Principles of Accounting II

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จำนวน สถานะ NUMBER OF STATES. ประเด็นที่ สนใจ The number of distinct states the finite state machine needs in order to recognize a language is related.
Advertisements

ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
Current Liabilities หนี้สินระยะสั้น.
บทที่ 4 จดหมายเสนอขาย เนื้อหาบทเรียน
ASP:ACCESS Database.
Merchant Marine Training Centre วิชาการเป็นเลิศ เชิดชู คุณธรรม ผู้นำ.
บทที่ 3 วงจรบัญชี : การบันทึกบัญชี 2.
การแสดงการทำงานของระบบด้วย Use Case Diagram
Exercise 4: Page 41.
วิธีการ Auto ship.
โครงการปรับปรุงระบบ Oracle Financial มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หลักสูตรอบรมครู คอมพิวเตอร์ หลักสูตรอบรมครู คอมพิวเตอร์ หลักสูตรที่ ๑ ทักษะการโปรแกรม เบื้องต้น วันที่สาม.
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ANSI/ASQ Z1.4 Acceptance Sampling Plans
ปริมาณสัมพันธ์ ผู้สอน อ. ศราวุทธ แสงอุไร Composition Stoichiometry ว ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของ สาร และเคมีไฟฟ้า นายศราวุทธ แสงอุไร ครูวิชาการสาขาเคมี
ครูรุจิรา ทับศรีนวล “Room service”. “Room service”
ภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปึที่ 4 Grammar & Reading ครูรุจิรา ทับศรีนวล.
TEST FOR 3RD GRADERS IN THAILAND: COMPARATIVE STUDY Pimlak Moonpo Valaya Alongkorn Rajabhat University under the Patronage Assoc. Prof. Dr. Maitree Inprasitha.
INVESTMENTS Chapter 6 (2) Understanding the Business A company may invest in the securities of another company to: Earn a return on idle funds.
© The McGraw-Hill Companies, Inc., 2003 McGraw-Hill/Irwin Slide 2-1 งบการเงิน (FINANCIAL STATEMENTS ) Chapter 3.
เงินสดและเงินลงทุน (Cash and Investment) Chapter 6 2.
วัฎจักรทางการบัญชี –ภาคจบ (THE ACCOUNTING CYCLE 2)
Principles of Accounting
แบบฝึกหัด Relative clauses
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
ความเท่าเทียม เพื่อเด็กไทยทุกคน
LIABILITIES Chapter 10 2.
งบการเงิน (FINANCIAL STATEMENTS )
เศรษฐกิจพอเพียงยุคเอทีเอ็ม โดย ดร
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ
หลักการและความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
การบัญชีเกี่ยวกับส่วนของผู้เป็นเจ้าของ(Accounting of Owners’ Equity)
อ.หทัยกาญจน์ กำเหนิดเพชร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
Integrity Constraints
พื้นฐานการเขียนแบบทางวิศวกรรม
วิชา การควบคุมปฏิบัติการและการตรวจสอบภายใน
Principles of Accounting
Principles of Accounting II
วิธีปฏิบัติทางบัญชี 1. การรับบริจาคเงินสด
1. นี่เป็นสิ่งที่พระเยซูทรงทำ พระองค์ทรงรักษาทุกคน ที่เจ็บป่วยให้หายดี
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Principles of Accounting I
บัญชีเบื้องต้น 1 (Basis Accounting I)
หน่วยที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ
Chapter 6 Diplomatic and Consular Privileges and Immunities
Principles of Accounting II
การออกแบบระบบงาน (Conceptual Design)
การฝึกอบรม MU – ERP ระบบงานบัญชีเจ้าหนี้ (AP: Accounts Payable) วันที่ 25 เมษายน 2011 – 3 พฤษภาคม 2011 โครงการจ้างที่ปรึกษา พัฒนาและติดตั้งระบบงาน ERP.
การออกแบบระบบงาน (Conceptual Design)
“ระบบการจัดเก็บข้อมูลบริการ เพื่อเชื่อมโยงกับระบบบัญชี”
Receivables AR (ระบบบัญชีลูกหนี้)
Principles of Accounting II
Principles of Accounting I
ระบบการรับ-จ่ายเงินภาครัฐ สุทธิรัตน์ รัตนโชติ 16 สิงหาคม 2559
กระบวนการปฏิบัติงานในวงจรรายได้ ประเภทที่ 2 กระบวนการปฏิบัติงานในวงจรรายได้สำหรับการขายสด พนักงานก็จำทำการบันทึกข้อมูลการรับชำระเงินค่าสินค้า โดยในขั้นตอนนี้แบ่งออกได้
การประเมินส่วนราชการ
ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (Withholding Tax-W/T)
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
1 E 1 S E M N G Reading & Writing
ตอนที่ 4: เคลื่อนไปกับของประทานของท่าน Part 4: Flowing In Your Gift
Inventory Control Models
บทที่ 4 หลักการบันทึกรายการทางบัญชี.
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการบูรณาการภาครัฐและเอกชนในการจัดยุทธศาสตร์เศรษฐกิจภาคตะวันออก This template can be used as a starter file to give updates for.
ผังทางเดินเอกสาร – ระบบส่งคืนสินค้า
การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา (Problem Analysis)
Principles of Accounting I
Principles of Accounting I
Principles of Accounting I
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Principles of Accounting II Asst.Prof.Dr. Panchat Akarak p.thipnew1@hotmail.com School of Accounting Chiang Rai Rajabhat University Principles of Accounting II

Principles of Accounting II Bank Reconciliation Outline Bank Reconciliation Statement Principles of Accounting II

Principles of Accounting II Bank Reconciliation Learning Objectives Prepare a bank reconciliation statement and Recorded necessary in journal entries based on that statement. Principles of Accounting II

Principles of Accounting II Bank Statement A bank statement is used by a bank describing the deposits and checks cleared during the period. A. Cancelled checks and original deposit tickets generally are returned with the bank statement. Principles of Accounting II

Principles of Accounting II Bank Statement B. Debit memos and credit memos may also be returned with the bank statement. 1. Debit memos are forms used by banks to explain a deduction from the depositor’s account. Note that the company’s cash account is a liability to the bank and if it wants to reduce that liability, a debit memo is used. 2. Credit memos explain additions to the account. Note that increases to the bank’s liability accounts require credits. Principles of Accounting II

Principles of Accounting II Bank Statement The balance shown in the bank statement usually differs from the balance in the depositor’s Cash in Bank ledger account. 1. Outstanding checks have not yet been deducted from the bank balance. 2. Deposits in transit have not yet been added to the bank balance. 3. Bank errors can occur in a depositor’s account caused by scanners misreading the account number printed in magnetic ink or bank employees encoding on the check the wrong amount. Principles of Accounting II

Principles of Accounting II Bank Statement 4. Bank Service charges have not yet been recognized by the depositor and deducted from the Cash account balance. 5. “Not sufficient funds” checks have not yet been deducted from the depositor’s Cash account balance. 6. The bank may have collected a customer’s note or received a wire transfer of funds which is an inter-bank transfer of funds by telephone. 7. The depositor may have made errors by recording a check in the accounting records for a different amount from the actual figure. Principles of Accounting II

The bank statement usually differs 1. Outstanding checks 2. Deposits in transit 3. Bank errors 4. Bank Service charges 5. Checks returned “Not sufficient funds” 6. Collected a customer’s note or received a wire transfer 7. The depositor different amount from the actual figure. Principles of Accounting II

Bank Reconciliation Statement ……………………. Company Bank Reconciliation, June 30, 20xx Book to Bank Book balance of Cash xxxx Add: (1) xxx    (2) (3) (4) Deduct: Bank statement balance Principles of Accounting II

Bank Reconciliation Statement ……………………. Company Bank Reconciliation, June 30, 20xx Bank to Book Bank statement balance xxxx Add: (1) xxx    (2) (3) (4) Deduct: Book balance of Cash Principles of Accounting II

Bank Reconciliation Statement …………………… Company Bank Reconciliation, Date……….., 20xx Book and k to True Book balance of Cash xxxx Bank statement balance Add: (1) xx   (2) (3) (4) xx  Deduct: Reconciled balance Principles of Accounting II

Bank Reconciliation Statement Bank and Book to True ……….. Company Bank Reconciliation, June 30, 20xx Bank Statement balance xxxx Book balance of Cash Add: ( )   Deduct: Reconciled balance Principles of Accounting II

Bank Reconciliation Statement ……….. Company Bank Reconciliation, June 30, 20xx Book balance of Cash xxx Bank statement balance Add: (1) Deposits in transit +  (1) Collected a customer’s note   (2 ) Bank errors- (2) received a wire transfer ( ) (3) The depositor different ( ) Book error - Deduct: (1) Outstanding checks -  (1) Checks returned - (1) Bank errors+ (2) The depositor different (3) Bank Service charges ( ) Book error+ Reconciled balance Principles of Accounting II

Bank Reconciliation Statement A bank reconciliation statement is prepared in order to accounts for the difference between the two balances. A. Both the balance per the bank statement and the balance per the ledger account are adjusted to the true balance of expendable cash. B. The documents used are the bank statement and any accompanying debit and credit memoranda, returned checks, a list of checks issued, and a record of deposits made. Principles of Accounting II

Bank Reconciliation Statement C. After the reconciliation has been prepared, an adjusting entry is prepared to record the previously unrecorded items. Principles of Accounting II

Certified and Cashier’s Checks A certified check is a check drawn by a depositor and taken to its bank for certificating which indicates that the depositor’s balance is large enough to cover the check. A. The amount of the certified check is deducted immediately after certification from the depositor’s checking account. Principles of Accounting II

Certified and Cashier’s Checks B. The certified check now becomes a liability of the bank rather than the depositor. A casher’s check is a check drawn by a bank made out to either the depositor checking account. Principles of Accounting II

Principles of Accounting II ประเภทเงินฝากธนาคาร การเปิดบัญชีเงินฝากธนาคาร มี 3 แบบ 1. เงินฝากกระแสรายวัน (Current Accounts) 2. เงินฝากออมทรัพย์ (Saving Accounts) 3. เงินฝากประจำ (Fixed Accounts) 18 Principles of Accounting II

การเปิดบัญชีเงินฝากธนาคาร 1. เงินฝากแบบกระแสรายวัน (Current Accounts) ลักษณะการฝากแบบกระแสรายวัน เปิดบัญชีครั้งแรกไม่ต่ำกว่า 10,000 บาท ไม่ใช้สมุดคู่ฝาก นำฝากโดยใช้ใบนำฝาก (pay in slip) ถอนโดยการใช้เช็ค ไม่มีดอกเบี้ยสำหรับเงินนำฝาก แสดงยอดโดยใช้ใบแสดงยอดในแต่ละเดือน (Bank statement) 19 Principles of Accounting II

การเปิดบัญชีเงินฝากธนาคาร 2. เงินฝากแบบออมทรัพย์ (Saving Accounts) ลักษณะการฝากแบบออมทรัพย์ เปิดบัญชีครั้งแรกไม่ต่ำกว่า 100 บาท ใช้สมุดคู่ฝากในการนำฝากถอน ใช้บัตร ATM ในการฝากหรือถอนได้ มีดอกเบี้ยรับจากเงินฝาก 20 Principles of Accounting II

การเปิดบัญชีเงินฝากธนาคาร 3. เงินฝากแบบประจำ (Fixed Accounts) ลักษณะการฝากแบบประจำ นำฝากตามเงื่อนไขเงินฝากประจำ ได้รับดอกเบี้ยตามอัตราที่ตกลง ใช้สมุดคู่ฝาก (Bank Book) ใช้สำหรับการลงทุนแบบความเสี่ยงต่ำ 21 Principles of Accounting II

บัญชีแยกประเภท เงินสดฝากธนาคาร บัญชีเงินฝากธนาคาร NO. 102 25x1 ม.ค. 1ยอดยกมา 5,000 25x1 ม.ค.31 สมุดรายวันจ่าย 25,000 31สมุดรายวันรับเงิน 35,000 ถอน - ฝาก+ Principles of Accounting II

การทำงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร (Bank Reconciliation) การทำงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร มี 2 วิธี 1. พิสูจน์จากฝ่ายหนึ่งไปหาอีกฝ่ายหนึ่ง 1.1 Banks to Books 1.2 Books to Banks 2. พิสูจน์เข้าหายอดเงินฝากที่ถูกต้องของธนาคารและกิจการ 2.1 Banks to True/Correct and 2.2 Books to True/Correct Principles of Accounting II

วิธีการค้นหาข้อแตกต่างของยอดคงเหลือบัญชีเงินฝากธนาคาร ขั้นที่ 1 นำ Bank Statement ของธนาคารในแต่ละเดือน มาเปรียบเทียบกับสมุดเงินสดรับ และสมุดเงินสดจ่ายของกิจการ ในเดือนเดียวกัน ขั้นที่ 2 เปรียบเทียบช่องฝาก (Cr.) ของธนาคารกับ สมุดเงินสดรับ ของกิจการ ถ้าหากไม่ตรงกัน ให้ทำเครื่องหมาย* และให้เลขกำกับรายการ ขั้นที่ 3 เปรียบเทียบช่องถอน (Dr.) ของธนาคารกับ สมุดเงินสดจ่ายของกิจการ ถ้าไม่ตรงกัน ให้ทำเครื่องหมาย* และให้เลขกำกับรายการ ขั้นที่ 4 รวบรวมข้อแตกต่างที่ได้จากการเปรียบเทียบไว้ที่เดียวกัน Principles of Accounting II

การทำงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร สาเหตุของการทำงบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร ยอดเงินฝากธนาคารคงเหลือของทั้งสองฝ่ายไม่ตรงกัน ณ วันเดียวกัน 1. เนื่องจากการบันทึกบัญชีต่างเวลา (เหลื่อมเดือน) 2. การบันทึกฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งผิดพลาด หรือ บันทึกเพียงฝ่ายเดียว Principles of Accounting II

ประโยชน์การทำงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร 1. กิจการมีบัญชีเงินฝาก และบัญชีอื่นที่เกี่ยวข้อง แสดงยอดคงเหลือถูกต้อง 2. กิจการได้บันทึกรายการบัญชีที่ยังไม่ได้บันทึก และแก้ไขรายการที่บันทึกผิดพลาด Principles of Accounting II

Bank Reconciliation การบันทึกบัญชีปรับปรุงหลังการทำงบพิสูจน์ยอด -บันทึกรายการปรับปรุงบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป เฉพาะของกิจการเนื่องจากสาเหตุดังนี้ 1) เป็นรายการที่กิจการยังไม่ได้บันทึกบัญชี เช่น ค่าธรรมเนียมธนาคาร ตั๋วเงินเรียกเก็บ ลูกหนี้โอนเข้าบัญชี ค่าใช้จ่ายที่ให้ธนาคารจ่ายแทน 2) เป็นรายการที่กิจการบันทึกบัญชีผิดพลาด Principles of Accounting II

Bank Reconciliation รายการข้อแตกต่างของบัญชีเงินฝากธนาคารที่พบบ่อย 1. เงินฝากระหว่างทาง (Deposits in Transit) 2. เช็คค้างจ่าย (Outstanding Cheques) 3. ตั๋วเงินรับธนาคารเรียกเก็บให้ (Note Collected by bank) 4. เช็คคืน/เช็คเรียกเก็บเงินไม่ได้ (Non Sufficient Fund : NSF Cheques) หรืออาจจะเป็นเช็คไม่สมบูรณ์ 5. ค่าธรรมเนียมธนาคาร (Bank Service Charge) เช่น ค่าเรียกเก็บเงิน เช็คคืน 6. ลูกหนี้โอนเงินเข้าบัญชีชำระหนี้ ในวันสิ้นเดือน 7. ค่าใช้จ่ายที่ธนาคารจ่ายแทน เช่น ค่าสาธารณูปโภค ค่าเบี้ยประกัน 8. กิจการบันทึกบัญชีผิด เช่น ลงบัญชีฝากต่ำไป สูงไป / ลงบัญชีถอนต่ำไป สูงไป 9. ธนาคารบันทึกบัญชีผิด เช่น ลงบัญชีฝากต่ำไป สูงไป /ลงบัญชีถอนต่ำไป สูงไป Principles of Accounting II

รายการข้อแตกต่าง เพื่อทำ Bank Reconciliation เงินฝากระหว่างทาง (Deposits in transit) เป็นรายการฝาก ต้อง บวก Bank ยังไม่บวก Book บวกแล้ว Bank ต้องบวก Principles of Accounting II

รายการข้อแตกต่าง เพื่อทำ Bank Reconciliation เช็คค้างจ่าย (Outstanding Cheques) เป็นรายการถอน ต้อง ลบ Bank ยังไม่ลบ Book ลบแล้ว Bank ต้องลบ Principles of Accounting II

รายการข้อแตกต่าง เพื่อทำ Bank Reconciliation ตั๋วเงินรับธนาคารเรียกเก็บให้ (Note Collected by bank) เป็นรายการฝาก ต้อง บวก Bank บวกแล้ว Book ยังไม่บวก Book ต้องบวก Principles of Accounting II

รายการข้อแตกต่าง เพื่อทำ Bank Reconciliation เช็คคืน/เช็คเรียกเก็บเงินไม่ได้ (Non Sufficient Fund : NSF Cheques) เป็นรายการฝากแต่เก็บเงินไม่ได้ ต้อง ลบ Bank ลบแล้ว Book ยังไม่ลบ Book ต้องลบ Principles of Accounting II

รายการข้อแตกต่าง เพื่อทำ Bank Reconciliation ค่าธรรมเนียมธนาคาร (Bank Service Charge) เป็นรายการถอน ต้อง ลบ Bank ลบแล้ว Book ยังไม่ลบ Book ต้องลบ Principles of Accounting II

รายการข้อแตกต่าง เพื่อทำ Bank Reconciliation ลูกหนี้โอนเงินเข้าบัญชีชำระหนี้ ในวันสิ้นเดือน เป็นรายการฝาก ต้อง บวก Bank บวกแล้ว Book ยังไม่บวก Book ต้องบวก Principles of Accounting II

รายการข้อแตกต่าง เพื่อทำ Bank Reconciliation ค่าใช้จ่ายที่ธนาคารจ่ายแทน เช่น ค่าสาธารณูปโภค ค่าเบี้ยประกัน เป็นรายการถอน ต้อง ลบ Bank ลบแล้ว Book ยังไม่ลบ Book ต้องลบ Principles of Accounting II

รายการข้อแตกต่าง เพื่อทำ Bank Reconciliation กิจการบันทึกบัญชีผิด เช่น ลงบัญชีฝากต่ำไป เป็นรายการฝาก ต้อง บวก 600 Bank บวก 600 Book บวก 500 Book ปรับปรุงบวก 100 (dif) Principles of Accounting II

รายการข้อแตกต่าง เพื่อทำ Bank Reconciliation กิจการบันทึกบัญชีผิด เช่น ลงบัญชีฝากสูงไป เป็นรายการฝาก ต้อง บวก 600 Bank บวก 600 Book บวก 800 Book ปรับปรุง ลบ 200 (diff) Principles of Accounting II

รายการข้อแตกต่าง เพื่อทำ Bank Reconciliation ธนาคารบันทึกบัญชีผิด เช่น ลงบัญชีฝากต่ำไป เป็นรายการฝาก ต้อง บวก 800 Bank บวก 500 Book บวก 800 Bank ปรับปรุง บวก 300 (diff) Principles of Accounting II

รายการข้อแตกต่าง เพื่อทำ Bank Reconciliation ธนาคารบันทึกบัญชีผิด เช่น ลงบัญชีฝากสูงไป เป็นรายการฝาก ต้อง บวก 600 Bank บวก 900 Book บวก 600 Bank ปรับปรุง ลบ 300 (diff) Principles of Accounting II

สรุปการพิจารณารายการข้อแตกต่างเงินฝากธนาคาร Bank Book 1. เงินฝากระหว่างทาง + - 2. เช็คค้างจ่าย + 3. ตั๋วเงินธนาคารเรียกเก็บให้ - 4. เช็คคืน/เช็คที่ธนาคารเรียกเก็บเงินไม่ได้ - 5. ค่าธรรมเนียมธนาคาร 6. ลูกหนี้โอนเงินเข้าบัญชีกิจการเพื่อชำระหนี้ + - 7. ค่าใช้จ่ายที่ธนาคารจ่ายแทนกิจการ 8. กิจการบันทึกบัญชีผิด ฝากต่ำไป / ถอนสูงไป (ผลต่าง) + - 9. กิจการบันทึกบัญชีผิด ฝากสูงไป / ถอนต่ำไป (ผลต่าง) 10. ธนาคารบันทึกบัญชีผิด ฝากต่ำไป / ถอนสูงไป (ผลต่าง) + 11. ธนาคารบันทึกบัญชีผิด ฝากสูงไป / ถอนต่ำไป (ผลต่าง) - Principles of Accounting II

Summary Transaction Difference Transactions Bank Book 1. Cash Deposit in Transit + - 2. Outstanding Cheque 3. Note Receivable Collected by Bank + - 4. Cheque Return by Bank/ NSF Cheque - 5. Bank Service Charge 6. Cash Transfer to Bank by Accounts + - 7. Expenditure by Bank 8. Error Deposit/Withdraw by Accountant : less than (Diff) + - 9. Error Deposit/Withdraw by Accountant : more than (Diff) 10. Error Deposit/Withdraw by Bank : less than (Diff) + 11. Error Deposit/Withdraw by Bank : more than (Diff) - Principles of Accounting II

ตัวอย่าง รายการข้อแตกต่างเงินฝากธนาคาร ให้พิจารณา รายการต่อไปนี้ ต้อง บวก หรือ ลบ 1. เช็คนำฝากธนาคารในวันที่ 30 ธันวาคม ธนาคารยังไม่ฝากในบัญชี ให้ จำนวน 5,879 บาท คำตอบ บวก ธนาคาร 2. เช็คสั่งจ่ายไปแล้ว ผู้รับยังไม่นำไปขึ้นเงินที่ธนาคาร 14,560 บาท คำตอบ ลบ ธนาคาร ในวันที่ 28 ธันวาคม กิจการนำเช็ครับจากลูกหนี้ฝากเข้าธนาคาร 12,450 บาท ธนาคารบันทึกบัญชีไปแล้ว แต่พนักงานบัญชีของบริษัทบันทึกยอดเป็น 12,540 บาท คำตอบ ลบ กิจการ =90 Principles of Accounting II

ตัวอย่าง รายการข้อแตกต่างเงินฝากธนาคาร ให้พิจารณา รายการต่อไปนี้ ต้อง บวก หรือ ลบ 4. เช็ครับจากลูกหนี้ 2,485 บาท นำฝากธนาคาร พนักงานบันทึกบัญชี เงินฝากธนาคารเป็น 2,845 บาท คำตอบ ลบ กิจการ =360 5. ตั๋วเงินมูลค่า 10,000 บาท อายุ 3 เดือน ดอกเบี้ย 12%ต่อปี กิจการนำไปให้ธนาคารเรียกเก็บให้ธนาคารเรียกเก็บเงินให้ได้แล้ว และได้ฝากในบัญชีเงินฝากให้เรียบร้อยแล้ว แต่กิจการยังไม่ได้บันทึก ในบัญชีเงินฝากของกิจการ คำตอบ บวก กิจการ =10,300 ดอกเบี้ย 10,000x12%x3/12=300 Principles of Accounting II

ตัวอย่าง รายการข้อแตกต่างเงินฝากธนาคาร ให้พิจารณา รายการต่อไปนี้ ต้อง บวก หรือ ลบ 6. เช็ครับจากนายสุพร นำฝากธนาคาร ธนาคารคืนมาเพราะเรียกเก็บเงินไม่ได้ จำนวน 4,820 บาท คำตอบ ลบ กิจการ =4,820 7. กิจการได้ตกลงกับธนาคารขอให้ธนาคารจ่ายค่าใช้จ่ายแทนมีดังนี้ ค่าน้ำประปา 220 บาท ค่าไฟฟ้า 285 บาท ค่าโทรศัพท์ 384 บาท ค่าภาษีรถยนต์ 2,100 บาท รวม 2,989 บาท คำตอบ ลบ กิจการ =2,989 Principles of Accounting II

ตัวอย่าง รายการข้อแตกต่างเงินฝากธนาคาร ให้พิจารณา รายการต่อไปนี้ ต้อง บวก หรือ ลบ 8. เช็คจ่ายให้เจ้าหนี้ 1 ฉบับจำนวนเงิน 6,346 บาท แต่กิจการบันทึกบัญชีเป็น 6,436 บาท คำตอบ บวก กิจการ =90 9. เช็คสั่งจ่ายให้เจ้าหนี้แล้ว ผู้รับยังไม่นำไปเบิกเงินที่ธนาคาร # 255208 จำนวนเงิน 10,800 บาท #255217 จำนวนเงิน 7,200 บาท # 255220 จำนวนเงิน 18,000 บาท รวมเงิน 36,000 บาท คำตอบ ลบ ธนาคาร =36,000 Principles of Accounting II

ตัวอย่าง การจัดทำงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร Bank Reconciliation (Banks to Books) xxx บวก 1. เงินฝากระหว่างทาง xxx 2. ค่าธรรมเนียมธนาคาร xxx 3. ค่าใช้จ่ายที่ธนาคารจ่ายแทน xxx 4. เช็ครับคืนจากธนาคาร xxx xxx รวม xxx หัก xxx 1. ลูกหนี้โอนเงินเข้าบัญชีชำระหนี้ xxx 2. เช็คค้างจ่าย (เช็คที่เจ้าหนี้ยังไม่ขึ้นเงินที่ธนาคาร) xxx xxx 3. ตั๋วเงินที่ธนาคารเรียกเก็บเงินให้พร้อมดอกเบี้ย ยอดเงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีของกิจการ (Books) xxx Principles of Accounting II

โจทย์ตัวอย่าง การจัดทำงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร วันสิ้นงวด กิจการมียอดเงินฝากธนาคารคงเหลือ 32,650 บาท แต่กิจการได้รับใบแจ้งยอดจากธนาคาร มียอดคงเหลือ 42,271 บาท จากการตรวจสอบพบรายการที่เป็นข้อแตกต่าง ดังนี้ 1. เงินฝากระหว่างทาง 5,879 บาท 2. ธนาคารหักค่าธรรมบริการ 960 บาท 3. ธนาคารนำเช็คของกิจการอื่นมาหักบัญชีกิจการ (ผิดบัญชี) 5,000 บาท 4. เช็คให้ธนาคารเรียกเก็บเงินให้ไม่ได้ จึงส่งคืนให้กิจการ 5,200 บาท 5. เช็ครับชำระหนี้จากลูกหนี้นำฝากแต่กิจการลงบัญชีฝากสูงไป 90 บาท 6. เช็คที่กิจการลั่งจ่ายให้เจ้าหนี้ แต่ยังไม่ปรากฏการขึ้นเงิน 14,560 บาท 7. ธนาคารเรียกเก็บเงินให้ตามตั๋ว 12,000 บาท พร้อมดอกเบี้ย 190 บาท Diff = 9,621 Bank + Book - Bank+ Book- Book- Bank- Book+ Principles of Accounting II

ชื่อกิจการ............................ งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x5 ยอดเงินฝากธนาคารตามหนังสือแจ้งจากธนาคาร (Banks) 42,271 บวก 1. เงินฝากระหว่างทาง 5,879 2. ค่าธรรมเนียมธนาคาร 960 3. เช็คธนาคารหักผิดบัญชี 5,000 4. เช็คคืน 5,200 5. เช็คกิจการลงบัญชีฝากสูงไป 90 17,129 รวม 54,400 6. เช็คค้างจ่าย 14,560 หัก 7. ตั๋วเงินธนาคารเรียกเก็บให้ 12,190 26,750 32,650 ยอดเงินฝากธนาคารตามบัญชีของกิจการ (Books) Principles of Accounting II

ตัวอย่าง การจัดทำงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร Bank Reconciliation (Books to Banks) xxx บวก 1. ลูกหนี้โอนเงินเข้าบัญชีชำระหนี้ xxx 2. เช็คค้างจ่าย (เช็คที่เจ้าหนี้ยังไม่ขึ้นเงินที่ธนาคาร) xxx 3. ตั๋วเงินที่ธนาคารเรียกเก็บเงินให้พร้อมดอกเบี้ย xxx xxx รวม xxx หัก 1. เงินฝากระหว่างทาง xxx 2. ค่าธรรมเนียมธนาคาร xxx 3. ค่าใช้จ่ายที่ธนาคารจ่ายแทน xxx 4. เช็ครับคืนจากธนาคาร xxx xxx ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดจากธนาคาร (Banks) xxx Principles of Accounting II

ชื่อกิจการ............................ งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x5 ยอดเงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีกิจการ (Books) 32,650 1. เช็คค้างจ่าย 14,560 บวก 2. ตั๋วเงินธนาคารเรียกเก็บให้ 12,190 26,750 59,400 รวม หัก 1. เงินฝากระหว่างทาง 5,879 2. ค่าธรรมเนียมธนาคาร 960 3. เช็คธนาคารหักผิดบัญชี 5,000 4. เช็คคืน 5,200 5. เช็คกิจการลงบัญชีฝากสูงไป 90 17,129 42,271 ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดจากธนาคาร (Banks) Principles of Accounting II

ตัวอย่าง การจัดทำงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร Bank Reconciliation (Banks and Books to True) xxx ยอดเงินฝากธนาคารตาม Books บวก 1. เงินฝากระหว่างทาง xx บวก 1. ตั๋วเงินเรียกเก็บ xx 2. เช็คธนาคารหักผิดบัญชี xx xx 2. ลูกหนี้โอนเงินเข้าบัญชี xx รวม หัก 1. เช็คค้างจ่าย xx หัก 1. ค่าใช้จ่ายธนาคารจ่ายแทน xx 2. เช็คธนาคารฝากผิดบัญชี xx 2. เช็คคืน xx ยอดเงินฝากธนาคารที่ถูกต้อง (True) เท่ากัน Principles of Accounting II

Bank Reconciliation (Banks and Books to True) แบบรายงาน ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดจากธนาคาร (Banks) xxx บวก 1. เงินฝากระหว่างทาง xx 2. เช็คธนาคารหักผิดบัญชี xx xx รวม หัก 1. เช็คค้างจ่าย xx 2. เช็คธนาคารฝากผิดบัญชี xx ยอดเงินฝากธนาคารที่ถูกต้อง (True) ส่วนที่ 1 ยอดเงินฝากธนาคารตามlสมุดบัญชีกิจการ (Books) xxx บวก 1. ตั๋วเงินเรียกเก็บ xx 2. ลูกหนี้โอนเงินเข้าบัญชี xx xx รวม หัก 1. ค่าใช้จ่ายธนาคารจ่ายแทน xx 2. เช็คคืน xx ยอดเงินฝากธนาคารที่ถูกต้อง (True) ส่วนที่ 2 เท่ากัน Principles of Accounting II

ชื่อกิจการ............................. งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x5 แบบบัญชี ยอดเงินฝากธนาคารตาม Banks 42,271 ยอดเงินฝากธนาคารตาม Books 32,650 บวก 1. เงินฝากระหว่างทาง 5,879 บวก 1. ตั๋วเงินเรียกเก็บ 12,190 2. เช็คธนาคารหักผิดบัญชี 5,000 10,879 44,840 รวม 53,150 หัก 1. เช็คกิจการฝากสูงไป 90 หัก 1. เช็คค้างจ่าย 14,560 2. ค่าธรรมเนียมธนาคาร 960 3. เช็คคืน 5,200 6,250 ยอดเงินฝากธนาคารที่ถูกต้อง (True) 38,590 เท่ากัน Principles of Accounting II

แบบรายงาน เท่ากัน ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดจากธนาคาร (Banks) 42,271 บวก 1. เงินฝากระหว่างทาง 5,879 2. เช็คธนาคารหักผิดบัญชี 5,000 10,879 รวม 53,150 หัก 1. เช็คค้างจ่าย 14,560 ยอดเงินฝากธนาคารที่ถูกต้อง (True) 38,590 แบบรายงาน ยอดเงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีของกิจการ (Books) 32,650 บวก 1. ตั๋วเงินเรียกเก็บ 12,190 44,840 หัก 1. เช็คกิจการฝากสูงไป 90 2. ค่าธรรมเนียมธนาคาร 960 3. เช็คคืน 5,200 6,250 ยอดเงินฝากธนาคารที่ถูกต้อง (True) 38,590 เท่ากัน Principles of Accounting II

การบันทึกรายการปรับปรุง ตั๋วเงินธนาคารเรียกเก็บเงินให้กิจการและเข้าบัญชีแล้ว Dr. เงินฝากธนาคาร 12,190 ค่าธรรมเนียมธนาคาร 50 Cr. ตั๋วเงินรับ 12,240 เช็ครับจากลูกหนี้กิจการลงฝากบัญชีสูงไป Dr. ลูกหนี้การค้า 90 Cr. เงินฝากธนาคาร 90 Principles of Accounting II

การบันทึกรายการปรับปรุง ธนาคารหักค่าธรรมเนียมในการบริการ Dr. ค่าธรรมเนียมธนาคาร 960 Cr. เงินฝากธนาคาร 960 ธนาคารส่งเช็คที่เรียกเก็บเงินไม่ได้คืนกิจการ Dr. ลูกหนี้ 5,200 Cr. เงินฝากธนาคาร 5,200 Principles of Accounting II

ตัวอย่าง การบันทึกรายการปรับปรุง ลูกหนี้โอนเงินเข้าบัญชีเพื่อชำระหนี้ Dr. เงินฝากธนาคาร 50,000 Cr. ลูกหนี้การค้า 50,000 ธนาคารจ่ายค่าสาธารณูปโภคแทนกิจการ Dr. ค่าสาธารณูปโภค 30,000 Cr. เงินฝากธนาคาร 30,000 ธนาคารหักค่าธรรมเนียมธนาคาร Dr. ค่าธรรมเนียมธนาคาร 2,000 Cr. เงินฝากธนาคาร 2,000 Principles of Accounting II

เงินเบิกเกินบัญชี (Bank Overdraft) หมายถึง บัญชีเงินฝากธนาคารที่มียอดคงเหลือทางด้าน เครดิต เป็นบัญชีหนี้สินหมุนเวียน สาเหตุ เงินเบิกเกินบัญชีเกิดจากการที่กิจการสั่งจ่ายเช็คมีจำนวนเงินมากกว่าจำนวนเงินที่ฝากไว้ที่ธนาคาร ซึ่งกิจการได้ทำสัญญาขอเบิกเกินไว้กับธนาคารล่วงหน้า Principles of Accounting II

เงินเบิกเกินบัญชี (Bank Overdraft) วันสิ้นเดือนถ้ายอดคงเหลือบัญชีไม่ตรงกันจะต้องทำงบพิสูจน์ยอดฯ การทำงบพิสูจน์ยอดเงินเบิกเกินบัญชี มี 2 วิธี 1. พิสูจน์จากฝ่ายหนึ่งไปหาอีกฝ่ายหนึ่ง 1.1 Banks to Books 1.2 Books to Banks 2. พิสูจน์เข้าหายอดเงินเบิกเกินที่ถูกต้องของธนาคารและกิจการ 2.1 Banks to True/Correct and 2.2 Books to True/Correct Principles of Accounting II

การทำงบพิสูจน์ยอดเงินเบิกเกินบัญชี (Bank Overdraft) มี 2 วิธี 1. ทำเหมือนงบพิสูจน์ยอดเงินฝากฯ โดยการใช้การวงเล็บถ้าเป็นเงินเบิกเกินบัญชี (วงเล็บ= ลบ) 2. ทำตรงกันข้ามกับงบพิสูจน์ยอดเงินฝาก -รายการที่เป็น + จากงบพิสูจน์ยอดเงินฝากจะกลับเป็น - -รายการที่เป็น - จากงบพิสูจน์ยอดเงินฝากจะกลับเป็น + Principles of Accounting II

การทำงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร (Bank Reconciliation) การทำงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร มี 2 วิธี 1. พิสูจน์จากฝ่ายหนึ่งไปหาอีกฝ่ายหนึ่ง 1.1 Banks to Books 1.2 Books to Banks 2. พิสูจน์เข้าหายอดเงินฝากที่ถูกต้องของธนาคารและกิจการ 2.1 Banks to True/Correct and 2.2 Books to True/Correct Principles of Accounting II

การวิเคราะห์รายการข้อแตกต่าง No. Description Bank Book Correct 1 เงินฝากระหว่างทาง ยังไม่บวก บวกแล้ว + 2 เช็คค้างจ่าย ยังไม่หัก หักแล้ว - 3 ตั๋วเงินรับให้ธนาคารเรียกเก็บ 4 เช็คคืน/เช็คขาดความเชื่อถือ 5 ค่าธรรมเนียมธนาคาร 6 ลูกหนี้โอนเงินเข้าบัญชีชำระหนี้ 7 ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่ธนาคารจ่ายแทนโดยหักบัญชี 8 กิจการบันทึกบัญชีผิด บวก/หักแล้ว -/+ Principles of Accounting II

การวิเคราะห์รายการข้อแตกต่างและวิธีการทำงบพิสูจน์ฯ No. Description Bank Book Bank to Book Book to Bank To True 1 เงินฝากระหว่างทาง + 2 เช็คค้างจ่าย - 3 ตั๋วเงินเรียกเก็บได้ 4 เช็คคืน 5 ค่าธรรมเนียมธนาคาร 6 ลูกหนี้โอนเงินชำระ 7 ค่าใช้จ่ายธนาคารจ่ายแทน 8 กิจการบันทึกบัญชีผิด -/+ Principles of Accounting II

การวิเคราะห์รายการข้อแตกต่างและวิธีการทำงบพิสูจน์ฯ No. Description Bank Book Bank to Book Book to Bank To True 1 เงินฝากระหว่างทาง + - 2 เช็คค้างจ่าย 3 ตั๋วเงินเรียกเก็บได้ 4 เช็คคืน 5 ค่าธรรมเนียมธนาคาร 6 ลูกหนี้โอนเงินชำระ 7 ค่าใช้จ่ายธนาคารจ่ายแทน 8 กิจการบันทึกบัญชีผิด -/+ Principles of Accounting II

การวิเคราะห์รายการข้อแตกต่างและวิธีการทำงบพิสูจน์ฯ No. Description Bank Book Bank to Book Book to Bank To True 1 เงินฝากระหว่างทาง + 2 เช็คค้างจ่าย - 3 ตั๋วเงินเรียกเก็บได้ 4 เช็คคืน 5 ค่าธรรมเนียมธนาคาร 6 ลูกหนี้โอนเงินชำระ 7 ค่าใช้จ่ายธนาคารจ่ายแทน 8 บันทึกบัญชีผิด -/+ Principles of Accounting II

การวิเคราะห์รายการข้อแตกต่างและวิธีการทำงบพิสูจน์ฯ No. Description Bank Book Bank to Book Book to Bank To True 1 เงินฝากระหว่างทาง + - 2 เช็คค้างจ่าย 3 ตั๋วเงินเรียกเก็บได้ 4 เช็คคืน 5 ค่าธรรมเนียมธนาคาร 6 ลูกหนี้โอนเงินชำระ 7 ค่าใช้จ่ายต่าง ๆที่ธนาคารจ่ายแทน 8 บันทึกบัญชีผิด -/+ Principles of Accounting II

ชื่อกิจการ บริษัท ไทยแท้ จำกัด. งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร วันที่ 30 กันยายน 25x5 ยอดเงินฝากธนาคารตามหนังสือใบแจ้งยอดจากธนาคาร (Banks) 54,960 บวก 1. เงินฝากระหว่างทาง 3,500 5. เช็คธนาคารหักผิดบัญชี 5,600 6. ค่าธรรมเนียมธนาคาร 250 9,350 รวม 64,310 หัก 2. เช็คค้างจ่าย 2 ฉบับ เลขที่ 1024196 เป็นเงิน 2,000 เลขที่ 1024201 เป็นเงิน 1,400 3,400 3. เช็คกิจการลงหักบัญชีสูงไป 91 4. เช็คลงวันที่ล่วงหน้าค้างจ่าย 6,000 9,491 ยอดเงินฝากธนาคารตามบัญชีของกิจการ (Books) 54,819 Principles of Accounting II

Principles of Accounting II บริษัท ไทยแท้ จำกัด. งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร วันที่ 30 กันยายน 25x5 ยอดเงินฝากธนาคารตามบัญชีของกิจการ (Books) 54,819 บวก 2. เช็คค้างจ่าย 2 ฉบับ เลขที่ 1024196 เป็นเงิน 2,000 เลขที่ 1024201 เป็นเงิน 1,400 3,400 3. เช็คกิจการลงหักบัญชีสูงไป 91 4. เช็ควันที่ล่วงหน้าค้างจ่าย 6,000 9,491 รวม 64,310 หัก 1.เงินฝากระหว่างทาง 3,500 5. เช็คธนาคารหักผิดบัญชี 5,600 6. ค่าธรรมเนียมธนาคาร 250 9,350 ยอดเงินฝากธนาคารตามหนังสือใบแจ้งยอดจากธนาคาร (Banks) 54,960 Principles of Accounting II

Principles of Accounting II บริษัท ไทยแท้ จำกัด งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร (หายอดที่ถูกต้อง-Account Form) วันที่ 30 กันยายน 25x5 เงินฝากตาม Banks statement 54,960 บวก 1. เงินฝากระหว่างทาง 3,500 5. เช็คธนาคารหักผิดบัญชี 5,600 9,100 รวม 64,060 หัก 2. เช็คค้างจ่าย 2 ฉบับ 3,400 4. เช็คค้างจ่าย 1 ฉบับ 6,000 9,400 ยอดเงินฝากธนาคารที่ถูกต้อง 54,660 เงินฝากตาม Books 54,819 บวก 3. เช็คลงบัญชีผิด 91 รวม 54,910 หัก 6. ค่าธรรมเนียมธนาคาร 250 ยอดเงินฝากธนาคารที่ถูกต้อง 54,660 Principles of Accounting II

Principles of Accounting II บริษัท ไทยแท้ จำกัด งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร (หายอดที่ถูกต้อง-Report Form) วันที่ 30 กันยายน 25x5 ส่วนที่ 1 เงินฝากธนาคารตาม Books Cash 54,819 บวก 3. เช็คลงบัญชีผิด 91 รวม 54,910 หัก 6. ค่าธรรมเนียมธนาคาร 250 ยอดเงินฝากธนาคารที่ถูกต้อง 54,660 Principles of Accounting II

Principles of Accounting II ส่วนที่ 2 เงินฝากตาม Banks Statement 54,960 บวก 1. เงินฝากระหว่างทาง 3,500 5. เช็คธนาคารหักผิดบัญชี 5,600 9,100 รวม 64,060 หัก 2. เช็คค้างจ่าย 2 ฉบับ 3,400 4. เช็คค้างจ่าย 1 ฉบับ 6,000 9,400 ยอดเงินฝากธนาคารที่ถูกต้อง 54,660 Principles of Accounting II

บันทึกรายการปรับปรุงในสมุดรายวันทั่วไป Dr. เงินฝากธนาคาร 91 Cr. เจ้าหนี้ การค้า 91 ปรับปรุงเช็คจ่ายชำระเจ้าหนี้ลงบัญชีสูงไป Dr. ค่าธรรมเนียมธนาคาร 250 Cr. เงินฝากธนาคาร 250 บันทึกค่าธรรมเนียมธนาคาร Principles of Accounting II

คำถามปรนัย 16. บริษัทฯมียอดเงินฝากธนาคารคงเหลือ 31 มกราคม 25x1 จำนวน 30,770 บาท แต่ใบแจ้งยอดจากธนาคาร ณ วันสิ้นเดือนเดียวกัน มียอดคงเหลือ 38,000 บาท จากการตรวจสอบค้นพบข้อแตกต่าง 6 รายการ ดังนี้ -เงินฝากระหว่างทาง 15,000 บาท -เช็คค้างจ่าย 30,000 บาท -ธนาคารนำเช็คกิจการอื่นมาหักผิดบัญชีจำนวน 8,000 บาท -เช็ครับคืนจากธนาคาร 12,500 บาท -ตั๋วเงินธนาคารเรียกเก็บให้ 13,000 บาท -เช็ครับจากลูกหนี้ 5,250 บาท นำฝากธนาคารแต่กิจการลงบัญชีเป็น 5,520 บาท Principles of Accounting II

คำถามปรนัย บริษัทฯ จะมียอดคงเหลือบัญชีเงินฝากธนาคารที่ถูกต้อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x1 จำนวนเท่าใด ก. 30,970 บาท ข. 31,000 บาท ค. 31,270 บาท ง. 30,770 บาท จ. 38,000 บาท Principles of Accounting II

คำถามปรนัย 17. บริษัทฯมียอดเงินฝากธนาคารคงเหลือ 31 มกราคม 25x1 จำนวน 50,000 บาท แต่ใบแจ้งยอดจากธนาคาร ณ วันสิ้นเดือนเดียวกัน มียอดคงเหลือ 60,000 บาท จากการตรวจสอบค้นพบข้อแตกต่าง 4 รายการ ดังนี้ -เงินฝากระหว่างทาง 20,000 บาท -เช็คค้างจ่าย 32,000 บาท -เช็ครับคืนจากธนาคาร 12,000 บาท -ตั๋วเงินธนาคารเรียกเก็บให้ 10,000 บาท Principles of Accounting II

บริษัทฯ จะมียอดคงเหลือที่ถูกต้อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x1 จำนวนเท่าใด คำถามปรนัย บริษัทฯ จะมียอดคงเหลือที่ถูกต้อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x1 จำนวนเท่าใด ก. 42,000 บาท ข. 48,000 บาท ค. 52,000 บาท ง. 60,000 บาท จ. 64,000 บาท Principles of Accounting II

คำถามปรนัย 18. กิจการรับชำระหนี้จากลูกหนี้เป็นเช็คจำนวน 5,450 บาท แต่พนักงานบัญชีของกิจการลงบัญชีเงินฝากเป็น 5,540 บาท ก. บวก ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดของธนาคาร ข. หัก ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดของธนาคาร ค. บวก ยอดเงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีของกิจการ ง. หัก ยอดเงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีของกิจการ จ. ไม่เกี่ยวข้อง Principles of Accounting II

คำถามปรนัย 19. กิจการได้รับเช็คคืนจากธนาคารเนื่องจากเงินในบัญชีผู้สั่งจ่ายมีไม่เพียงพอ จำนวน 20,000 บาท และกิจการยังไม่ได้บันทึกบัญชี ก. บวก ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดของธนาคาร ข. หัก ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดของธนาคาร ค. บวก ยอดเงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีของกิจการ ง. หัก ยอดเงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีของกิจการ จ. ไม่เกี่ยวข้อง Principles of Accounting II

คำถามปรนัย 20. กิจการนำเช็คที่รับจากลูกหนี้ 50,000 บาท ฝากเข้าธนาคารในวันสิ้นเดือน แต่ธนาคารยังไม่บันทึกบัญชี ก. บวก ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดของธนาคาร ข. หัก ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดของธนาคาร ค. บวก ยอดเงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีของกิจการ ง. หัก ยอดเงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีของกิจการ จ. ไม่เกี่ยวข้อง Principles of Accounting II

คำถามปรนัย 21. กิจการจ่ายเช็คชำระหนี้จำนวนเงิน 24,500 บาท แต่พนักงานบัญชีของกิจการบันทึกบัญชีเป็น 25,400 บาท ก. บวก ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดของธนาคาร ข. หัก ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดของธนาคาร ค. บวก ยอดเงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีของกิจการ ง. หัก ยอดเงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีของกิจการ จ. ไม่เกี่ยวข้อง Principles of Accounting II

คำถามปรนัย 22. ธนาคารจ่ายค่าสาธารณูปโภคแทนกิจการจำนวน 4,820 บาท แต่กิจการยังไม่ได้บันทึกบัญชี ก. บวก ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดของธนาคาร ข. หัก ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดของธนาคาร ค. บวก ยอดเงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีของกิจการ ง. หัก ยอดเงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีของกิจการ จ. ไม่เกี่ยวข้อง Principles of Accounting II

คำถามปรนัย 23. ธนาคารเรียกเก็บเงินตามตั๋วเงิน 50,000 บาท พร้อมดอกเบี้ย 2,000 บาท และเข้าบัญชีให้กิจการเรียบร้อยแล้ว แต่กิจการยังไม่ได้บันทึกบัญชี ก. บวก ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดของธนาคาร ข. หัก ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดของธนาคาร ค. บวก ยอดเงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีของกิจการ ง. หัก ยอดเงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีของกิจการ จ. ไม่เกี่ยวข้อง Principles of Accounting II

คำถามปรนัย 24. เช็ครับจากลูกค้านำฝากธนาคารจำนวนเงิน 5,250 บาท แต่พนักงานบัญชีของกิจการบันทึกบัญชีเป็น 5,220 บาท ก. บวก ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดของธนาคาร ข. หัก ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดของธนาคาร ค. บวก ยอดเงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีของกิจการ ง. หัก ยอดเงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีของกิจการ จ. ไม่เกี่ยวข้อง Principles of Accounting II

คำถามปรนัย ใช้ตัวเลือกต่อไปนี้สำหรับข้อ 25-34 ใช้ตัวเลือกต่อไปนี้สำหรับข้อ 25-34 กิจการต้องการจัดทำงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารของเดือน กรกฎาคม โดยใช้วิธีหายอดเงินฝากที่ถูกต้องและสมมติว่ากิจการมียอดเงินฝากคงเหลือ สิ้นเดือนกรกฎาคม 30,000 บาท จากรายการข้อแตกต่างข้างล่างนี้ ให้นำตัวเลือกไปใส่หน้าข้อที่ถูกต้อง ก. บวก เงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดธนาคาร ข. หัก เงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดธนาคาร ค. บวก เงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีกิจการ ง. หัก เงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีกิจการ จ. รายการที่ไม่เกี่ยวข้อง Principles of Accounting II

คำถามปรนัย ...........25. นำเงินฝากธนาคารในวันที่ 30 กรกฎาคม 14,500 บาท แต่ธนาคารยังไม่ได้บันทึกรับเนื่องจากเป็นเงินฝากระหว่างทาง ……….26. เช็คของลูกค้าจำนวน 4,000 บาท ที่นำฝากในวันที่ 20 กรกฎาคม ได้รับกลับคืนมาจากธนาคารโดยมี เครื่องหมาย NSF บริษัทยังไม่ได้บันทึกบัญชี ……….27. ธนาคารหักค่าธรรมเนียมเดือนกรกฎาคม 300 บาท ก. บวก เงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดธนาคาร ข. หัก เงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดธนาคาร ค. บวก เงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีกิจการ ง. หัก เงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีกิจการ จ. รายการที่ไม่เกี่ยวข้อง Principles of Accounting II

คำถามปรนัย ……….28. เช็คเลขที่ 12345 บริษัทจ่ายให้เจ้าหนี้ ปรากฏในใบแจ้งยอดธนาคารเป็นเงิน 7,450 บาท แต่พนักงานบันทึกเป็น 7,540 บาท ……….29. เช็คที่กิจการสั่งจ่ายเจ้าหนี้ แต่ยังไม่ได้ขึ้นเงินที่ธนาคาร ณ วันที่ 31 กรกฎาคม เป็นเงิน19,500 บาท ……….30. ธนาคารนำเช็คของกิจการอื่นมาหักบัญชีของบริษัท จำนวน 5,000 บาท ก. บวก เงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดธนาคาร ข. หัก เงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดธนาคาร ค. บวก เงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีกิจการ ง. หัก เงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีกิจการ จ. รายการที่ไม่เกี่ยวข้อง Principles of Accounting II

คำถามปรนัย ……….31. ธนาคารหักค่าธรรมเนียมในการเรียกเก็บเงินตามเช็คจำนวน 200 บาท ……….32. ในระหว่างเดือน กรกฎาคม ธนาคารเรียกเก็บเงินตามตั๋วเงินให้กับบริษัทมูลค่าหน้าตั๋ว 20,000 บาท พร้อมดอกเบี้ย 200 บาท บริษัทยังไม่ได้บันทึกบัญชี ก. บวก เงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดธนาคาร ข. หัก เงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดธนาคาร ค. บวก เงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีกิจการ ง. หัก เงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีกิจการ จ. รายการที่ไม่เกี่ยวข้อง Principles of Accounting II

คำถามปรนัย ……….33. บริษัทเขียนเช็คสั่งจ่ายเดือนมิถุนายน เป็นเงิน 10,000 บาท ผู้รับนำมาขึ้นเงินกับธนาคาร ในเดือนกรกฎาคม ..........34. ธนาคารนำเช็คกิจการอื่นเป็นผู้สั่งจ่ายมาหักบัญชีของกิจการ ก. บวก เงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดธนาคาร ข. หัก เงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดธนาคาร ค. บวก เงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีกิจการ ง. หัก เงินฝากธนาคารตามสมุดบัญชีกิจการ จ. รายการที่ไม่เกี่ยวข้อง Principles of Accounting II

เฉลยคำตอบปรนัย ข้อ 1-34 1. ข 10. ค 19. ง 28 2. 11. 20. ก 29. 3. 12. เฉลยคำตอบปรนัย ข้อ 1-34 1. ข 10. ค 19. ง 28 2. 11. 20. ก 29. 3. 12. 21. 30. 4. 13. 22. 31. 5. 14. 23. 32. 6 15. 24. 33. จ 7 16. 25. 34. 8 17. 26. 9 18. 27. Principles of Accounting II

The End Thank you for your Attention Q & A Principles of Accounting II