งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Principles of Accounting II

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Principles of Accounting II"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Principles of Accounting II
Asst.Prof.Dr. Panchat Akarak School of Accounting Chiang Rai Rajabhat University

2 Control of Cash & Internal Control
Outline Internal Control Controlling Cash The bank Checking Account

3 Control of Cash & Internal Control
Learning Objectives Describe the necessity for and features of internal control. Define cash and list the objectives sought by management in handing a company’s cash. Identify procedures for controlling cash receipts and disbursements.

4 Internal Control An internal control system is the plan of organization and all the procedures and actions taken by an entity to (a) protect its assets against theft and waste, (b) ensure compliance with company policies and Federal law, (c) evaluate the performance of all personnel in the company so as to promote efficiency of operations, and (d) ensure accurate and reliable operating data and accounting reports.

5 Internal Control a. Assets can be protected by
(1) segregation of employee duties, (2) separation of employee function, (3) rotation of employee job assignments, and (4) use of mechanical devices.

6 Internal Control b. Internal control policies must be followed by employees, and those policies must satisfy the requirements of the Foreign Corrupt Practices Act. C. Internal auditing can assists in evaluating how well company employees are doing their jobs.

7 Internal Control D. Since source documents serve as documentation of business transactions, from time to time the validity of these documents should be checked. E. For added protection, a company should carry both casualty insurance on assets and fidelity bonds on employees.

8 Controlling Cash Many business transactions involve cash utilizing a checking account. A. By definition each includes currency, coins, amounts in checking and savings accounts, and money orders, B. Cash also includes certificates of deposit which are interest-bearing deposits at a bank which can be withdrawn at will or at a fixed maturity date.

9 Controlling Cash C. Cash does not include IOUs, notes receivable, or postage stamps. D. Petty Cash and Cash are the typical cash accounts. E. Management has the following objectives in regard to cash. (1) Account for all cash transactions accurately, so that correct information will be available regarding cash flows and balances.

10 Controlling Cash (2) Make certain there is enough cash available to pay bills as they come due. (3) Avoid holding too much idle cash because excess cash could be invested to generate income, such as interest. (4) Prevent loss of cash due to theft or fraud.

11 Controlling Cash Receipts
All assets owned by the company must be protected from theft of mishandling, but cash requires additional care. A. Cash is more likely to be the object of theft because it is easily concealed. B. Cash is not readily identifiable and this makes it a likely target for thieves. C. Cash may be more desirable than other company assets because it can be quickly spent to acquire other things of value.

12 Controlling Cash Receipts
The are several basic principles for controlling cash receipts even though these may vary with each business. 1. Records of all cash receipts should be prepared soon after cash is received. 2. All cash receipts should be deposited intact on the day received or the next business day. A. Cash disbursements should not be made from cash receipts but only by check or from petty cash funds.

13 Controlling Cash Receipts
B. If refunds for returned merchandise are made from the cash register, refund tickets should be prepared and approved by a supervisor. 3. The person who handles cash receipts should not record them in the accounting system. 4. The person receiving cash should not also disburse cash.

14 Controlling Cash Disbursements
There are basic control procedures for cash disbursements because most of the firm’s cash is A. All disbursements should be made by check or from petty cash. B. All checks should be serially numbered and access to checks should be limited. C. Preferable, two signatures should be required on each check.

15 Controlling Cash Disbursements
D. If possible, the person who authorizes payment of a bill should not be allowed to sign checks. E. Approved invoices or vouchers should be required to support checks issued. F. The person authorizing disbursements should be certain that payment is in order and is made to the proper payee.

16 Controlling Cash Disbursements
G. When invoices and vouchers are paid, they should be stamped “Paid” with the date and number of the check issued indicated. H. The person(s) who signed the checks should not have access to cancelled checks and should not prepare the bank reconciliation. i. A bank reconciliation should be prepared each month, preferably by a person who has no other cash duties.

17 Controlling Cash Disbursements
J. All voided and spoiled checks should be retained and defaced to prevent their unauthorized use. K. A voucher system may be needed in large firms for close cash control. L. Use of the net price method of recording purchases helps avoid loss of purchase discounts through planned timing of cash payments.

18 The Bank Checking Account
One of the services provided by a bank is a checking account, which is a balance maintained in a bank that is subject to withdrawal by the depositor on demand.

19 Signature Card A new depositor completes a signature card which provides the signatures of persons authorized to sign checks drawn upon an account.

20 Deposit Tickets In making a bank deposit, the depositor prepares a deposit ticket which is a form showing the date and the items comprising the deposit; in addition, the depositor’s name, address and bank accounts number is shown.

21 Check A check is a written order on a bank to pay a specific sum of money to the party designated a the payee by the party issuing the check. A. There are three parties to every bank check transaction: 1. The party issuing the check. 2. The bank on which the check is drawn 3. The party to whose order the check is made payable.

22 Check B. A remittance advice may be attached to a check informing the payee why the drawer of the check is making this payment.

23 Bank Statement A bank statement is used by a bank describing the deposits and checks cleared during the period. A. Cancelled checks and original deposit tickets generally are returned with the bank statement.

24 Bank Statement B. Debit memos and credit memos may also be returned with the bank statement. 1. Debit memos are forms used by banks to explain a deduction from the depositor’s account. Note that the company’s cash account is a liability to the bank and if it wants to reduce that liability, a debit memo is used. 2. Credit memos explain additions to the account. Note that increases to the bank’s liability accounts require credits.

25 Certified and Cashier’s Checks
A certified check is a check drawn by a depositor and taken to its bank for certificating which indicates that the depositor’s balance is large enough to cover the check. A. The amount of the certified check is deducted immediately after certification from the depositor’s checking account.

26 Certified and Cashier’s Checks
B. The certified check now becomes a liability of the bank rather than the depositor. A casher’s check is a check drawn by a bank made out to either the depositor checking account.

27 ความหมาย/คำนิยาม (Definition)
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด (Cash and cash equivalent) หมายถึง เงินสดในมือ ได้แก่ ธนบัตร เหรียญ เช็คที่รอนำฝาก ดร๊าฟธนาคาร ธนาณัติ เงินฝากธนาคาร และรายการเทียบเท่าเงินสด

28 องค์ประกอบของเงินสด รายการเงินสด (Cash) ประกอบด้วย.-
-เงินสดย่อย / กองทุนเงินสดย่อย -เงินสดในมือรอการนำฝาก และเช็ครอนำฝาก -เงินฝากธนาคารหรือสถาบันการเงินไม่มีเงื่อนไขการถอน รายการเทียบเท่าเงินสด (Cash Equivalent) ประกอบด้วย.- รายการบัญชีที่จะเปลี่ยนเป็นเงินสดใน 3 เดือน นับจากวันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน เช่น เงินลงทุน (หลักทรัพย์) เงินฝากประจำ

29 รายการที่ไม่ถือเป็นเงินสด
รายการไม่เป็นรายการเงินสดในงบแสดงฐานะการเงิน -ตั๋วเงินฝากสถาบันการเงิน 4-6 เดือน 9-15 เดือน /1 ปี -เช็คลงวันที่ล่วงหน้า (Postdated Cheques) -เช็ครับคืนจากธนาคาร (NSF Cheques) -เอกสาร IOUs ของพนักงาน -ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า (Deferred Expenses) -เงินมัดจำจ่าย (Cash Deposits) -เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร (Bank Overdraft) -เงินฝากแบบมีเงื่อนไข เช่น การขอหนังสือค้ำประกันจากธนาคาร (Bank Guarantee)

30 ตัวอย่าง เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
ตัวอย่าง เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ให้พิจารณา ข้อใด ใช่/ไม่ใช่ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 1. สลากออมสิน /สลากออมทรัพย์ธนาคารเกษตรและสหกรณ์ฯ ไม่ใช่ 2. ตั๋วแลกเงินไปรษณีย์ ใช่ 3. เช็ครับชำระหนี้จาก นาย ก ถึงกำหนดชำระแล้วแต่ยังไม่นำฝาก ใช่ 4. เงินฝากประจำ 3 เดือน ที่ธนาคารกรุงไทยจำกัด (มหาชน) ใช่ 5. เช็คที่รับคืนจากธนาคาร เนื่องจากบัญชีผู้สั่งจ่ายมีเงินไม่พอ ไม่ใช่

31 ตัวอย่าง เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด (ต่อ)
ตัวอย่าง เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด (ต่อ) ให้พิจารณา ข้อใด ใช่/ไม่ใช่ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 6. บัญชีเงินฝากกระแสรายวัน แต่มียอดคงเหลือเป็นเงินเบิกเกินบัญชี ไม่ใช่ 7. บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ ใช่ 8. ใบยืมเงินทดรองจ่ายของพนักงาน ไม่ใช่ 9. เงินมัดจำที่จ่ายล่วงหน้าค่าทำสัญญาเช่าอาคารพาณิชย์ ไม่ใช่ 10. เช็คสั่งจ่ายชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ และเจ้าหนี้ยังไม่ขึ้นเงินที่ธนาคาร ไม่ใช่

32 ตัวอย่าง เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด (ต่อ)
ตัวอย่าง เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด (ต่อ) ให้พิจารณา ข้อใด ใช่/ไม่ใช่ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 11. บัญชีเงินฝากกระแสรายวัน ใช่ 12. บัญชีเงินฝากประจำ มีภาระค้ำประกัน ไม่ใช่ 13. เงินเบิกเกินบัญชี ไม่ใช่ 14. เงินฝากประจำ 1-3 เดือน ใช่ 15. เงินฝากประจำ 6-12 เดือน ไม่ใช่

33 หลักการควบคุมภายในเงินสด
การควบคุมภายในเกี่ยวกับเงินสด (Cash Internal Control) 1. กำหนดหน้าที่และระบุบุคคลรับผิดชอบ 2. การแบ่งแยกหน้าที่การบันทึกบัญชีและการดูแลสินทรัพย์ 3. การควบคุมโดยใช้ขบวนการของเอกสาร เช่น ระบบใบสำคัญ 4. มีอุปกรณ์และเครื่องมือช่วยในการควบคุม เช่น ตู้นิรภัย ห้องนิรภัย 6. การสอบทานหรือการตรวจสอบภายในอย่างอิสระ 7. มีการค้ำประกันตำแหน่งงานที่มีหน้าที่ดูแลเงินสด 8. เก็บเงินสดไว้ที่กิจการเท่าที่จำเป็น หรือเอกสารสำคัญเก็บไว้กับผู้มี อำนาจลงนาม

34 หลักการควบคุมภายในเงินสดรับ
การควบคุมภายในเกี่ยวกับเงินสดรับ 1. เงินสดรับจากการขายสดหน้าร้าน 2. เงินสดรับจากลูกหนี้ 3. เงินสดรับจากการกู้ยืม 4. เงินสดรับจากการลงทุน

35 หลักการควบคุมภายในเงินสดรับ
การควบคุมภายในเกี่ยวกับเงินสดรับ 1. เงินสดรับจากการขายหน้าร้าน -ใช้เครื่องบันทึกเงินสด (Cash Register) -กำหนดบุคคลแยกกันระหว่างนับเงินสดและหลักฐานใน เครื่องบันทึกเงินสดฯ -ปรับปรุงเงินขาดเงินเกินบัญชีไว้ในบัญชี “เงินขาดเกินบัญชี”

36 “เงินขาดเกินบัญชี” ปรับปรุงเงินขาดเงินเกินบัญชีไว้ในบัญชี “เงินขาดเกินบัญชี” กรณีเงินเกินบัญชี Dr. เงินสด Cr. ขายสินค้า เงินขาดเกินบัญชี (รายได้) กรณีเงินขาดบัญชี Dr. เงินสด เงินขาดเกินบัญชี (ค่าใช้จ่าย) 20 Cr. ขายสินค้า

37 หลักการควบคุมภายในเงินสดรับ
การควบคุมภายในเกี่ยวกับเงินสดรับ 2. เงินสดรับจากลูกหนี้ -กำหนดบุคคลรับผิดชอบอย่างน้อย 2 คน และจัดทำรายงาน การรับเงินจากลูกหนี้และลงชื่อในรายงานรับเงิน -ออกใบเสร็จเมื่อรับเงินทุกครั้ง -นำเงินสดและเช็คฝากธนาคารทุกวัน -บันทึกบัญชีการรับชำระหนี้จากลูกหนี้ตามรายงานการรับเงิน และสำเนาใบเสร็จรับเงิน

38 หลักการควบคุมภายในเงินสดรับ
การควบคุมภายในเกี่ยวกับเงินสดรับ 3. เงินสดรับจากการกู้ยืม -นำฝากธนาคารทันที (เข้าบัญชีเงินฝากกิจการ) -บันทึกบัญชีหนี้สินทันทีตามสัญญากู้ยืม -ตรวจสอบสัญญาการกู้ยืมและยอดเงินเข้าบัญชี

39 หลักการควบคุมภายในเงินสดรับ
การควบคุมภายในเกี่ยวกับเงินสดรับ 4. เงินสดรับจากการลงทุน เช่น ดอกเบี้ยรับ เงินปันผล -นำฝากธนาคารทันที (เข้าบัญชีเงินฝากกิจการ) -บันทึกบัญชีเป็นรายได้ทันทีตามหนังสือแจ้งจากกิจการ ที่ไปลงทุน (เงินปันผลรับ/ดอกเบี้ยรับ)

40 หลักการควบคุมภายในเงินสดจ่าย
การควบคุมภายในเกี่ยวกับเงินจ่าย 1. รายจ่ายทุกรายการต้องได้รับอนุมัติจ่าย โดยผู้มีอำนาจ 2. การอนุมัติจ่ายต้องตรวจสอบเอกสารหลักฐานให้ถูกต้องก่อนอนุมัติเสมอ 3. ใช้ระบบใบสำคัญจ่ายและจ่ายเป็นเช็คขีดคร่อม หรือ ขีดฆ่าคำว่า “หรือผู้ถือ” (A/C payee only) 4. กำหนดผู้มีอำนาจลงนามในเช็คอย่างน้อย 2 คนขึ้นไป 5. ใบสำคัญจ่ายเมื่อจ่ายเงินแล้ว ให้ประทับคำว่า “จ่ายแล้ว” พร้อมลง ข้อมูลเกี่ยวข้อง เลขที่เช็ค วันที่จ่ายเช็ค 6. จัดทำงบกระทบยอดเงินฝากธนาคารทุกเดือน (Bank Reconciliation)

41 แหล่งที่มาเงินสดรับ-จ่าย
รายการรับ-จ่าย เงินสด เงินสดรับ-จ่าย มีแหล่งที่มา-ใช้ไป 3 กิจกรรม -กิจกรรมดำเนินงาน (Operating Activities) -กิจกรรมลงทุน (Investment Activities) -กิจกรรมหาเงิน (Financial Activities)

42 แหล่งที่มาเงินสดรับ แหล่งเงินสดที่รับมา มี 3 กิจกรรม
1. กิจกรรมดำเนินงาน (Operating Activities) เช่น -ขายสินค้าเป็นเงินสด -รับชำระหนี้จากลูกหนี้ 2. กิจกรรมลงทุน (Investment Activities) เช่น -รายได้อื่น ๆ เช่น ดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ 3. กิจกรรมหาเงิน (Financial Activities) เช่น -รับจากการกู้ยืม/ รับเงินจากการขายหุ้นเพิ่มทุน

43 แหล่งที่มาเงินสดจ่าย
แหล่งที่จ่ายเงินสด มี 3 กิจกรรม 1. กิจกรรมดำเนินงาน (Operating Activities) เช่น -ซื้อสินค้าเป็นเงินสด -จ่ายชำระหนี้ให้เจ้าหนี้ -จ่ายค่าใช้จ่ายต่างๆ 2. กิจกรรมลงทุน (Investment Activities) เช่น -จ่ายซื้อสินทรัพย์ เช่น เงินลงทุน 3. กิจกรรมหาเงิน (Financial Activities) เช่น -จ่ายชำระหนี้เงินกู้ และดอกเบี้ยจ่าย/ จ่ายเงินปันผล

44 แหล่งที่มาเงินสดรับ-จ่าย
เงินสดจ่าย ซื้อสินค้า จ่ายชำระหนี้แก่เจ้าหนี้ ค่าใช้จ่าย-เงินเดือนค่าจ้าง ดอกเบี้ยจ่าย เงินปันผลจ่าย ค่าเช่า ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด เงินสดรับ ขายสินค้า รับชำระหนี้จากลูกหนี้ รายได้ค่าบริการ ดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ รายได้ค่าเช่า รายได้เบ็ดเตล็ด

45 การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับเงินสด
เงินสดรับ Dr. เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx Cr. ขายสินค้า/รายได้ค่าบริการ xx เงินสดจ่าย Dr. ค่าใช้จ่าย/สินทรัพย์ xx Cr. เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx

46 การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับเงินสด รายการรับเงิน
1) รับจากการลงทุนของเจ้าของ 2) รับจากการกู้ยืมภายนอก 3) รับจากการขายสินค้า และรายได้อื่น 4) รับจากการชำระหนี้จากลูกหนี้ 5) รับจากการจำหน่ายสินทรัพย์ที่เลิกใช้งาน 6) รับจากการส่งคืนสินค้าที่ซื้อเป็นเงินสด 7) รับจากการบริจาค การบันทึกบัญชีจะต้อง Dr. เงินสด/เงินฝากธนาคาร Dr.เงินสด Cr.ทุน Dr.เงินสด Cr.เงินกู้ Dr.เงินสด Cr.ขาย Dr.เงินสด Cr.ลูกหนี้ Dr.เงินสด Cr.ที่ดิน Dr.เงินสด Cr.ส่งคืน Dr.เงินสด Cr.ทุนบริจาค

47 การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับเงินสด รายการจ่ายเงิน
1) จ่ายซื้อสินค้าเป็นเงินสด 2) จ่ายชำระให้เจ้าหนี้ภายนอก 3) จ่ายค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการดำเนินงาน 4) จ่ายคืนทุน หรือจ่ายปันผล 5) จ่ายคืนจากการรับคืนสินค้า 6) จ่ายซื้อสินทรัพย์มาใช้งาน การบันทึกบัญชี จะต้อง Cr. เงินสด/เงินฝากธนาคาร Dr.ซื้อสินค้า Cr. เงินสด Dr.เจ้าหนี้ Cr.เงินสด Dr.เงินเดือน Cr.เงินสด Dr.ปันผลจ่าย Cr.เงินสด Dr.รับคืน Cr.เงินสด Dr.ที่ดิน Cr.เงินสด

48 ประเภทเงินฝากธนาคาร การเปิดบัญชีเงินฝากธนาคาร มี 3 แบบ
1. เงินฝากกระแสรายวัน (Current Accounts) 2. เงินฝากออมทรัพย์ (Saving Accounts) 3. เงินฝากประจำ (Fixed Accounts) 48

49 การเปิดบัญชีเงินฝากธนาคาร
1. เงินฝากแบบกระแสรายวัน (Current Accounts) ลักษณะการฝากแบบกระแสรายวัน เปิดบัญชีครั้งแรกไม่ต่ำกว่า 10,000 บาท ไม่ใช้สมุดคู่ฝาก นำฝากโดยใช้ใบนำฝาก (Pay in Slip) ถอนโดยการใช้เช็ค ไม่มีดอกเบี้ยสำหรับเงินนำฝาก แสดงยอดโดยใช้ใบแสดงยอดในแต่ละเดือน (Bank Statement) 49

50 การเปิดบัญชีเงินฝากธนาคาร
2. เงินฝากแบบออมทรัพย์ (Saving Accounts) ลักษณะการฝากแบบออมทรัพย์ เปิดบัญชีครั้งแรกไม่ต่ำกว่า 100 บาท ใช้สมุดคู่ฝากในการนำฝากถอน ใช้บัตร ATM ในการฝากหรือถอนได้ มีดอกเบี้ยรับจากเงินฝาก 50

51 การเปิดบัญชีเงินฝากธนาคาร
3. เงินฝากแบบประจำ (Fixed Accounts) ลักษณะการฝากแบบประจำ นำฝากตามเงื่อนไขเงินฝากประจำ ได้รับดอกเบี้ยตามอัตราที่ตกลง ใช้สมุดคู่ฝาก (Bank Book) ใช้สำหรับการลงทุนแบบความเสี่ยงต่ำ 51

52 การควบคุมภายในเกี่ยวกับเงินสด
1. บุคลากรมีความสามารถเหมาะสมกับตำแหน่งและ รอบคอบ ซื่อสัตย์สุจริต 2. การแบ่งแยกหน้าที่การบันทึกบัญชีและการดูแลสินทรัพย์ 3. บันทึกบัญชีสม่ำเสมอทันเวลา 4. มีการตรวจสอบ /สอบทาน /ตรวจนับเป็นระยะโดย ฝ่ายตรวจสอบภายใน 5. มีอุปกรณ์ช่วยในการจัดเก็บ เช่น ตู้นิรภัย ห้องนิรภัย

53 การควบคุมภายในเกี่ยวกับเงินสด (ต่อ)
6. มีการสสับเปลี่ยนหน้าที่ /ให้พักร้อน 7. มีการค้ำประกันตำแหน่งงานที่มีหน้าที่ดูแลเงินสด 8. เก็บเงินสดไว้ที่กิจการเท่าที่จำเป็นในช่วงเวลาหนึ่ง 9. รายจ่ายให้จ่ายโดยใช้ระบบใบสำคัญจ่ายและจ่ายเป็นเช็ค ขีดคร่อม หรือ Account payee only 10. ใช้ระบบเงินสดย่อยสำหรับรายจ่ายที่จำเป็นต้องจ่าย เป็นเงินสด

54 คำถามปรนัย 1.1 รายการใดจะต้องแสดงภายใต้หัวข้อเงินสดและ รายการเทียบเท่าเงินสดในงบแสดงฐานะการเงิน ก. เช็คสั่งจ่ายลงวันที่ล่วงหน้า ข. เช็คธนาคารรับรอง ค. เช็คสั่งจ่ายให้เจ้าหนี้ ง. เช็ครับคืนจากธนาคาร ข.

55 คำถามปรนัย ค. 1.2 ข้อใดไม่เป็นเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
ในทางบัญชี ก. เงินฝากธนาคาร ข. เช็ครับจากลูกหนี้รอนำฝาก ค. เช็ครับคืนจากธนาคาร ง. เงินลงทุนในหุ้นจะขายในอีก 2 เดือนข้างหน้า ค.

56 คำถามปรนัย ง. ก. 100 บาท ข. 500 บาท ค. 1,000 บาท ง. 10,000 บาท
1.3 บัญชีเงินฝากกระแสรายวันต้องเปิดบัญชีครั้งแรก จำนวนเท่าใด ก. 100 บาท ข. 500 บาท ค. 1,000 บาท ง. 10,000 บาท ง.

57 คำถามปรนัย ง. ก. ไม่ต้องมีสมุดคู่ฝาก ข. ไม่ได้รับดอกเบี้ย ค.
1.4 ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับบัญชีเงินฝากกระแส รายวัน ก. ไม่ต้องมีสมุดคู่ฝาก ข. ไม่ได้รับดอกเบี้ย ค. ใช้เช็คในการสั่งจ่าย ง. ต้องนำฝากเงินทุกวัน ง.

58 คำถามปรนัย ก. 1.5 ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการควบคุมภายใน เงินสด
1.5 ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการควบคุมภายใน เงินสด ก. นำเงินรายรับหักรายจ่ายและแสดงยอดคงเหลือ ข. บันทึกบัญชีเงินสดรับสม่ำเสมอทุกวัน ค. ใช้ระบบใบสำคัญจ่ายในการจ่ายเงิน ง. แยกบุคคลทำหน้าที่รับและจ่ายเงินออกจากกัน ก.

59 คำถามปรนัย ง. 1.6 ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการรับเงินทางไปรษณีย์
ก. จัดทำรายงานการรับเงิน 3 ชุด ข. นำเงินหรือเอกสารทางการเงินส่งฝ่ายการเงิน ค. นำรายงานการรับเงินส่งฝ่ายบัญชี ง. ผู้เปิดซองรับเงินนำเงินที่ได้รับฝากธนาคารเอง ง.

60 คำถามปรนัย ข. 1.7 ข้อใดไม่ใช่ระบบเงินสดย่อยที่นิยมใช้ในกิจการทั่วไป ก.
1.7 ข้อใดไม่ใช่ระบบเงินสดย่อยที่นิยมใช้ในกิจการทั่วไป ก. กำหนดวงเงินไว้คงที่ ข. การเบิกชดเชยไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับผู้ดูแล ค. ใช้ระบบใบสำคัญจ่ายเงินสดย่อย ง. บันทึกรายการปรับปรุง(ถ้ามี)ในวันสิ้นงวด ข.

61 คำถามปรนัย ง. 1.8 ข้อใดไม่ถูกต้องในการควบคุมเงินสดรับประจำวัน ก.
ใช้เครื่องบันทึกเงินสดรับเงินหน้าร้าน ข. แยกจุดรับเงินจากลูกหนี้ออกจากการขายสด ค. นำเงินรายรับทั้งหมดฝากธนาคาร ง. ใบนำฝากเงินไม่จำเป็นต้องประทับตราธนาคาร ง.

62 คำถามปรนัย ข. 1.9 ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเงินขาดเกินบัญชี ก.
เกิดขึ้นจากการรับ-จ่ายเงินสดประจำวัน ข. เงินเกินบัญชีจะมียอดคงเหลือทางด้านเดบิต ค. เงินเกินบัญชีจะรับรู้เป็นรายได้อื่น ๆ ง. เงินขาดบัญชีจะรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด ข.

63 คำถามปรนัย ข. ก. เช็คค้างจ่าย ข. เช็คนำฝากอยู่ระหว่างทาง ค.
1.10 ข้อใดเป็นรายการที่กิจการต้องบันทึกปรับปรุงบัญชี ของกิจการ ก. เช็คค้างจ่าย ข. เช็คนำฝากอยู่ระหว่างทาง ค. เช็ครับคืนจากธนาคาร ง. เช็คที่ธนาคารนำมาหักผิดบัญชี ข.

64 คำถามปรนัย 1.11 ข้อใดไม่ถูกต้องตามหลักการควบคุมภายในที่ดีเกี่ยวกับ เงินสดย่อย ก. กำหนดวงเงินคงที่ แต่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ข. มีการตรวจนับเงินคงเหลือโดยผู้ดูแลเองทุกวัน ค. ประทับตรา จ่ายแล้ว บนเอกสารการจ่ายเงินที่จ่ายเงินแล้ว ง. เบิกชดเชยตามกำหนดเวลาที่กิจการกำหนด ข.

65 คำถามปรนัย ก. 1.12 ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับระบบเงินสดย่อยแบบ
Imprest System ก. ใช้สมุดเงินสดย่อยเป็นสมุดบัญชีขั้นต้น ข. ใช้สมุดเงินสดย่อยช่วยบันทึกความจำ ค. เบิกชดเชยตามใบสำคัญที่จ่ายไป ง. เพิ่มหรือลดวงเงินได้ตามความเหมาะสม ก.

66 คำถามปรนัย ง. 1.13 ข้อใดไม่ใช่หลักการบริหารเงินสดที่เหมาะสมถูกต้อง ก.
จัดทำงบประมาณเงินสดล่วงหน้า ข. เปิดวงเงินเบิกเกินบัญชีไว้ล่วงหน้า ค. นำเงินส่วนเกินจากใช้หมุนเวียนไปลงทุน ง. เก็บเงินสดไว้ที่กิจการเพื่อความสะดวกในการใช้จ่าย ง.

67 คำถามปรนัย ง. 1.14 ระบบใบสำคัญจ่ายมีความสำคัญอย่างไร ก.
1.14 ระบบใบสำคัญจ่ายมีความสำคัญอย่างไร ก. ใช้ควบคุมการจ่ายเงินของกิจการให้มีถูกต้อง ข. ใช้แบ่งแยกหน้าที่ และตรวจสอบการทำงานของพนักงานได้ดี ค. ใช้ควบคุมการรับจ่ายเงินของกิจการขนาดกลางและขนาดใหญ่ให้มีความรัดกุมยิ่งขึ้น ง. ถูกทุกข้อ ง.

68 คำถามปรนัย ค. 1.15 สมุดบัญชีที่สำคัญในระบบใบสำคัญจ่าย ก.
1.15 สมุดบัญชีที่สำคัญในระบบใบสำคัญจ่าย ก. สมุดรายวันทั่วไป ข. สมุดรายวันจ่ายเงิน และทะเบียนจ่ายเช็ค ค. ทะเบียนใบสำคัญจ่าย และทะเบียนจ่ายเช็ค ง. ทะเบียนใบสำคัญจ่าย และ สมุดรายวันทั่วไป ค.

69 Thank you for your Attention Q & A
The End Thank you for your Attention Q & A


ดาวน์โหลด ppt Principles of Accounting II

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google