4 เมษายน 2561 โดย นพ.ธานินทร์ โตจีน ประธาน MCH Board เขตสุขภาพที่ 4 Dead case Conference 4 เมษายน 2561 โดย นพ.ธานินทร์ โตจีน ประธาน MCH Board เขตสุขภาพที่ 4
หน่วยงานสาธารณสุข ในเขตสุขภาพที่ 4 จ.สิงห์บุรี ประชากร 213,216 คน รพท(S,M1) 2 แห่ง รพช.(F1-3) 4 แห่ง ศสม. 1 แห่ง รพ.สต.ขนาดใหญ่ 1 แห่ง รพ.สต.ทั่วไป 46 แห่ง จ.ลพบุรี ประชากร 758,059 คน รพท(S) 1 แห่ง รพท. (M1) 1 แห่ง รพช.(M2.F1-3) 9 แห่ง ศสม. 3 แห่ง รพ.สต.ขนาดใหญ่ 11 แห่ง รพ.สต.ทั่วไป 122 แห่ง หน่วยงานสาธารณสุข ในเขตสุขภาพที่ 4 จ.อ่างทอง ประชากร 283,882 คน รพท(S) 1 แห่ง รพช.(M2.F1-3) 6 แห่ง ศสม. 1 แห่ง รพ.สต.ขนาดใหญ่ 3 แห่ง รพ.สต.ทั่วไป 73 แห่ง เขตสุขภาพที่ 4 A = 3 S = 5 M1= 4 M2= 6 F1 = 3 F2 = 38 F3 = 11 ศสม.= 22 รพสต.= 802 จ.สระบุรี ประชากร 621,423 คน รพศ(A) 1 แห่ง รพท(M1) 1 แห่ง รพช.(M2.F1-3) 10 แห่ง ศสม. 3 แห่ง รพ.สต.ขนาดใหญ่ 9 แห่ง ร พ.สต.ทั่วไป 117 แห่ง จ.อยุธยา ประชากร 793,509 คน รพศ(A) 1 แห่ง พท(M1) 1 แห่ง รพช.(M2.F1-3) 14 แห่ง ศสม. 5 แห่ง รพ.สต.ขนาดใหญ่ 7 แห่ง รพ.สต.ทั่วไป 198 แห่ง จ.นครนายก ประชากร 247,174 คน รพท.(s)1 แห่ง รพช.(F1-3) 3 แห่ง ศสม. 1 แห่ง รพ.สต.ขนาดใหญ่ 2 แห่ง รพ.สต.ทั่วไป 54 แห่ง จ.นนทบุรี ประชากร 1,141,673 คน รพศ(A) 1 แห่ง รพช.(M2.F1-3) 5 แห่ง ศสม. 3 แห่ง รพ.สต.ขนาดใหญ่ 27 แห่ง รพ.สต.ทั่วไป 46 แห่ง จ.ปทุมธานี ประชากร 1,033,837 คน รพท(S) 1 แห่ง รพช.(M2.F1-3) 7 แห่ง ศสม. 2 แห่ง รพ.สต.ขนาดใหญ่ 26 แห่ง รพ.สต.ทั่วไป 55 แห่ง 70 อำเภอ 710 ตำบล ประชากรรวม 5,286,633 คน
อัตรากำลังการดูแลในพื้นที่ ลพบุรี สูติแพทย์ = 10 คน กุมารแพทย์ = 9 คน สิงห์บุรี สูติแพทย์ = 5 คน กุมารแพทย์ = 4 คน อ่างทอง สูติแพทย์ = 5 คน กุมารแพทย์ = 5 คน สระบุรี สูติแพทย์ = 5 คน กุมารแพทย์ = 17 คน อยุธยา สูติแพทย์ = 7 คน กุมารแพทย์ = 11 คน นครนายก สูติแพทย์ = 2 คน กุมารแพทย์ = 3 คน นนทบุรี สูติแพทย์ = 15 คน กุมารแพทย์ = 21 คน ปทุมธานี สูติแพทย์ = 5 คน กุมารแพทย์ = 2 คน
แนวโน้มอัตราส่วนการตายมารดา กรมอนามัย ปี 2547 – 2560 (ต.ค. – ก.ย.) อัตราส่วนการตายมารดา ปีงบประมาณ 2560 ระบบเฝ้าระวังการตายมารดา กรมอนามัย จำนวนมารดาตายเดือน ต.ค.59 – ก.ย.60 เท่ากับ 112 คน (ไม่ รวม กทม):ศูนย์อนามัยที่ 1-12 เกิดมีชีพเดือน ต.ค. 2559 – 622,100 กันยายน 2560 เท่ากับ คน (ไม่รวม กทม.) :สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ที่มา:สำนักส่งเสริมสุขภาพ 21/12/60
Cause of maternal mortality 2560 (Case) N = 112 case Direct Cause Indirect Cause รอผล
(ต.ค.59 – ก.ย. 60)
อัตราส่วนการตายของมารดาไทย ต่อแสนการเกิดมีชีพ ปี 58-61
แนวโน้มอัตราส่วนมารดาตาย เขตสุขภาพที่ 4 สาเหตุการตายมารดา ปี 58-60 สาเหตุการตายมารดา 5 อันดับแรก ปี 58-60 12 อันดับ สาเหตุ จำนวน 1. PPH 5 2. Sepsis 4 3. โรคหัวใจ 2 4. HIV 5. HT 8 4
สาเหตุการตายมารดาของเขตสุขภาพที่ 4 ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด จำนวน สาเหตุการตาย (Direct=4 ราย / Indirect=9ราย) ระยะเวลา สถานที่ อ่างทอง 1 PPH c- Shock c- due to Uterine atony หลังคลอด รพ.อ่างทอง ปทุมธานี 8 1). HIV c- Pneumonia ขณะตั้งครรภ์ รพ.ปทุมธานี 2). Sepsis c- Shock 3). PPH (ปกปิด No ANC) ขณะคลอด เสียชีวิตที่บ้าน 4). PPH c- due to Uterine atony รพ.ธรรมศาสตร์ 5).Chorioamnionitis c- sepsis c- Shock 6). valvular heart disease c- Asthma 7). CHF c- DM c- HT (No ANC) 8). Severe Sepsis, Thyroid strom Post C/S รพ.ปิยะเวช สิงห์บุรี Hypovolemic Shock จาก Diarrhea (ยาเสพติด) รพ.สิงห์บุรี สระบุรี Pulmonary Tuberculosis รพ.วิหารแดง ลพบุรี Heart c- Pneumonia รพ.บ้านหมี่
สาเหตุการตายมารดาของเขตสุข 4 ปีงบประมาณ 2561 (ต.ค.60-ม.ค.61) จังหวัด จำนวน สาเหตุการตาย ระยะเวลา สถานที่ สระบุรี 1 Severe eclampsia ฝากครรภ์ไม่ต่อเนื่อง ขณะตั้งครรภ์ รพ.หนองแค/ รพ.สระบุรี ลพบุรี 2 ไม่ทราบสาเหตุ (ไม่ได้ชันสูตร) คลอด NL หลังคลอดปกติ เสียชีวิต 30 วันหลังคลอด หลังคอลด รพ.ชัยบาดาล/ จ.ลพบุรี Thyroid Storm c- sepsis c- SLE หลังจำหน่ายกลับบ้าน 1 วัน หลังคลอด 3 วัน รพ.บ้านหมี่/ นครนายก PPH (Post C/S) หลังคลอด รพ.นครนายก อยุธยา รพ.เสนา/ จ.อยุธยา รวม = 5 ราย Direct = 3 ราย, Indirect = 1 ราย, ไม่ทราบสาเหตุ 1 ราย ที่มา : ระบบรายงานข้อมูลศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี ปีงบประมาณ 2560 และสรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1/2561
สรุปปัญหา...การดำเนินงานแม่และเด็ก เขตสุขภาพที่ 4 Area Policy Function K1 แม่ตายไม่เกิน 20/แสน LB 1. Indirect cause มีโรคร่วม Heart, HT, Thyroid, DM 2. Direct cause PPH due to Uterine atony/ Retain Placenta/ Post C/S 3. Early ANC 4. ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ 1.การป้องกัน Preterm 2.สาวไทยแก้มแดง 3.U-cep ฉุกเฉิน ทุกทีมีสิทธิ์ 72 ชม. 1.MCH Board อำเภอ ไม่เกิด 2.ผลักดัน/บูรณาการ/ชี้เป้า การขับเคลื่อนงานแม่และเด็ก ผ่านคณะอนุกรรมการส่งเสริมพัฒนาเด็กปฐมวัย ระดับจังหวัด ได้ไม่ชัดเจน 3.การบริหารจัดการระบบส่งต่อ ภายในจังหวัด/เขต 4.ความเชื่อมโยงของข้อมูลหญิงตั้งให้เป็นวงเดียวกันทุกระดับทั้งภาครัฐและเอกชน K2 พัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 สูงดีสมส่วน ร้อยละ 54 1.ทักษะ/ ทัศนคติในการตรวจจับพัฒนาการสงสัยล่าช้า 2.การวางแผนติดตามและส่งต่อเด็กพัฒนาการล่าช้า ต่อเนื่องจนจบ case 3.ทักษะและคุณภาพการชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูง 4. การดำเนินงานโรงเรียนพ่อแม่ ในทุกคลินิก 1.มหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต 2.ตำบลส่งเสริมเด็ก0-5 ปี สูงดีสมส่วนฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย 3.ตรวจคัดกรองพัฒนาการ 4 กลุ่มอายุ ด้วย DSPM
มาตรการป้องกันการตายของมารดา เขตสุขภาพที่ 4 เป้าหมาย...เพื่อลดการตายจาก PPH, PIH =0 ประเด็นนำเสนอ ผลลัพธ์ 1. กรณีมีโรคร่วมกับการตั้งครรภ์ 1.1 Thyroid Storm c- sepsis c- SLE 1.2 Severe eclampsia 1. ด้านวิชาการCPG, Standing order 2. ด้านบริหารจัดการ 2. ตกเลือดหลังคลอด 2.1 PPH (Post C/S) รพ.เสนา จ. อยุธยา 2.2 PPH (Post C/S) รพ.นครนายก 3. กรณีตายไม่ทราบสาเหตุ
สวัสดีครับ