ผลการดำเนินการ PMQA หมวด 6 กรมอนามัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวชี้วัดที่ 11. ระดับ ความสำเร็ จของการ พัฒนา คุณภาพ การบริหาร จัดการ ภาครัฐ (PMQA) หมวด 7 RM 6 ตัวชี้วัดที่ 11. ระดับ ความสำเร็ จของการ พัฒนา คุณภาพ.
Advertisements

ตัวชี้วัดที่ 11. ระดับความสำเร็จของ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ (PMQA) หมวด 7 RM 6.
Valuing Employees & Partners ให้ความสำคัญพนักงาน คู่ค้า
ระบบประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ผ่านระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ โครงการพัฒนากระบวนการทำงาน (Re- Process) ประเภทความร่วมมือระหว่างสำนัก.
ร่าง- แผนยุทธศาสตร์ HR นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ วันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๙.
กองวิทยาการ กรมการขนส่ง ทหารเรือ. ภารกิจ มีหน้าที่ อำนวยการ ประสานงาน และดำเนินการ เกี่ยวกับการศึกษา ค้นคว้าวิจัย และพัฒนาเผยแพร่ให้คำแนะนำ ด้านวิทยาการขนส่ง.
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ค่าใช้จ่ายตามแผนงานโครงการและ แผนงานประจำ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ค่าใช้จ่ายตามแผนงานโครงการและ แผนงานประจำ รายการยุทธศาสตร์ที่ 3 คิดเป็น ร้อยละ.
PMQA Organization เอกสารประกอบการชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 28 ตุลาคม.
True Innovation Awards 2015 for True Presented by: Date:
พันธกิจที่ 4 สร้างกลไกการพัฒนางานสุขภาพจิต นายแพทย์บุญชัย นวมงคลวัฒนา ประธานพันธกิจที่ 4.
CHRO สรุปผลการดำเนินงานและแผน ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
การประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคล
การนำเสนอ โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา
การประชุมผู้บริหารกรมอนามัย เพื่อทบทวน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ ค่านิยม
แนวทางการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)
การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่
แผนกการพยาบาลอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการกรมอนามัย ประจำปี 2552
หน่วยงานที่ 2 บัณฑิตวิทยาลัย เวลา น. Process Key factor คำถาม (1) มีแนวทางและวิธีการอย่างไรในการส่งมอบผลิตภัณฑ์หลักและ/หรือ บริการหลักที่เราส่งมอบให้กับลูกค้าของเรา.
การวิเคราะห์อัตรากำลัง โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป
การชี้แจงตัวชี้วัดของหน่วยงาน
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข แผนยุทธศาสตร์ กรมอนามัย แผนปฏิบัติการ
การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self Assessment Report)
บทที่ 3 ระบบสารสนเทศกับการบริหารองค์กร
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
โดยสรุป 10 ขั้นตอนในการ implement
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 มกราคม 2550
GROUP ‘2’ slide to unlock.
การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ปลอดภัย Keep it secure
ระเบียบวาระการประชุม
Roadmap AUNQA หลักสูตร
นวัตกรรมและเทคโนโลยี คือ INNOTECH
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เพื่อผลทางการสื่อสาร และการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์
รายงานผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ระดับพื้นฐาน (FL)
และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)
หมวด 6 การปฏิบัติการ โดย ดร.สุนทรัสส์ เพชรรักษ์คำด้วง
การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable development)
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
อบรมการใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น หัวข้อ การคีย์ใบงาน IT Service สำหรับผู้ใช้บริการ โดย งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์การแพทย์ ฯ.
นายสมชัย ชวลิตธาดา EKACHAI SCHOOl โรงเรียนเอกชัย
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพ/ คุณภาพการทำงาน
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 29 พ.ย.61
หมวด 6.2 กระบวนการสนับสนุน
กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำคำของบประมาณ
บริการ/ทีม: ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
การจัดการกระจายสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น.
คะแนนประเมินตามระบบ SEPA
แนวคิดหลัก 1. Systematic 2. Sustainable 3. Measurable
ในการทำประกันคุณภาพการศึกษา รศ.พญ. อัจฉรา ตั้งสถาพรพงษ์
13 October 2007
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ ณ ห้องประชุม บก.ยศ.ทร. ชั้น 2
แนวทางการพัฒนาระบบราชการ ของกรมอนามัย และหน่วยงานในสังกัด
แนวทางและแผนการดำเนินงานฯ
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โรงพยาบาลจันทรุเบกษา
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
สรุปความก้าวหน้า การดำเนินงาน PA พัฒนาคุณภาพ เขตสุขภาพที่ 10
ตัวชี้วัด 2.4 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการดำเนินการ PMQA หมวด 6 กรมอนามัย โดย คณะทำงาน หมวด 6 วันที่ 27 สิงหาคม 2552

กรอบประเด็นการนำเสนอ 1. ภาพรวม และความเชื่อมโยงระหว่าง หมวด 6 กับหมวดต่างๆ และลักษณะสำคัญขององค์กร 2. กระบวนการทำงานของหมวด 6 (PM1- PM6) 3. งานที่หมวด 6 ดำเนินการเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จ

1. ภาพรวม และความเชื่อมโยง ระหว่างหมวด 6 กับหมวดต่างๆ และลักษณะสำคัญขององค์กร

Value Chain ของกรมอนามัย Level 1 Value Creation Process ผู้รับบริการ & ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม พัฒนากลไกการส่งมอบสินค้า/บริการด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ส่งต่อ /ส่ง มอบ สินค้า/บริการด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ผู้รับบริการ ได้รับสินค้าและบริการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่มีคุณภาพ การพัฒนาสินค้า/บริการด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม Core Process -กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง กระบวนการพัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศ Support Process

Value Chain กรมอนามัย ปี 2552 Level 1 ผู้รับบริการ ได้รับสินค้าและบริการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่มีคุณภาพ ผู้รับบริการ & ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม การพัฒนาสินค้า/บริการด้านส่งเสิรมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม พัฒนากลไก การส่งมอบสินค้า/บริการด้านส่งเสิรมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ส่งต่อ /ส่ง มอบ สินค้า/บริการด้านส่งเสิรมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม Level 2 ผลิตและพัฒนา Product & Process Innovation (Knowledge/ชุดความรู้ /Service Model/Technology) ในแต่ละเนื้อหา (Issue) นโยบายสาธารณะ และกฎหมาย พัฒนา ผลักดัน และสนับสนุนให้เกิดนโยบาย และกฎหมาย พัฒนาระบบและสร้างกลไกการขับเคลื่อนงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม ถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม /ส่ง มอบ Package ผลผลิตและบริการให้ ผู้รับมอ(Intermediate Customer) Core Process Level 3 * กระบวนงานผลิตพัฒนาองค์ความรู้เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม **พัฒนาผลักดันสนับสนุนให้เกิดนโยบายกฏหมายที่จำเป็นด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม **พัฒนาและสร้างกลไกการขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม * การถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ศึกษาวิจัย นโยบายสาธารณะ การเฝ้าระวัง สื่อสารมวลชน การจัดทำ(พัฒนา) เกณฑ์มาตรฐาน/คู่มือ/หลักสูตร กฎหมาย การกำกับติดตามและประเมินผล ฝึกอบรม(ประชุม/อบรม/สัมมนา) สร้างความเข้มแข็งภาคีเครือข่าย การรณรงค์เพื่อสร้างกระแสสุขภาพ การพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย การสร้างการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่าย การบริหารความสัมพันธ์กับภาคีเครือข่าย Support Process กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง กระบวนการพัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศ

หมวด 6 ที่เชื่อมโยงกับหมวดอื่น Value Chain กรมอนามัย IT2 กรมอนามัยทบทวนฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า ที่จัดทำไว้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 และต้องมีฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่าเพิ่มเติม อย่างน้อย 2 กระบวนการ IT3 กรมอนามัยต้องมีฐาน ข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวน การสนับสนุน อย่างน้อย 2 กระบวนการ RM 3 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานระยะเวลาที่กำหนดของ กระบวนการที่สร้างคุณค่า SP7 กรมอนามัยต้องมีการวิเคราะห์และจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงเพื่อเตรียมการรองรับสภาวะการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น ซึ่งต้องครอบคลุมถึงความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ ความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านกระบวนการ (รายงานผลเป็น RM6) RM 4 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานระยะเวลาที่กำหนดของกระบวนการสนับสนุน

2. กระบวนการทำงานของหมวด 6 (PM1- PM6)

PMQA ปี 2552 หมวด 6 PM 1 กรมอนามัยต้องกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากยุทธศาสตร์พันธกิจ และความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ของส่วนราชการ

PM 2 กรมอนามัยต้องจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการที่สร้างคุณค่าจากความต้องการของผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อกำหนดด้านกฎหมาย และข้อกำหนดที่สำคัญที่ช่วยวัดผลการดำเนินงาน และ/หรือปรับปรุงการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพและความคุ้มค่า ความต้องการของผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

PM 3 กรมอนามัยต้องออกแบบกระบวนการจากข้อกำหนดที่สำคัญ ใน PM 2 และนำปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่สำคัญ มาประกอบการออกแบบกระบวนการ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนื่อง

PM 4 กรมอนามัยต้องมีระบบรองรับภาวะฉุกเฉินต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น และมีผลกระทบต่อการจัดการกระบวนการเพื่อให้ส่วนราชการจะสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง

PM 5 กรมอนามัยต้องกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน ของกระบวนการที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุน โดยมีวิธีการในการนำมาตรฐานการปฏิบัติงานดังกล่าวให้บุคลากรนำไปปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุผลตามข้อกำหนดที่สำคัญ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของกระบวนการที่สร้างคุณค่าและสนับสนุน)

PM 6 กรมอนามัยต้องมีการปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน เพื่อให้ผลการดำเนินการดีขึ้นและ ป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด การทำงานซ้ำ และความสูญเสีย จากผลการดำเนินการ

3. งานที่หมวด 6 ดำเนินการเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จ

3.1 ตอบแบบฟอร์มประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 1 : แผนพัฒนาองค์การ ปี 2552 ส่งสำนักงาน ก.พ.ร. 30 ม.ค. 2552 แบบฟอร์มที่ 2 : ตัวชี้วัดความสำเร็จของแผนฯ แบบฟอร์มที่ 3 : 3.2 คือ PM1 – PM6 3.3 คือ RM3, RM4, RM6 แบบฟอร์มที่ 4 : ผลลัพธ์การดำเนินการตามแผน พัฒนาองค์การ แบบฟอร์มที่ 6 : 6.6 คือ ADLI และ OFI รายงาน SAR CARD 6ม 9 และ 12 เดือน

3.3 ฐานข้อมูล IT 2 ของกระบวนการสร้างคุณค่า 3.2 จัดทำ SOP SOP ใหม่ กระบวนการที่สร้างคุณค่า 2 กระบวนการ และกระบวนการสนับสนุน 2 กระบวนการ เพื่อใช้ใน ปี 2553 ปรับปรุง SOP เก่า กระบวนการที่สร้างคุณค่า 2 กระบวนการ และกระบวนการสนับสนุน 2 กระบวนการ 3.3 ฐานข้อมูล IT 2 ของกระบวนการสร้างคุณค่า ปรับปรุงฐานข้อมูล 2 กระบวนการเดิมที่ส่งปีงบประมาณ 2551 จัดทำฐานข้อมูลใหม่ของ 2 กระบวนการที่ส่งปีงบประมาณ 2552 3.4 จัดทำฐานข้อมูล IT 3 ของกระบวนการสนับสนุน 2 กระบวนการ

3.5 จัดทำแผนความเสี่ยงด้านกระบวนการ (SP7) และรายงานผลอย่างน้อย 2 ไตรมาส รวมฉบับสิ้นปีงบประมาณ 2552 (RM6) 3.6 ประเมินการใช้ SOP ผลลัพธ์ใน RM3 และ RM4 ความสำเร็จในการดำเนินการตามมาตรฐานระยะเวลาที่กำหนดของกระบวนการที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุน อย่างละ 2 กระบวนการ

3.7 ดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ในแบบฟอร์ม 1 และรายงานผลตามตัวชี้วัด ในแบบฟอร์ม 2 ของปี 2552 3.8 จัดทำแผนพัฒนาองค์การ ในแบบฟอร์ม 1 และแบบฟอร์ม 2 ของปี 2553 3.9 ผลการประเมินองค์กรตนเองหมวด 6 ตามโปรแกรมที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด 3.10 เตรียมหลักฐานอ้างอิง

สาระสำคัญในแผนพัฒนาองค์การ หมวด 6 เป็นการแก้ไข OFI ที่มีอยู่ในปัจจุบัน คือการที่บุคลากรและหน่วยงานนำ SOP ไปใช้ไม่ทั่วทั้งองค์กร การสื่อสาร SOP และถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติอย่างทั่วทั้งองค์การ การกำหนดกระบวนการสร้างคุณค่า (กระบวนการรับรองมาตรฐานฯ) /สนับสนุนใหม่ ติดตามและประเมินผลการใช้ SOP เพื่อการปรับปรุง

มติที่ประชุม PMQA หมวด 6 เมื่อวันที่ 26 ส. ค

ข้อเสนอเพื่อการพัฒนาใน ปี 2553 1. ให้ กพร. กรม เป็นแกนหลักในการจัดแผน Site Visit - PMQA ทุกหมวดพร้อมกัน 2. เสนอให้หมวด 2 จัดทำ SP7 เป็นภาพรวมของกรมอนามัยที่มีความเชื่อมโยงความเสี่ยง ครอบคลุม ทั้ง 4 ด้าน 3. ควรจัดการระบบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ PMQA ตั้งแต่ ลักษณะสำคัญขององค์กร และหมวด 1-7 ให้มีศูนย์รวมของข้อมูล และเข้าถึงได้ง่าย 4. ควรจัดให้มี Mirror Server ของกรมอนามัย

คณะทำงานฯ หมวด 6 PMQA กรมอนามัย วันที่ 27 สิงหาคม 2552 สวัสดีค่ะ คณะทำงานฯ หมวด 6 PMQA กรมอนามัย วันที่ 27 สิงหาคม 2552