good Governance)
Topic 13 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ องค์การภาครัฐ
โครงการบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการการเงินและการธนาคาร
กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ และ 801
ของรายงานการทำโครงงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

องค์การทางการเงินทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ

IMF (International Monetary Fund) กองทุนการเงินระหว่างประเทศ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐอเมริกา ให้ประเทศสมาชิกกู้เงินไปเพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ เมื่อประเทศสมาชิกประสบปัญหาเศรษฐกิจอย่างรุนแรงถึงขั้นต้องขอความช่วยเหลือ และทำการกู้เงิน โดยจะต้องทำความตกลง เกี่ยวกับแผนการปรับปรุงโครงสร้างเศรษฐกิจ หลักการสำคัญที่กองทุนการเงินระหว่างประเทศใช้เป็นเงื่อนไขกับประเทศผู้ขอกู้

ADB (Asian Development Bank) ธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเซีย เป็นสถาบันการเงินที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อสนับสนุนระบบเศรษฐกิจ และการพัฒนาของประเทศแถบเอเชียและแปซิฟิก ผ่านการให้เงินกู้ และความสนับสนุนด้านเทคนิค โดยความช่วยเหลือของสหประชาชาติ (UN) สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ก่อตั้งโดย คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสำหรับภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก(ESCAP) วัตถุประสงค์ : เพื่อส่งเสริมความเจริญทางเศรษฐกิจและความร่วมมือ ในภูมิภาค ให้ความช่วยเหลือทั้งในด้านการเงินและด้านวิชาการเพื่อเร่งรัดการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศสมาชิกที่กำลังพัฒนาในภูมิภาค

IBRD : International Bank for Reconstruction and Development ธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะและพัฒนา หรือ ธนาคารโลก (World Bank) เป็นองค์กรอยู่ในสังกัดขององค์การสหประชาชาติ(UN) สำนักงานใหญ่ตั้ง ที่กรุงวอชิงตัน ดีซี ประเทศสหรัฐอเมริกา วัตถุประสงค์ : เดิม เพื่อช่วยให้ประเทศสมาชิกได้ทำการฟื้นฟูประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยมุ่งเน้นการลงทุนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและเร่งรัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ปัจจุบันเพื่อฟื้นฟูบูรณะและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก โดยการให้กู้ยืมเงินระยะยาวในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและการลงทุนต่างๆ

UNCTAD การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา (อังค์ถัด) เกิดจากความต้องการที่จะช่วยเหลือทางด้านการค้าและการพัฒนาของประเทศกำลังพัฒนา โดยสมาชิกสหประชาชาติกลุ่มหนึ่งร่วมกันประชุมใน ค.ศ. 1964 เพื่อจัดตั้ง - มุ่งจะให้ความสำคัญกับประเทศกำลังพัฒนา แต่ยึดหลักที่จะไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับเรื่องภายในของประเทศต่างๆ นั่นคือประเทศต่างๆ มีอธิปไตยที่จะค้าและจัดสรรทรัพยากรภายในประเทศของตนอย่างเสรี - เป็นเวทีการหารือและเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ โดยผ่านความร่วมมือการเจรจาและการเป็นส่วนร่วมซึ่งกันและกันตลอดจนเสริมสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ - เป็นเวทีการหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนาระหว่างประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนา - เป็นกลไกหลักของสหประชาชาติ ซึ่งกลุ่มประเทศกำลังพัฒนาหวังจะให้เป็นตัวจักรที่จะก่อสร้างดุลยภาพให้เกิดขึ้นในการพิจารณากำหนดทิศทางและนโยบายเศรษฐกิจมหภาคของโลกทั้งนี้โดยอาศัยเวทีสหประชาชาติซึ่งเป็นเวทีเดียวที่เสียงของกลุ่มประเทศกำลังพัฒนามีน้ำหนักมากกว่าเวทีอื่นๆ ที่โดยส่วนใหญ่ประเทศพัฒนาแล้วเป็นผู้มีบทบาทนำในการกำหนดทิศทาง ซึ่งมักจะสนองตอบต่อผลประโยชน์ต่อกลุ่มของตน และประเทศกำลังพัฒนาจำต้องคล้อยตาม

AIIB : Asian Infrastructure Investment Bank ธนาคารเพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานของเอเชีย สถาบันการเงินในระดับระหว่างประเทศที่รัฐบาลจีนเป็นผู้ริเริ่ม ค.ศ. 2015 มีสำนักงานใหญ่อยู่ในกรุงปักกิ่ง ประเทศจีน วัตถุประสงค์ : ความช่วยเหลือด้านการเงินและแหล่งเงินทุนทางเลือกให้แก่ประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชีย เพื่อนำไปลงทุนในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญ - ผู้ถือหุ้นใหญ่ที่สุดของเอไอไอบี ได้แก่ จีน - ประเทศที่อยู่ภายในภูมิภาคเอเชีย จะเป็นผู้ถือหุ้นรวมกันเท่ากับ 75% และประเทศนอกเอเชียถือครองอีก 25%

NDB : New Development Bank ธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะและพัฒนา จัดตั้งโดยกลุ่มประเทศ BRICS วัตถุประสงค์ : - ลดทอนความสำคัญของสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ (De-dollarization) และลดการพึ่งพาแหล่งเงินทุนของโลกที่มีอยู่เดิมอย่างธนาคารโลก (World Bank) หรือกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ที่อยู่ภายใต้อิทธิพลของชาติตะวันตกมานาน(World Bank และ IMF ถูกมองว่าเป็นองค์กรทางการเงินที่อยู่ภายใต้อิทธิพลของชาติตะวันตก คือ สหรัฐอเมริกา และ ยุโรปตะวันตก) - เป็นธนาคารที่ตั้งเพื่อการพัฒนาและคานอำนาจกับ IMF และ World Bank