การปฏิบัติการ 5 ส
ส.5
ส.5 ระยะเริ่มต้น ระยะพัฒนา ระยะก้าวหน้า
ระยะเริ่มต้น เครียด เหนื่อย ไม่แน่ใจ จะเอาจริงหรือไม่ สับสน ไม่รู้จะเริ่มอย่างไร ความเข้าใจไม่ถูกต้อง ไม่รู้ว่าทำไปทำไม ทิศทางไม่ชัดเจน เครื่องมือ 5 ส ไม่พร้อม พี่เลี้ยงไม่มี
ระยะเริ่มต้น ต้องการ กำลังใจ การสนับสนุน การชี้แนะ ความใส่ใจของผู้บริหาร ความชัดเจน ที่ปรึกษา
ขั้นตอนการนำ 5 ส เข้าปฏิบัติ 1. นำโดยฝ่ายบริหาร 2. ตั้งคณะกรรมการ/อนุกรรมการ 5 ส 3. ประชาสัมพันธ์กิจกรรม 5 ส 4. อบรมให้ความรู้และชี้แจงเป้าหมายแผนงาน มาตรฐาน 5. ปฏิบัติการตามแผน 6.ตรวจให้คะแนน 7. ประเมินผล
การนำโดยฝ่ายบริหาร ประกาศนโยบาย การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร ติดตามผลการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
นโยบาย 5 ส บริษัท ….….….….. ได้ตระหนักถึงความสำคัญของคุณภาพงาน คุณภาพชีวิตพนักงาน และการควบคุมความสูญเสีย จึงได้กำหนดให้กิจกรรม 5 ส. เป็นนโยบายของบริษัท โดยให้ทุกหน่วยงานดำเนินกิจกรรม 5 ส โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของการทำงาน ซึ่งจะดำเนินการภายใต้เป้าหมาย มาตรฐานและแผนงานที่บริษัทกำหนด จึงประกาศมาเพื่อทราบและถือปฏิบัติโดยทั่วกัน (ผู้บริหารสูงสุดลงนาม)
จัดตั้งคณะกรรมการ 5 ส คณะกรรมการ 5 ส คณะทำงาน 5 ส คณะกรรมการ ตรวจประเมินกิจกรรม 5 ส คณะทำงาน 5 ส
บทบาทคณะกรรมการ 5 ส 1. กำหนดเป้าหมายการดำเนินกิจกรรม 5 ส ประจำปี 2. กำหนดแผนงาน 5 ส ประจำปี 3. กำหนดมาตรฐาน 5 ส 4. เป็นที่ปรึกษาการดำเนินกิจกรรม 5 ส ของหน่วยงาน 5. ติดตามผลการบริหารกิจกรรม 5 ส 6. ประเมินผลการบริหารกิจกรรม 5 ส 7. แต่งตั้งคณะทำงาน 5 ส ตามความเหมาะสม
ภารกิจแรกของกรรมการ 5 ส กำหนดเป้าหมายการดำเนินงานประจำปี กำหนดแผนงาน 5 ส ประจำปี กำหนดมาตรฐาน 5 ส แบ่งพื้นที่ความรับผิดชอบ
การกำหนดเป้าหมาย มีความท้าทายพอสมควร ไม่มากไป น้อยไป ที่มาของเป้าหมาย จากผลการประเมินครั้งก่อน จาก Baseline Audit จากการประเมินความเป็นไปได้จากมาตรฐาน
ดี (จุดผ่าน) ดีมาก ดีเยี่ยม BL 60 65 75 85 100%
ระดับความสำเร็จ
ระดับความสำเร็จ ระยะ 2 Standard V. 2 ระยะ 1 Standard V. 1
แผนงาน 5 ส ต่อเนื่องตลอดปี สร้างสิ่งเร้าต่อเนื่อง ความเป็นไปได้ คำนึงถึงหน่วยงานที่ทำ 5 ส ยากที่สุด
การเขียนมาตรฐาน 5 ส มาตรฐานกลาง กำหนดหัวข้อ รายการร่วม ลงมาตรฐานย่อยในแต่ละหัวข้อ มาตรฐานพื้นที่ มาตรฐานสำนักงาน มาตรฐานโรงเรียน มาตรฐานโรงงาน
มาตรฐานสำนักงาน รายการหลัก มาตรฐานทั่วไป(พื้น ผนัง ทางเดิน ประตู หน้าต่าง) โต๊ะ เก้าอี้ ตู้เก็บเอกสาร ชั้นวางของ คอมพิวเตอร์ พรินท์เตอร์ อุปกรณ์ไฟฟ้า บอร์ด ห้องน้ำ ฯลฯ
มาตรฐานสำนักงาน 1. โต๊ะ สะอาด ปราศจากฝุ่น ละออง เศษวัสดุ (ตัวอย่าง) มาตรฐานสำนักงาน 1. โต๊ะ สะอาด ปราศจากฝุ่น ละออง เศษวัสดุ สภาพทั่วไปไม่ชำรุด กระจกวางบนโต๊ะไม่แตกร้าว ไม่มีรูปภาพ หรือเอกสารที่ไม่เกี่ยวกับการทำงานวางไต้กระจกโต๊ะ เอกสารวางบนโต๊ะไม่เกิน 2 กอง สูงไม่เกิน 8 นิ้ว ไม่มีเอกสารที่ไม่เกี่ยวกับงาน เช่น นิตยสาร หนังสือพิมพ์ วางกองบนโต๊ะ ไม่มีของใช้ส่วนตัว ที่ไม่เกี่ยวกับการทำงาน วางบนโต๊ะ แสงสว่างต้องเหมาะสม พอเพียงต่อการทำงาน มีป้ายระบุชื่อเจ้าของโต๊ะกำกับ และเป็นมาตรฐานเดียวกัน
มาตรฐานโรงงาน รายการหลัก มาตรฐานทั่วไป การแบ่งพื้นที่ทำงาน เครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ การเก็บ กองวัตุดิบ วัสดุ ชิ้นงาน ระบบและอุปกรณ์ไฟฟ้า ห้องเครื่องมือ ห้องน้ำ ห้องสุขา ห้องพักผ่อน ,Locker ขยะ เศษโลหะ ฯลฯ
มาตรฐานโรงงาน 1. เครื่องจักร มีการกำหนดผู้รับผิดชอบเครื่องจักร (ตัวอย่าง) มาตรฐานโรงงาน 1. เครื่องจักร มีการกำหนดผู้รับผิดชอบเครื่องจักร เครื่องจักร อุปกรณ์อยู่ในสภาพดี เครื่องจักร อุปกรณ์ อยู่ในสภาพที่สะอาด โคมไฟ หลอดไฟส่องสว่างประจำเครื่องจักรอยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ และสะอาด ตู้เครื่องมือประจำเครื่องจักรต้องมีการกำหนดมาตรฐาน จำนวนและระบบการจัดเก็บ มีการกำจัดเศษโลหะ และทำความสะอาดเครื่องจักรทุกวันที่ทำงานกับเครื่องจักร มีการกำหนดที่วางชิ้นงานชั่วคราว อุปกรณ์ประจำเครื่องจักรที่แน่นอนและปลอดภัย บริเวณพื้นรอบเครื่องจักร ต้องมีการทำความสะอาดโดยกำจัดคราบน้ำมันเป็นระยะ
การรณรงค์กิจกรรม 5 ส เลือกวิธีการให้เหมาะสม เสริมสร้างความรู้และเป็นช่องทางสื่อสาร สร้างบรรยากาศการแข่งขันทั้งองค์กร ทำให้ 5 ส มีชีวิตชีวา
การรณรงค์กิจกรรม 5 ส บอร์ดประชาสัมพันธ์ 5 ส การประกวด บรรยายพิเศษ การใช้โปสเตอร์ สติกเกอร์ การดูงาน 5 ส
การอบรมให้ความรู้แก่ผู้เกี่ยวข้อง เสริมสร้างแนวคิด 5 ส เสริมสร้างการมีส่วนร่วมในกิจกรรม 5 ส ทราบหลักการปฏิบัติ 5 ส อย่างถูกวิธี ทราบเป้าหมาย แผนงาน มาตรฐาน5 ส ของหน่วยงาน
หลักสูตร แนวคิด 5 ส (5 S Concept) การบริหารระบบ 5 ส เทคนิคการตรวจประเมินกิจกรรม 5 ส หลักสูตร
ปฏิบัติตามแผน 1. สำรวจปัญหาในพื้นที่ที่รับผิดชอบ 2. กำหนดความสำคัญก่อนหลัง 3. กำหนดแนวทางแก้ปัญหาด้วย 5 ส ให้สอดคล้องกับมาตรฐาน5 ส 4.นำเข้าปฏิบัติ โดยให้สอดคล้องกับแผนงาน 5 ส
การตรวจให้คะแนน เพื่อเสริมสร้างสิ่งเร้าหรือแรงกระตุ้น บ่งชี้จุดอ่อนเพื่อการแก้ไข เพื่อเป็นข้อมูลการประเมินผลความสำเร็จ
การประเมินผลความสำเร็จ ประเมินความสำเร็จการดำเนินกิจกรรม 5 ส. วิเคราะห์ปัญหาในการดำเนินการในปีที่ผ่านมาเพื่อเป็นข้อมูลแก้ไขในปีต่อไป
สวัสดี