ผลการดำเนินงาน 3 Cluster สตรีและเด็กปฐมวัย วัยเรียน และ วัยรุ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดบริการที่เป็น มิตรและสอดคล้อง กับความต้องการ และบริบทของ วัยรุ่น.
Advertisements

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต คัดเลือกโรงเรียนนำร่องรุ่นที่ 1 จำนวน ร้อยละ 10 ของโรงเรียนในสังกัด (43 โรงเรียน ) จำนวน 4 โรงเรียน -
นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา “ กระดานอัจฉริยะ ”
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
Buriram Public Health ทำไมต้องตั้งค่าและจัดการข้อมูลสะสม
สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
นายแพทย์อภิชาติ รอดสม สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที 6
อัตราเกิด อัตราตาย และอัตราเพิ่ม ของประชากรจังหวัดพิจิตร ปี ปี 2559 (อัตราต่อปชก.พันคน)
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
โครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
สรุปผลการดำเนินงานข้อมูลสุขภาพ Health Data Center: HDC เขตสุขภาพที่ 12
ภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน และการจัดการ
จังหวัดสุรินทร์ วันที่ 1 – 3 กรกฎาคม 2558
แนวทางการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย
ทิศทางการขับเคลื่อนหลักสูตรส่งเสริมและพัฒนาเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี
ผลการดำเนินงานกรมอนามัย รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 – มีนาคม 2559)
เขตสุขภาพ ที่11.
เด็กอายุ 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ 1/61
ตำบลจัดการสุขภาพ.
Buddy Happy Brain (Smart Kids) ศูนย์อนามัยที่ ๓
4.2.4 แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลกรมอนามัย ปีงบประมาณ 2561
ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน กลุ่มวัยเรียน
ลูกรัก เก่ง ฉลาด ด้วย 3 ดี
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
“มิติใหม่ของ QR Code กับ งานสุขศึกษา” อุบัติเหตุ 1
Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี
การขับเคลื่อนการพัฒนาองค์กร นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
ลงพื้นที่ตรวจราชการจังหวัดสุโขทัย รอบที่ ๒/๒๕๖๑
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
เข็มมุ่งกรมอนามัย ประจำปี 2559
จุดเน้นและแนวทางการดำเนินงานฯ Cluster CD และระบบควบคุมโรค
Performance Agreement : PA ปี 2560
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
นางบุญชอบ เกษโกวิท ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี
ทพ.สุธา เจียมมณีโชคชัย รองอธิบดีกรมอนามัย
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
คณะที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น
แผนที่ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผล
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
ผลการดำเนินงานภายใต้ภารกิจอนามัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
ผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 –
เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ
โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก
อัตราส่วนการตายมารดาต่อการเกิดมีชีพแสนคน
คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
สถานการณ์และผลการดำเนินงาน
โปรแกรม District Health Data Center เพื่อการบริหารจัดการข้อมูล 43 แฟ้ม ระดับอำเภอ และ CUP ( DHDC ) 25 – 26 กรกฎาคม 2561 ห้องประชุม สำนักงานสาธาณสุขจังหวัดลำพูน.
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
PA Mother & Child Health
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการดำเนินงาน 3 Cluster สตรีและเด็กปฐมวัย วัยเรียน และ วัยรุ่น โดย นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

Cluster สตรีและเด็กปฐมวัย

มาตรการ กระบวนการ เป้าหมาย Yes ปรับมาตรฐานMCH พัฒนาทีมประเมินระดับเขต สุ่มประเมินรับรอง มอบโล่ ร่วมพัฒนามาตรฐาน ศูนย์เด็กฯ ร่วมพัฒนาวิชาชีพพี่เลี้ยงเด็ก พัฒนาระบบ บริการMCH อัตราแม่ตาย 15 : แสน ร.ร.พ่อแม่ในหน่วยบริการฯศูนย์เด็ก ระบบป้องกันและควบคุมภาวะดาวน์ มุม/ลาน “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” -ระบบData MCH - โปรแกรม โภชนาการ ประเมินสมุดบันทึกสุขภาพฯ MODEL development พัฒนาการเด็กสมวัย 85 % ประชุมMCH board ส่วนกลาง เขตสุขภาพ อบรมวิทยากร คัดกรองด้วยDSPM อบรมมิสน นมแม่ประจำโรงพยาบาล อบรมการให้ การปรึกษา Thalassemi a & PND พัฒนาศักยภาพบุคลลากร รวมพลคน กินนมแม่ เฉลิมพระเกียรติฯ เล่นตามรอย พระยุคลบาท ตามหลักBBL เล่านิทาน อาหารตามวัย /อนามัยช่องปาก/ความรู้PA นมแม่ Milk code เด็กไทยได้อะไร เด็กสูงดี สมส่วน 70% การสื่อสารสังคม ยกกร่างพรบ.และรับฟังความคิดเห็นจากภาคีเกี่ยวข้อง เสนอ ร่าง Milk code เข้าครม.และกฤษฎีกา ยกร่างประกาศกระทรวงเตรียมเสนอ สนช. อบรมทีมเฝ้าระวัง Milk codeระดับเขต จังหวัด อัตราฟันผุ 3 ปี 53% มาตรการทางกฎหมาย

ผลงานตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุขและกรมอนามัย กลุ่มอนามัยแม่และเด็ก รอบ 6 เดือน ปี งบประมาณ 2559

ร้อยละของเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ที่มา:http://hdcservice.moph.go.th ณ วันที่ 17 สิงหาคม 2559 - ช่วงรณรงค์คือ วันที่ 4-8 กค. 2559  เป้าหมาย คือ เด็กที่เกิดตามช่วงวันที่ดังนี้ 1) 9 เดือน 2015-09-05 ถึง 2015-10-08  2) 18 เดือน 2014-12-05 ถึง 2015-01-08  3) 30 เดือน 2013-12-05 ถึง 2014-01-08  4) 42 เดือน 2012-12-05 ถึง 2013-01-08  - ผลงาน ประมวลผลตามเกณฑ์ช่วงวันที่ของอายุของการคัดกรองที่กำหนด 30 วัน คือ ต้องคัดกรอง ที่อายุแตะ 9,18,30,42 เดือนวันแรกและคัดกรองใน 30 วันที่อายุไม่แตะ 10,19,31,43 เดือน 

ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี 6 เดือน และ 3 ปี เดือน มีฟันน้ำนมผุ ที่มา : http://hdcservice.moph.go.th ณ วันที่ 17 สิงหาคม 2559

ร้อยละของเด็กอายุน้อยกว่า 6 ปี มีส่วนสูงดีและรูปร่างสมส่วน ที่มา : http://hdcservice.moph.go.th ณ วันที่ 17 สิงหาคม 2559

สถานการณ์กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย (ขอเพิ่มแผ่นนี้ 1แผ่น ข้อมูลคุณภาพ) ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ที่มา : * Health Data Center : http://hdcservice.moph.go.th ณ 10 พฤษภาคม 2559 ** การศึกษาพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทยปี 2557,กรมอนามัย ,2558

แผน/งบประมาณ 60 cluster สตรีและเด็กปฐมวัย งบจัดสรร 42.560 ล้าน 19.13 (44.9%) 23.43 (55.1%)

Cluster วัยเรียน

มาตรการ กระบวนการ เป้าหมาย มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ พัฒนามาตรฐาน รับรองมาตรฐาน ประกาศเกียรติคุณ เด็กไทย แข็งแรง ฉลาด โปรแกรมคัดกรองสุขภาพนักเรียน Model development Smart kid coacher ChOPA & ChiPA เด็กสูงดีสมส่วน 66 % สื่อสารสังคม สื่อละครสร้างสรรค์ทันตสุขภาพ โครงงานสุขภาพ ลดอ้วน≤ 10% สร้างการมีส่วนร่วม เครือข่ายเด็กไทยฟันดี เด็กไทยสายตาดี ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้

สถานการณ์ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 ร้อยละ เขต ที่มาแหล่งข้อมูลจาก HDC ข้อมูล ณ วันที่ 5 สิงหาคม 2559 N = 2,828,565 (n = 371,744)

เด็กไทยฟันดี สุขภาพดี เด็กไทยสายตาดี เด็กไทยฟันดี สุขภาพดี เด็กฟันผุ 49.4 % บริโภคขนม/ลูกอม/เครื่องดื่ม ระหว่างมื้อ 62.9 % อบรม ครู 215 คน คัดกรองสายตา นร.ป1 300,412 คน (37.55 %) สายตาผิดปกติ 4973 คน(1.7%) “โชป้า แอนด์ ชายด์ป้า เกมส์ ลดเรียนเพิ่มรู้สู่อาเซียน” อบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร โชป้า แอนด์ ชายด์ ป้า โค้ช ครู นักเรียน จำนวน 13 รร. 1,472 คน พัฒนาศักยภาพเด็กอ้วน วัยรุ่น 1,330 คน

งบประมาณ 36.19 ล้าน งบประมาณ 5.069 ล้าน

Cluster วัยรุ่น

19 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ มาตรการ กระบวนการ เป้าหมาย ลดการตั้งครรภ์ซ้ำ ไม่เกินร้อยละ 10 สร้างการมีส่วนร่วม อ.อนามัยเจริญพันธ์ พัฒนาศักยภาพบุคลากร สธ. ในการดำเนินการอนามัยเจริญพันธ์ และ YFHS โดยการอบรมหลักสูตร Refresher course 9รุ่น เยี่ยมประเมิน รพ.ตามมาตรฐาน YFHS ฉบับบูรณาการ/รพ.ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 72.54 / ผ่านเกณฑ์อ.อนามัยเจริญพันธ์ ร้อยละ 62.87 อัตราการคลอดมีชีพ อายุ 15-19 ปี ไม่เกิน 50 ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปีพันคน ในปี 2560 พัฒนาคู่มือการจัดอบรมเรื่องเพศฯ พัฒนาศักยภาพวิทยากรฯ จัดทำคู่มือแนวทางการมีกิจกรรมทางกายของคนไทย การสื่อสารสังคม วัยรุ่น 15-18 ปี สูงสมส่วน และอายุ 19 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ มาตรการทางกฎหมาย/ยุทธศาสตร์อนามัย การเจริญพันธ์ ยกร่างยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2560-2569 ขับเคลื่อน พรบ. การป้องกันและแก้ไขปัญหาในวัยรุ่น

ผลการดำเนินงาน

ผลการดำเนินงาน จำนวนโรงพยาบาลที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน YFHS ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ผ่านเกณฑ์โรงพยาบาลตามมาตรฐาน YFHS (สะสม) แยกรายเขตสุขภาพ เป้าหมาย ร้อยละ 75 (ข้อมูล ณ 11 สิงหาคม 2559)

ผลการดำเนินงานอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ ร้อยละของอำเภอ ที่ผ่านเกณฑ์อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์(สะสม) แยกรายเขตสุขภาพ (ข้อมูล ณ 11 สิงหาคม 2559)

แผนบูรณาการ/งบประมาณกลุ่มวัยรุ่น 2560 9.9129 9.9129 28.5% งบที่จัดสรร 34.7743 ล้าน 24.8614 71.5%