งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน และการจัดการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน และการจัดการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน และการจัดการ
บังเอิญ ทองมอญ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 3 ชลบุรี กรมอนามัย การประกวดการดำเนินงานแก้ปัญหาทันตสุขภาพในเด็กนักเรียน วันที่ 12 มกราคม 2557 ณ โรงแรมชลอินเตอร์ อ.เมือง จ.ชลบุรี

2 สถานการณ์

3 นพ.สันทิต บุณยะส่ง

4 Best General Develop สระแก้ว ปราจีน ชลบุรี สมุทรปราการ ตราด จันทบุรี
ชลบุรี สมุทรปราการ ตราด จันทบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา นพ.สันทิต บุณยะส่ง

5 ร้อยละของเด็กนักเรียนอายุ 6-12 ปีมีภาวะอ้วน
(เป้าหมายไม่เกิน 10%) นพ.สันทิต บุณยะส่ง

6 ปัจจัยความสำเร็จ สระแก้ว:ปรับพฤติกรรมเด็กอ้วนโครงการเด็กวัยเรียนFit and Firm โดยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง/ สถานศึกษา ค่ายปรับพฤติกรรม ประสานความร่วมมือในการดูแลสุขภาพแก่เด็กวัยเรียนจากหน่วยงานการศึกษาและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและติดตามประเมินสภาวะสุขภาพเด็กวัยเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมค่ายปรับพฤติกรรมทุก 1, 3 และ 6 เดือน ตราด: ติดตามผลการดำเนินงานเพื่อทราบสถานการณ์การดำเนินงาน รับทราบปัญหาการดำเนินงานรวมทั้งให้ข้อเสนอแนะ แก่ผู้รับผิดชอบงานส่งเสริมสุขภาพระดับอำเภอ พร้อมกับพัฒนาระบบข้อมูล ระบบรายงานเชิงปริมาณ : รายงานผลการเฝ้าระวังการเจริญเติบโต 6-12 ปี Health Data Center สำนักงานสาธารณสุขตราด บูรณการกิจกรรมการพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ในโครงการ “ เมืองตราดสุขภาพดี ” (6อ. 2ส. 1ร.) นพ.สันทิต บุณยะส่ง

7 จังหวัดที่มีการจัดค่าย Fit & Firm
ชลบุรี จัดเมื่อ 13 ธันวาคม จัด 1 วัน ไป-กลับ ระยอง จัดเมื่อ กันยายน 2557 พักค้าง 2 วัน 1 คืน จันทบุรี จัดเมื่อ 28 สิงหาคม 2557 จัด 1 วัน ไป-กลับ ตราด จัดเมื่อ 28 พฤศจิกายน 2557 จัด 1 วัน ไป-กลับ ฉะเชิงเทรา จัดเมื่อ 14,16 พฤษภาคม 2557 (อำเภอบางน้ำเปรี้ยว, อำเภอเมือง) และ 10, 28 ตุลาคม (สสจ.)จัด 1 วัน ไป-กลับ สมุทรปราการ จัดแล้ว เมื่อวันที่ ปราจีนบุรี ให้อำเภอดำเนินการ จะแลกเปลี่ยนเรียนรู้วันที่ 24 มกราคม 2558 นพ.สันทิต บุณยะส่ง

8 ปัญหาอุปสรรคการดำเนินงาน
นพ.สันทิต บุณยะส่ง

9 นพ.สันทิต บุณยะส่ง

10 ขั้นตอนการเฝ้าระวัง ภาวะการเจริญเติบโตเด็กวัยเรียน
แนวโน้มการเจริญเติบโต 2.ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย 1.ประเมินภาวะโภชนาการ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เลือกเครื่องชั่ง ตรวจสอบมาตรฐาน การอ่านค่า การคิดอายุ กราฟ แปลผล 6.รายงาน 3.วิเคราะห์ข้อมูลในขั้นตอน 1+2 การเจ็บป่วย ฐานะทางเศรษฐกิจและนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ ขั้นตอนการเฝ้าระวัง ภาวะการเจริญเติบโตเด็กวัยเรียน 5.ติดตามการดำเนินงาน แจ้งผล ผู้ปกครอง ผู้บริหาร ผู้ปกครอง ผู้บริหาร รร. สพท. รพ.สต. 4.ดำเนินการส่งเสริม ป้องกันและแก้ไขปัญหา กลุ่มเจริญเติบโตดี ชั่งนน.วัดสส. ทุก 6 เดือน ประเมินพฤติกรรมบริโภคอาหารทุก 6 เดือน > กลุ่มเสี่ยง กลุ่มอ้วน ผอม เตี้ยชั่งนน.ทุก 1 สป วัดสส.ทุก 2 สป. ดูแนวโน้ม หาสาเหตุ ประเมินพฤติกรรม บริโภคอาหารทุก 1 สป. เยี่ยมบ้านอย่างน้อยเดือนละครั้ง อาหาร ออกกำลังกาย การนอน

11 อ้วน อันตรายถึงตาย ที่มารูปภาพ : นพ.สรศักดิ์ โล่จินดารัตน์ หัวหน้าหนวยระบบหายใจและไอซียู สถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี

12 ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง แปลผลโดยใช้กราฟอ้างอิงการเจริญเติบโต
1.ประเมินภาวะโภชนาการ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เลือกเครื่องชั่ง ตรวจสอบมาตรฐาน การอ่านค่า การคิดอายุ กราฟ แปลผล ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง แปลผลโดยใช้กราฟอ้างอิงการเจริญเติบโต น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง

13 การประเมินภาวะการเจริญเติบโตเด็ก 0-18 ปี
โรงเรียน โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ปีการศึกษาละ 2 ครั้ง ในช่วงเปิดเทอม คือในเดือนมิถุนายน และพฤศจิกายนของทุกปี ศูนย์เด็กเล็ก/หมู่บ้าน ปีละ 4 ครั้ง มกราคม เมษายน กรกฎาคม ตุลาคม คำนวณอายุ เทียบกับกราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโต สำหรับเด็กอายุ 0 – 2, 2-7 และ ปี ******** สิ่งสำคัญมาก ******** การเลือกเครื่องชั่งน้ำหนัก เด็ก 0-2 ปี ใช้เครื่องชั่งน้ำหนักแบบนอน และที่วัดความยาว เด็ก 2 – 5 ปี ใช้เครื่องชั่งน้ำหนัก ความละเอียดไม่น้อยกว่า 0.1 กิโลกรัม เด็ก 6 – 18 ปี ใช้เครื่องชั่งน้ำหนัก ความละเอียดไม่น้อยกว่า 0.5 กิโลกรัม การทดสอบมาตรฐานเครื่องชั่งน้ำหนัก การเลือกที่วัดส่วนสูง เทคนิคการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง การบันทึกค่าน้ำหนัก ส่วนสูง

14 ที่วัดส่วนสูงแบบนอน สำหรับเด็กอายุ 0 – 2 ปี

15 ที่วัดส่วนสูงแบบนอน สำหรับเด็กอายุ 0 – 2 ปี

16 เครื่องชั่งน้ำหนักแบบนอน สำหรับเด็กอายุ 0 – 2 ปี

17 เครื่องชั่งน้ำหนักแบบนอน สำหรับเด็กอายุ 0 – 2 ปี

18 ตัวอย่างเครื่องชั่งน้ำหนักที่ได้มาตรฐาน เหมาะกับการใช้ประเมินภาวการณ์เจริญเติบโต เด็ก 2-18 ปี

19 อุปกรณ์ทดสอบมาตรฐานเครื่องชั่งน้ำหนัก
ดรัมเบล หรือ ลูกเหล็ก ขนาด 5 – 10 กิโลกรัม

20 การทดสอบมาตรฐานเครื่องชั่งน้ำหนัก

21 ตัวอย่างเครื่องชั่งน้ำหนักที่ไม่ได้มาตรฐาน ไม่เหมาะกับการประเมินภาวการณ์เจริญเติบโตเด็ก 2 – 18 ปี
เข็ม ไม่ตรงเลข 0 ความละเอียด 1 กิโลกรัม สภาพเก่า และชำรุด เข็ม ไม่ตรงเลข 0

22 ตัวอย่างเครื่องชั่งน้ำหนักที่ไม่ได้มาตรฐาน ไม่เหมาะกับการประเมินภาวการณ์เจริญเติบโตเด็ก 2 – 18 ปี
ความละเอียด 1 กิโลกรัม ความละเอียด 1 กิโลกรัม

23 ตัวอย่างที่วัดส่วนสูงที่ได้มาตรฐาน
ใช้ไม้บรรทัด หรือสายวัดทาบ หรือ ขีดเส้นให้ละเอียดถึง 0.1 เซนติเมตร

24 ตัวอย่างที่วัดส่วนสูงที่ไม่ได้มาตรฐาน
ความละเอียด 1 เซนติเมตร ไม้ฉาก ไม่มั่นคง ไม่แข็งแรง

25 สรุปลักษณะเครื่องชั่งน้ำหนัก ที่วัดส่วนสูง ที่ได้มาตรฐาน
เครื่องชั่งน้ำหนัก ความละเอียดอย่างน้อย 0.5 กิโลกรัม หรือเครื่องชั่งน้ำหนักแบบเข็ม แต่ต้องบันทึกให้ได้ความละเอียด 0.1 กิโลกรัม เครื่องชั่งน้ำหนักที่มีความละเอียด 0.1 กิโลกรัม หรือแบบดิจิตอล ต้องบันทึกค่าน้ำหนักให้ได้ความละเอียด 0.1 กิโลกรัม ที่วัดส่วนสูง ความละเอียด 0.1 เซนติเมตร มีไม้ฉาก ความกว้างของไม้ฉากไม่น้อยกว่า 5 เซนติเมตร

26 ตัวอย่างที่วัดส่วนสูงที่มีจำหน่าย

27 เทคนิคการชั่งน้ำหนัก
วางเครื่องชั่งบนพื้นราบ และแข็ง เช่น ปูน กระเบื้อง ไม้ ถ้าเป็นเครื่องชั่งแบบเข็ม ทดสอบมาตรฐาน และปรับสเกลให้ตรงกับเลข 0 ก่อนทำการชั่ง ต้องทดสอบมาตรฐานเครื่องชั่งทุกครั้ง ใช้เครื่องชั่งเดิมทุกครั้งในการติดตามการเจริญเติบโต

28 วิธีการชั่งน้ำหนักที่ถูกต้อง
ชั่งน้ำหนักในขณะที่ยังไม่ได้รับประทานอาหารจนอิ่ม เช่น เวลา น. หรือ น. ถอดเสื้อผ้าที่หนาๆออก ให้เหลือเท่าที่จำเป็น รวมทั้งถอดรองเท้าและถุงเท้า นำสิ่งของออกจากตัว อ่านค่าให้ละเอียด ถึง มีทศนิยม 1 ตำแหน่ง เช่น 10.6 กิโลกรัม ถ้าใช้เครื่องชั่งน้ำหนักแบบยืนที่มีเข็ม ผู้ที่อ่านค่าน้ำหนักจะต้องอยู่ในตำแหน่ง ตรงกันข้ามกับเด็ก ไม่ควรอยู่ด้านข้าง ทั้งซ้ายหรือขวา เพราะจะทำให้อ่านค่าน้ำหนักมากไปหรือน้อยไปได้ 01/01/62

29 เทคนิคการวัดส่วนสูง อ่านค่าส่วนสูงให้ละเอียดถึง เซนติเมตร เช่น เซนติเมตร ห้ามใช้ไม้บรรทัด หนังสือ สมุด ทาบศีรษะ เพื่ออ่านค่าส่วนสูง ให้ใช้ไม้ฉากเท่านั้น

30 ภาพท่ายืนการวัดส่วนสูงที่ไม่ถูกต้อง
ไม่ถูกต้อง เพราะเท้าไม่ชิดกัน ต้องยืนเท้าชิดกัน

31 สรุปวิธีการวัดส่วนสูงที่ถูกต้อง
หางตาอยู่ในระดับเดียวกับรูหูบน ศีรษะชิดผนัง หลังชิดผนัง ขาชิดผนัง เข่าชิด เข่าตรง ส้นเท้าชิดผนัง อ่านค่าให้ละเอียดถึง 0.1 เซนติเมตร เช่น เซนติเมตร

32 สอนนักเรียน ป.5 – ป.6 ทั้งชายและหญิง ให้รู้จักการประเมินภาวะการเจริญเติบโตของตนเอง
จุดกราฟเพื่อดูภาวะการเจริญเติบโต โดยใช้น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง และส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ คำนวณอายุ รู้ความหมายของ ผอม ค่อนข้างผอม สมส่วน ท้วม เริ่มอ้วน อ้วน / เตี้ย ค่อนข้างเตี้ย สูงตามเกณฑ์ ค่อนข้างสูง และสูง

33 ตัวอย่างวิธีการคิดอายุ
วัน เดือน ปี เกิด คือ กันยายน 2546 วัน เดือน ปี ที่ชั่ง นน.-วัด สส. คือ 2 พฤศจิกายน 2557 ปี พ.ศ. เดือน วันที่ เศษของวันที่เกิน15 วัน ให้ปัดเป็น 1 เดือน ปี เดือน วัน ที่ชั่ง - วัด 57 11 2 - ปี เดือน วัน ที่เกิด 16 46 12 10 10 16 อายุ

34 ตัวอย่างวิธีการคิดอายุ
วัน เดือน ปี เกิด คือ กันยายน 2546 วัน เดือน ปี ที่ชั่ง นน.-วัด สส. คือ 2 พฤศจิกายน 2557 ปี พ.ศ. เดือน วันที่ เศษของวันที่เกิน15 วัน ให้ปัดเป็น 1 เดือน ปี เดือน วัน ที่ชั่ง - วัด 57 11 2 - ปี เดือน วัน ที่เกิด 16 46 12 10 10 16 อายุ อายุ ที่จะนำไปเทียบในกราฟ คือ 10 ปี 11 เดือน

35 เกณฑ์มาตรฐานขนมกรุบกรอบ/ขนมซอง
เกณฑ์มาตรฐานขนมกรุบกรอบ 1 มื้อ เด็กอ้วน ไม่ควรรับประทาน ให้รับประทานผลไม้รสไม่หวานจัดแทนขนม เด็กผอม สมส่วน รับประทานได้วันละไม่เกิน 2 มื้อ สารอาหาร เกณฑ์มาตรฐานขนมกรุบกรอบ/ขนมซอง ผ่านเกณฑ์ สูงปานกลาง ค่อนข้างสูง พลังงาน , กิโลแคลอรี่ ≤ 100 – 200 >200 ไขมัน , กรัม ≤ 3 3.1 – 6 >6 ไขมันอิ่มตัว, กรัม ≤ 1 1.1 – 2 >2 โคเลสเตอรอล , มก. ≤ 15 16 – 30 >30 น้ำตาล , กรัม ≤ 6 7 – 12 >12 โซเดียม , มก.

36 เกณฑ์มาตรฐานเครื่องดื่ม/น้ำหวาน
เด็กอ้วนไม่ควรดื่มน้ำหวาน ควรดื่มน้ำเปล่าแทน กรณีมีการเติมสารสังเคราะห์เจือปน คือ สีสังเคราะห์ วัตถุกันเสีย สารทดแทนความหวาน หักคะแนน อย่างละ 0.5 คะแนน สารอาหาร เกณฑ์มาตรฐานเครื่องดื่ม/น้ำหวาน ผ่านเกณฑ์ สูงปานกลาง ค่อนข้างสูง พลังงาน , กิโลแคลอรี่ ≤ 40 41 – 80 >80 น้ำตาล , กรัม ≤ 10 11 – 20 >20 โซเดียม , มก. คะแนน 2 1 กลุ่มอาหาร กลุ่ม 1 ผัก ผลไม้ สมุนไพรแท้ กลุ่ม 2 ผัก ผลไม้ สมุนไพร ผสม กลุ่ม 3 ไม่มี ผัก ผลไม้ สมุนไพร

37 เกณฑ์มาตรฐานเครื่องดื่มประเภทนม เกณฑ์มาตรฐานเครื่องดื่ม/น้ำหวาน
นมพร่องมันเนย/นมขาดมันเนย ขนาด 200 ซีซี มื้อละ 1 แก้ว/กล่อง กินคู่กับผลไม้รสไม่หวานจัด วันละ 1-2 กล่อง เด็กที่เตี้ย ค่อนข้างเตี้ย ควรได้รับวันละ 3 กล่อง สารอาหาร เกณฑ์มาตรฐานเครื่องดื่ม/น้ำหวาน ผ่านเกณฑ์ สูงปานกลาง ค่อนข้างสูง พลังงาน , กิโลแคลอรี่ ≥ 120 – 150 >150 น้ำตาล , กรัม ≥ 10 >20 ไขมัน , กรัม ≥ 7 >14 ไขมันอิ่มตัว , กรัม ≥ 4 4 – 8 >8 ต่ำกว่าเกณฑ์ปานกลาง ค่อนข้างต่ำ แคลเซียม , % 30 < 20 โปรตีน , กรัม 7 5 – 6 < 5 วิตามินบี 2 , % 25 20 – 25 < 20

38 หลักการจัดอาหารสำหรับเด็ก

39 การจัดอาหารสำหรับเด็กวัยเรียน
วิไลลักษณ์ ศรีสุระ นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

40 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
พระราชดำรัส สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ที่เกี่ยวข้องกับอนามัยแม่และเด็ก “…การส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยของแม่และเด็กเป็นเรื่องสำคัญ ควรที่จะให้มีการเผยแพร่กระจายความรู้ออกไปให้กว้างขวาง โดยเฉพาะในท้องถิ่นห่างไกล เพื่อให้สตรีผู้กำลังเตรียมตัวจะเป็นมารดาได้รู้จักวิธีดูแลตนเองอย่างถูกต้องในระหว่างตั้งครรภ์ทั้งเรื่องอาหารการกิน และการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยทั่ว ๆ ไป เนื่องจากสุขภาพอนามัยของมารดา ทั้งทางกายและทางใจ จะมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์เช่นกัน เรื่องอาหารการกินนับเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง

41 (พระราชดำรัสพระราชทานเมื่อวันศุกร์ที่ 6 พฤษภาคม 2548)
สตรีมีครรภ์ควรมีความรู้พื้นฐานด้านโภชนาการด้วยว่าควรจะรับประทานอาหารชนิดใดจึงจะเป็นประโยชน์แก่สุขภาพของตนเองอันจะส่งผลให้ทารกในครรภ์มีพัฒนาการไปในทางที่ดี คือ มีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและทางสมองหลังคลอดทารกก็ควรได้รับการดูแลเอาใจใส่ด้านโภชนาการอย่างต่อเนื่อง ควบคู่ไปกับเรื่องสุขภาพอนามัยทั่วไป เพื่อทารกจะได้เจริญเติบตามวัยอย่างเหมาะสม สติปัญญาไม่บกพร่อง มีความพร้อมที่จะศึกษาเรียนรู้เมื่อถึงวัยอันสมควร และจะเป็นกำลังของชาติได้ในภายภาคหน้า…” (พระราชดำรัสพระราชทานเมื่อวันศุกร์ที่ 6 พฤษภาคม 2548)

42

43 ต้องกินให้ครบ 5 หมู่ โดยอาหารในหมู่เดียวกันสามารถกินทดแทนกันได้ เพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารต่าง ๆ ครบถ้วนและเพียงพอ เพื่อการมีภาวะโภชนาการที่ดี

44

45

46 หน่วยเป็นส่วน

47

48 เต้าหู้ 1 แผ่น เต้าหู้ 1 แผ่น

49 หน่วยเป็นช้อนชา

50 กินอยู่อย่างไทยทำอย่างไร คือ กินข้าวกล้อง กินผักผลไม้ให้มาก กินแหล่งโปรตีนท้องถิ่นที่คนไทยบอกว่าในน้ำมีปลา ในนามีข้าว เพราะว่าปลาจากแม่น้ำลำคลองเป็นอาหารหลักของคนไทย เป็นโปรตีนที่สำคัญ

51 เหล็ก เป็นแร่ธาตุชนิดหนึ่งที่มีความจำเป็นสำหรับการพัฒนาสมอง สมรรถภาพ และพฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กในระยะต่อมา การขาดธาตุเหล็ก มีผลเสีย คือในทารกและเด็ก ทำให้มีการพัฒนาทางสังคมและจิตใจล่าช้า ขาดสมาธิในการเรียนรู้ ในหญิงตั้งครรภ์ ทำให้มีความเสี่ยงในการแท้ง คลอดก่อนกำหนด คลอดทารกที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ (ต่ำกว่า 2,500 กรัม) ลดภูมิต้านทานโรคในทุกกลุ่มอายุ ทำให้เป็นโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจและทางเดินอาหารบ่อย และลดประสิทธิภาพในการทำงานในทุกกลุ่มอายุ

52 ไอโอดีน มีความสำคัญในการพัฒนาการของสมองของทารก ถ้าแม่ขาดไอโอดีนขณะตั้งครรภ์ จะทำให้ทารกมีความผิดปกติของสมองและระบบประสาท หูหนวก เป็นใบ้ที่เรียกว่า “เอ๋อ” หญิงมีครรภ์ หากขาดสารไอโอดีน จะมีโอกาสแท้งบุตร หรือเสียชีวิตระหว่างคลอด ดังนั้นการส่งเสริมอาหารที่มีไอโอดีนสูง เช่น อาหารทะเลต่างๆ และการใช้เกลือไอโอดีนในการปรุงอาหาร จึงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับแม่ตั้งครรภ์ ต่ำ

53 แคลเซียม เป็นแร่ธาตุที่เป็นส่วนประกอบสำคัญมากที่สุดสำหรับกระดูกและฟัน ช่วยป้องกันไม่ให้หญิงตั้งครรภ์มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก ตลอดจนกระดูกของทารกจะมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วในช่วง 4-8 เดือน และสูงสุดในช่วงเดือนสุดท้าย ในเด็กก่อนวัยเรียน แคลเซียม จะช่วยให้เขาเติบโต สูงใหญ่ตามศักยภาพอย่างสมบูรณ์ไม่แคระแกรนและไม่มีปัญหาเรื่องกระดูกในอนาคต อาหารที่มีแคลเซียมสูง คือ นมสด ปลาเล็กปลาน้อย กุ้งแห้ง และผักใบเขียวเข้มได้แก่ผัก คะน้า ผักโขม เต้าหู้

54 โฟเลท เป็นวิตามินบีชนิดหนึ่งที่มีบทบาทในกระบวนการเผาผลาญอาหาร จำเป็นมากสำหรับหญิงตั้งครรภ์และทารก ช่วยป้องกันการผิดปกติของประสาทบริเวณสมองและกระดูกไขสันหลังทำให้กระดูกสันหลังโหว่ทำให้ทารกพิการทางสมองและตายได้ อาหารที่มีโฟเลทมากได้แก่ ตับ ผักโขม คะน้า หน่อไม้ฝรั่ง ส้มเขียวหวาน แคนตาลูป กล้วย ผักตระกูลกระหล่ำ

55 “สารสื่อประสาท” ปัจจัยที่ช่วยการทำงานของสมอง
อะซิทิลโคลีน (Acetylcholine) ทำหน้าที่กระตุ้นเซลล์ประสาท ควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ และมีบทบาทสำคัญเกี่ยวข้องกับการสร้างความจำ มีมากในอาหาร จำพวกไข่แดง ถั่ว ข้าวไม่ขัดสี ตับ เนื้อสัตว์ต่างๆ ปลา นม เนยแข็ง และผักโดยเฉพาะ กะหล่ำปลี กะหล่ำดอก บร็อคโคลี เป็นต้น

56 “สารสื่อประสาท” ปัจจัยที่ช่วยการทำงานของสมอง
โดปามีน (Dopamine) เกี่ยวข้องกับสมาธิ ความสนใจ และการเรียนรู้ ในขณะเดียวกันก็มีผลต่อความรู้สึกตื่นตัว มีมากในอาหารที่เป็นแหล่งของโปรตีนทุกชนิด เช่น เนื้อสัตว์ต่างๆ ผลิตภัณฑ์จากนม ปลา ถั่วต่างๆ รวมทั้งผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลือง

57 ข้อปฏิบัติการให้อาหารเพื่อสุขภาพที่ดีสำหรับเด็กเล็ก (อายุ 1 – 5 ปี)
1. ให้อาหารมื้อหลัก 3 มื้อ และอาหารว่างไม่เกิน 2 มื้อต่อวัน 2. ให้อาหารครบ 5 หมู่ แต่ละหมู่ให้หลากหลายเป็นประจำทุกวัน 3.ให้นมแม่ต่อเนื่องจนถึงอายุ 2 ปีเสริมนมรสจืดวันละ2-3แก้ว 4.ฝึกให้กินผักผลไม้จนเป็นนิสัย 5.ให้อาหารว่างที่มีคุณภาพ

58 ข้อปฏิบัติการให้อาหารเพื่อสุขภาพที่ดีสำหรับเด็กเล็ก (อายุ 1 – 5 ปี)
6.ฝึกให้กินอาหารรสธรรมชาติ ไม่หวานจัด มันจัด และเค็มจัด 7.ให้อาหารสะอาดและปลอดภัย 8.ให้ดื่มน้ำสะอาด หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มปรุงแต่งรสหวานและน้ำอัดลม 9.ฝึกวินัยการกินอย่างเหมาะสมตามวัยจนเป็นนิสัย 10.เล่นกับลูก สร้างความผูกพัน หมั่นติดตามการเจริญเติบโตและ พัฒนาการ

59 เด็กวัยก่อนเรียน (1-5 ปี)
เด็กวัยก่อนเรียน ในระยะนี้การเจริญเติบโตของร่างกายและสมองจะช้ากว่าระยะทารก แต่ในช่วง 2 ขวบปีแรกการเจริญเติบโตก็ยังเป็นไปค่อนข้างรวดเร็ว และจะค่อยช้าลงเมื่อมีอายุมากขึ้น และเด็กวัยนี้เป็นวัยที่เสี่ยงต่อการขาดอาหาร เนื่องจากเด็กยังไม่โตพอที่จะเข้าโรงเรียนที่มีผู้ดูแลอย่างถูกต้องและพ่อแม่ต้องไปทำงาน ตลอดจนการที่จะหาคนดูแลที่ไว้ใจได้ ดังนั้นวิธีที่ดีสุดที่จะทำให้ลูกได้อาหารเพียงพอ แม่ควรจะต้องเตรียมอาหารไว้ให้ลูกด้วย จะช่วยให้เด็กมีพัฒนาการทางร่างกาย สมอง และอารมณ์ได้ดี เด็กวัยก่อนเรียน (1-5 ปี)

60 เด็กอายุ 1-3 ปี 1,000 กิโลแคลอรี
เด็ก 4-5 ปี 1,300 กิโลแคลอรี

61

62

63 เด็กอายุ 1-3 ปี 1,000 กิโลแคลอรี
เด็ก 4-5 ปี 1,300 กิโลแคลอรี

64 ปริมาณอาหารที่ควรได้รับในมื้อกลางวันและอาหารว่าง
ปริมาณอาหารที่ควรได้รับในมื้ออาหารกลางวันสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน (ประมาณ 1 ใน 3 ของปริมาณที่แนะนำใน 1 วัน) อาหาร (ปริมาณ) อายุ 1-3 ปี อายุ 4-5 ปี ข้าว – แป้ง (ทัพพี) 1 2 ผักสุก (ทัพพี) ผลไม้ * (ส่วน) เนื้อสัตว์ (ช้อนกินข้าว) น้ำมัน กะทิ (ช้อนชา) 1.5 * ผลไม้แบบผล 1 ส่วนเท่ากับส้มขนาดกลาง 2 ผล หรือกล้วยน้ำว้า 1 ผล และผลไม้แบบชิ้นคำ 1 ส่วนเท่ากับ 6-8 ชิ้นคำ เช่น มะละกอสุก 6-8 ชิ้น แตงโม 6-8 ชิ้นคำ

65 ปริมาณอาหารที่ควรได้รับในมื้ออาหารว่าง สำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
อาหาร (ปริมาณ) อายุ 1-3 ปี อายุ 4-5 ปี นมจืด (แก้ว) 1 แก้ว (200 ซีซี.) ขนมต่างๆ 1 ชิ้น หรือ 1 ถ้วย

66 ตัวอย่างอาหารเด็กวัยก่อนเรียน

67 การสร้างนิสัยการกินที่ดีแก่เด็ก
เริ่มให้อาหารเสริมตามวัยให้เหมาะสมกับพัฒนาการเจริญเติบโตของเด็ก ให้เด็กได้ร่วมโต๊ะกินข้าวกับคนในบ้าน หัดให้เด็กตักอาหารกินด้วยตนเอง ควรคำนึงถึงความน่ากิน ทั้งสี กลิ่น รส และคุณค่าของอาหาร เพื่อจูงใจให้เด็กอยากกินอาหาร

68 ผักและผลไม้ สีน้ำเงิน ม่วง และสีแดง
กะหล่ำปลีสีม่วง มันสีม่วง เผือก องุ่นแดง ชมพู่ม่าเหมี่ยว ชมพู่แดง ลูกหว้า ลูกไหน ลูกพรุน ลูกเกด ข้าวแดง ข้าวหอมนิล ข้าวเหนียวดำ ถั่วแดง ถั่วดำ มะเขือม่วง หอมแดง หอมหัวใหญ่สีม่วง บูลเบอร์รี่ น้ำดอกอัญชัน สีน้ำเงิน ม่วง และสีแดงบางชนิดมีสารแอนโทไซยานิน(anthocyanin) เป็นสารต้านอนุมูลอิสระชะลอภาวะเสื่อมของเซลล์ ต้านออกซิเดชั่นของไขมัน LDL ชะลอการเกิดโรคไขมันอุดตันในหลอดเลือดและโรคหลอดเลือดหัวใจแข็งตัว

69 ผักและผลไม้ สีขาว ถั่วเหลือง ลูกเดือย ขิง ข่า เมล็ดงา แอปเปิ้ล ฝรั่ง แก้วมังกร หน่อไม้ พุทรา ลางสาด แห้ว ลองกอง เงาะ ลิ้นจี่ ละมุด มังคุดกระเทียม(ต้นและหัว) ลูกเดือย มีสารประกอบจากกำมะถัน ฟลาโวนอยด์(อัลลิซิน เควร์เซทิน แคมปืฟีรอล ไอโซฟลาโวน แซนโทน) เพ็กติน กรดไฟติก มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ลดการแบ่งตัวของเซลล์มะเร็ง ช่วยรักษาระดับน้ำตาลในเลือด

70 ผักและผลไม้ สีเขียว ผักคะน้า ผักบุ้ง ผักโขม ผลอะโวคาโน กะหล่ำปลี บวบ หน่อไม้ฝรั่ง ถั่วพู ขึ้นฉ่าย กุยช่าย ชะอม ใยชะพลู ใบทองหลาง ใบย่านาง สะตอ พืชผักสีเขียวอุดมไปด้วยคลอโรฟิลล์และสารประกอบต่าง ๆ ได้แก่ ลูทีน เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ลดอัตราการเสื่อมของจอประสาทตาในผู้สูงอายุ อินโดล -3-คาร์บินอล มีฤทธิ์ต้านมะเร็ง ต้านการหนาและแข็งตัวของหลอดเลือดตัว

71 ผักและผลไม้สีเหลือง สีส้ม
แครอท ขนุน ลูกพลับ สับประรด มะนาว ส้ม มะยม มะม่วง ทุเรียน ขมิ้นชัน เสาวรส ฟักทอง มีวิตามินซี แคโรตินอยด์ สารฟลาโวนอยด์ เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ สลายไขมันในหลอดเลือด ต้านการรวมตัวของเกล็ดเลือด

72 ผักและผลไม้สีแดง ชมพู่ มะเขือเทศ แตงโม ส้มโอ มะละกอ ดอกกระเจี๊ยบ สตรอเบอร์รี่ เชอร์รี่ เมล็ดทับทิม แก้วมังกร หัวบีท ลูกตำลึง ลูกตะขบ มีสารแคโรทีนอยด์ แอนโทไซยานิน บีทาเลยและสารประกอบฟีนอล เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ป้องกันผิวหนังได้รับอันตรายจากรังสีอุลตร้าไวโอเล็ต ควบคุมความดันโลหิต ชะลอการอุดตันและแข็งตัวของหลอดเลือดหัวใจ

73 เคล็ดในการจัดชุดสำรับอาหารกลางวันต่อสัปดาห์
ที่มา: เอกสารประกอบการบรรยายของผศ.ดร.อุไรพร จิตต์แจ้ง มหาวิทยาลัยมหิดล

74 ที่มา: เอกสารประกอบการบรรยายของผศ.ดร.อุไรพร จิตต์แจ้ง มหาวิทยาลัยมหิดล

75 “มาตรฐานอาหารกลางวันโรงเรียนไทย”
การกำหนดเมนูหมุนเวียนในแต่ละสัปดาห์สำหรับโรงเรียนทั่วไป ใช้หลักการดังนี้:- กลุ่มอาหารที่ต้องมีทุกวัน เช่น กลุ่มข้าว น้ำมัน น้ำตาลคิดความถี่เป็น 5 วันต่อสัปดาห์ กลุ่มอาหารโปรตีนจากปลา และเนื้อสัตว์อื่นๆ ประมาณการว่าเป็นส่วนที่ เด็กจะได้รับจากครอบครัวในวันหยุดสุดสัปดาห์อย่างละ 1 ครั้ง จึงเหลือปลา 1 ครั้งและเนื้อสัตว์ 2 ครั้งต่อสัปดาห์ที่จะให้โรงเรียนดูแล ส่วนกลุ่มอาหารอื่นๆ ที่กำหนดความถี่น้อยกว่า 5 ครั้งต่อสัปดาห์ เป็นกลุ่มอาหารที่มีความเข้มข้นของสารอาหารสูงซึ่งกำหนดมาช่วยเสริมคุณค่าอาหารให้ดีขึ้น ยังคงกำหนดไว้ในส่วนที่โรงเรียนควรช่วยดูแล โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ที่ชุมชนยังมีความขาดแคลน ซึ่งอาจไม่สามารถคาดหวังว่าเด็กจะได้รับเมื่ออยู่ที่บ้านในวันหยุด

76 3-5 ปี 6-12 ปี 13-18 ปี กลุ่มอาหาร ปริมาณต่อครั้ง ครั้งต่อสัปดาห์ ข้าวสวย 1.5 ทัพพี 5 2.5 ทัพพี 3 ทัพพี ผัก* 0.5 ทัพพี 3-5 1 ทัพพี 4-5 1-1.5 ทัพพี ผลไม้* 0.5 ส่วน 1 ส่วน ปลา 2 ช้อนกินข้าว 1 3 ช้อนกินข้าว เนื้อสัตว์ต่าง ๆ 2 ไข่ 1 ฟอง 3 ตับสัตว์ต่าง ๆ** 0.25 ช้อนกินข้าว 0-1 1 ช้อนกินข้าว เต้าหู้ต่าง ๆ** 0-2 ปลาเล็กปลาน้อยที่กินทั้งก้าง** เลือดสัตว์ต่าง ๆ*** 1-2 น้ำมันพืช 1 ช้อนชา 1.5 ช้อนชา 2 ช้อนชา ข้าว-แป้ง จากอาหารว่าง-ขนม ถั่วเมล็ดแห้งต่าง ๆ(เขียว-แดง-ดำ)สุก 6 ช้อนกินข้าว เผือก-มันต่าง ๆ น้ำตาล ไม่เกิน 3 ช้อนชา น้ำดื่มที่สะอาด 1 แก้ว นมจืดครบส่วน 200 มล. 250 มล. (นมถั่วเหลือง)**** (2) ตารางที่ 3 "มาตรฐานอาหารกลางวันโรงเรียนไทย"สำหรับเด็กไทยแต่ละวัย ใน 1 สัปดาห์ (ปริมาณและความถี่ของอาหารกลุ่มต่าง ๆที่จัดเสริฟเป็นอาหารกลางวันและอาหารเสริมระหว่างมื้อ) ที่มา: เอกสารประกอบการบรรยายของผศ.ดร.อุไรพร จิตต์แจ้ง มหาวิทยาลัยมหิดล

77 3-5 ปี 6-12 ปี 13-18 ปี กลุ่มอาหาร ข้าวสวย ผัก ผลไม้ ปลา
ตารางที่ 3 ปริมาณและความถี่ของอาหารกลุ่มต่าง ๆ ซึ่งกำหนดเป็นมาตรฐานสำหรับ การจัดอาหารกลางวันและอาหารเสริมระหว่างมื้อสำหรับเด็กไทยแต่ละวัย ใน 1 สัปดาห์(1) 3-5 ปี 6-12 ปี 13-18 ปี กลุ่มอาหาร ปริมาณต่อครั้ง ครั้งต่อสัปดาห์ ข้าวสวย 1.5 ทัพพี 5 2.5 ทัพพี 3 ทัพพี ผัก 0.5 ทัพพี 3-5 1 ทัพพี 4-5 1-1.5 ทัพพี ผลไม้ 0.5 ส่วน 1 ส่วน ปลา 2 ช้อนกินข้าว 1 2 3 ช้อนกินข้าว เนื้อสัตว์ต่างๆ 3 ไข่ 1 ฟอง ที่มา: เอกสารประกอบการบรรยายของผศ.ดร.อุไรพร จิตต์แจ้ง มหาวิทยาลัยมหิดล

78 ที่มา: เอกสารประกอบการบรรยายของผศ.ดร.อุไรพร จิตต์แจ้ง มหาวิทยาลัยมหิดล
ตารางที่ 3 ปริมาณและความถี่ของอาหารกลุ่มต่าง ๆ ซึ่งกำหนดเป็นมาตรฐานสำหรับ การจัดอาหารกลางวันและอาหารเสริมระหว่างมื้อสำหรับเด็กไทยแต่ละวัย ใน 1 สัปดาห์(2) 3-5 ปี 6-12 ปี 13-18 ปี กลุ่มอาหาร ปริมาณต่อครั้ง ครั้งต่อสัปดาห์ น้ำมันพืช 1 ช้อนชา 5 1.5 ช้อนชา 2 ช้อนชา ข้าว-แป้ง จากอาหารว่าง-ขนม 1 ทัพพี 2 ถั่วเมล็ดแห้งต่าง ๆ(เขียว-แดง-ดำ) 6 ช้อนกินข้าว 1 3 เผือก-มันต่าง ๆ น้ำตาล ไม่เกิน 3 ช้อนชา น้ำดื่มที่สะอาด 1 แก้ว นมจืดครบส่วน 200 มล. 250 มล. ที่มา: เอกสารประกอบการบรรยายของผศ.ดร.อุไรพร จิตต์แจ้ง มหาวิทยาลัยมหิดล

79 ปริมาณอาหาร กลุ่มข้าว – แป้ง
80 กิโลแคลอรี่

80 ปริมาณ ผัก1 ทัพพี = 3 ช้อนกินข้าว
11 กิโลแคลอรี่

81 ปริมาณผลไม้ 1 ส่วน 70 กิโลแคลอรี่

82 ปริมาณเนื้อสัตว์ 1 ช้อนกินข้าว
26 – 55 กิโลแคลอรี่

83 ปริมาณอาหาร ที่ให้พลังงานเทียบเท่าไขมัน 1 ช้อนชา
น้ำมันพืช ช้อนชา น้ำมันหมู 1 ช้อนชา มายองเนส 1 ช้อนชา เนยสด/เนยเทียม 1 ช้อนชา เนยถั่ว 2 ช้อนชา คอฟฟี่เมท ช้อนชา น้ำสลัดข้น ช้อนชา 45 กิโลแคลอรี่ ให้ไขมัน 5 กรัม

84 ปริมาณอาหาร ที่ให้พลังงานเทียบเท่าไขมัน 1 ช้อนชา
น้ำสลัดใส 1 ช้อนกินข้าว กะทิ ช้อนกินข้าว มะพร้าวขูด 2 ช้อนกินข้าว เมล็ดดอกทานตะวัน 1 ช้อนกินข้าว ครีมนมสด ช้อนกินข้าว งา ช้อนกินข้าว เบคอนทอด 1 ชิ้น ครีมชีส 1 แผ่น ถั่วแอลมอนด์ 6 เมล็ด เมล็ดมะม่วงหิมพานต์ เมล็ด ถั่วลิสง เม็ด 45 กิโลแคลอรี่ ให้ไขมัน 5 กรัม

85 อาหารที่มีแคลเซียมเทียบเท่านม 1 แก้ว

86 ที่มา: เอกสารประกอบการบรรยายของผศ.ดร.อุไรพร จิตต์แจ้ง มหาวิทยาลัยมหิดล

87 ที่มา: เอกสารประกอบการบรรยายของผศ.ดร.อุไรพร จิตต์แจ้ง มหาวิทยาลัยมหิดล

88 ที่มา: เอกสารประกอบการบรรยายของผศ.ดร.อุไรพร จิตต์แจ้ง มหาวิทยาลัยมหิดล

89

90

91

92

93

94

95

96

97

98

99

100

101

102

103

104

105 เพื่อสุขภาพที่ดี…ห่างไกลโรค
ควรกินอาหารให้หลากหลายครบ 5 หมู่ ในสัดส่วนที่เหมาะสมตามความต้องการของร่างกาย ซึ่งดู ได้จาก ธงโภชนาการ และปฏิบัติตนตาม โภชนบัญญัติ 9 ข้อ หมั่นดูแลน้ำหนักตัว และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

106 สภาพแวดล้อมด้านอาหาร ที่พบในโรงเรียนทั่วไป

107 อาหารมันจัด

108 อาหารมันจัด

109 อาหารมันจัด

110 อาหารมันจัด

111 อาหารมันจัด

112 สถานที่รับประทานอาหาร

113 อุปกรณ์

114 เครื่องดื่ม

115 เครื่องดื่ม

116 ขนม

117 อาหารกลางวัน

118 อาหารกลางวัน

119 อาหารกลางวัน

120 อาหารกลางวัน

121 อาหารกลางวัน

122 อาหารกลางวัน

123 ผลไม้ คนละ 1 ส่วน ไม่จิ้มน้ำจิ้ม

124

125

126

127

128

129 การติดตามประเมินผล การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง บันทึกการบริโภคอาหาร
บันทึกการออกกำลังกาย

130 สรุปแนวทางการส่งเสริมการเจริญเติบโต

131 การกิน

132 ไม่อยากอ้วน ให้กินผลไม้ที่ไม่หวาน แทนขนม

133 การออกกำลังกาย เด็กอ้วน เด็กเตี้ย เด็กผอม 5-7 วัน ต่อสัปดาห์
5 วัน ต่อสัปดาห์ ครั้งละ 40 – 60 นาที สะสมครั้งละ 10 นาที รวมให้ได้วันละ 30 นาที วันละ 30 นาที เน้นสนุกสนาน ไม่บังคับ ปั่นจักรยาน ออกกำลังกายในน้ำ เน้นออกกำลังกายที่มีน้ำหนักลงที่ส้นเท้า เช่น กระโดดเชือก กระโดดสูง กระโดดไกล กระโดดยาง ว่ายน้ำ เน้นออกกำลังกายสร้างกล้ามเนื้อ ยกดรัมเบล วิ่งเล่น ทำงานบ้าน รดน้ำต้นไม้ ล้างรถ วิ่งเล่น ทุกวัน บ่อยๆ ลดการดูโทรทัศน์ เล่นเกม ลดการนั่งนิ่งๆ ไม่เกิน 2 ชั่วโมงต่อวัน

134 การนอน เข้านอน ตื่นนอน 20:00

135 รร. ระดับเพชร ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ กระทรวงสาธารณสุข องค์กรสส
รร.ระดับเพชร ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ กระทรวงสาธารณสุข องค์กรสส.เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ คือ มาตรฐานที่ช่วยในการดำเนินงานส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็กไทย

136 เครื่องมือช่วยการดำเนินงาน โปรแกรมเฝ้าระวังการเจริญเติบโต เด็ก 0-18 ปี โปรแกรม ThaiNutriSurvey โปรแกรม ThaiSchoolLunch

137 เว็บไซต์แนะนำเพิ่มเติม
สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข หรือ พิมพ์คำว่า สำนักโภชนาการ กรมอนามัย ใน google

138

139 ขั้นตอนการเฝ้าระวัง ภาวะการเจริญเติบโตเด็กวัยเรียน
แนวโน้มการเจริญเติบโต 2.ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย 1.ประเมินภาวะโภชนาการ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เลือกเครื่องชั่ง ตรวจสอบมาตรฐาน การอ่านค่า การคิดอายุ กราฟ แปลผล 6.รายงาน 3.วิเคราะห์ข้อมูลในขั้นตอน 1+2 การเจ็บป่วย ฐานะทางเศรษฐกิจและนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ ขั้นตอนการเฝ้าระวัง ภาวะการเจริญเติบโตเด็กวัยเรียน 5.ติดตามการดำเนินงาน แจ้งผล ผู้ปกครอง ผู้บริหาร ผู้ปกครอง ผู้บริหาร รร. สพท. รพ.สต. 4.ดำเนินการส่งเสริม ป้องกันและแก้ไขปัญหา กลุ่มเจริญเติบโตดี ชั่งนน.วัดสส. ทุก 6 เดือน ประเมินพฤติกรรมบริโภคอาหารทุก 6 เดือน > กลุ่มเสี่ยง กลุ่มอ้วน ผอม เตี้ยชั่งนน.ทุก 1 สป วัดสส.ทุก 2 สป. ดูแนวโน้ม หาสาเหตุ ประเมินพฤติกรรม บริโภคอาหารทุก 1 สป. เยี่ยมบ้านอย่างน้อยเดือนละครั้ง อาหาร ออกกำลังกาย การนอน


ดาวน์โหลด ppt ภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน และการจัดการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google