The Child with Renal Dysfunction

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
Advertisements

การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
หอมแดง.
เครื่องมือเพื่อการคัดกรองโรคซึมเศร้า
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
อิทธิพลของการเกิดฮอร์โมนเพศ
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
เป็นอาหารที่มีคุณค่า
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
โครเมี่ยม (Cr).
องุ่น สตอ เบอร์รี่ เชอร์รี่ แอปเปิ้ล แดง แอปเปิ้ล ชมพู แอปเปิ้ล เขียว แอปเปิ้ล เหลือง โกโก้ บลูเบอร์รี่ ส้มเขียวหวาน ส้มมะปิด ( ส้มจิ๊ด ) สับปะรด แตงโม.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
การจัดบริการคลินิกชะลอไตเสื่อม(CKD Clinic)
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุไทย 2547
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
กลุ่มอาการของคนเนื่องจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อบางส่วน
ระดับความเสี่ยง (QQR)
การเสริมไวตามิน อี ในสูตรอาหารสุกร
The Child with Renal Dysfunction
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
นาย กองทัพ ปรีเดช เลขที่1ก ชั้นม.5/1
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
โรคที่เกิดจากความผิดปกติ บนออโตโซม (Autosome)
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สถานการณ์โรค ประจำเดือน โรคไข้เลือดออก สถานการณ์โรคที่สำคัญ
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การออกแบบและนำเสนอบทเรียน
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ขดลวดพยุงสายยาง.
The Child with Renal Dysfunction
รู้เรื่องยา แท้งปลอดภัย
โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
บทที่ 8 การจดบันทึกและทำบัญชี
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

The Child with Renal Dysfunction อ.นภิสสรา ธีระเนตร

ไตอักเสบเฉียบพลัน (Acute Glomerulonephritis) ภาวะที่มีการอักเสบเฉียบพลันของโกลเมอรูลัส ทำให้มีจำนวนเซลล์เพิ่มขึ้นภายในโกลเมอรูลัส เม็ดเลือดขาวและ endothelial cells ส่งผลให้เกิดอาการบวม ปัสสาวะออกน้อย ความดันโลหิตสูง ภาวะปัสสาวะมีเลือดและโปรตีน และ azotemia พบบ่อยในเด็กอายุ 2-12 ปี และพบในเด็กชาย>หญิง 2:1

สาเหตุ เกิดขึ้นหลังการติดเชื้อที่พบบ่อยคือ pharyngitis จากเชื้อ Streptococcus group A. (post-streptococcal glomerulonephritis) หรือการติดเชื้อจากผิวหนัง และการติดเชื้ออื่นๆ

ตำแหน่งของการติดเชื้อก่อนปรากฏอาการ การติดเชื้อทางเดินหายใจ : ทอนซิลอักเสบ ไข้หวัด คอหอยอักเสบ หูชั้นกลางอักเสบจากเชื้อ Group A β hemolytic Streptococcus การติดเชื้อที่ผิวหนัง : แผลตุ่มหนองพุพอง แผลจากการเป็นสุกใส แผลจากแมลงกัดต่อย ซึ่งมักพบเชื้อ staphylococcus

พยาธิสรีรภาพ เมื่อมีการติดเชื้อในร่างกายจะมีแอนติเจนกระตุ้นให้ร่างกายสร้างแอนติบอดีขึ้น ปริมาณของเซลที่มีการอักเสบที่เพิ่มขึ้น และความสามารถในการผ่านของสารในเซลล์ (basement membrane permeability) ที่ลดลงทำให้พื้นที่การกรอง (glomerular filtration surface) และอัตราการกรอง (glomerular filtration rate: GFR) ลดลง ปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงที่ไตจะลดลงในอัตราส่วนเดียวกับอัตราการกรอง

อาการทางคลินิก ภายหลังการติดเชื้อประมาณ 7-14 วัน ผู้ป่วยเด็กจะมีอาการบวมที่หน้า โดยเฉพาะขอบตา ต่อมาบวมที่ขาและท้องชนิดกดไม่บุ๋ม และบวมไม่มาก โดยมีปริมาณน้ำมากในหลอดเลือด ปัสสาวะน้อยมีสีเข้ม เด็กจะมีอาการซีด กระสับกระส่าย อ่อนเพลียมาก เด็กโตอาจบอกได้ว่ามีอาการปวดศีรษะ แน่นอึดอัดท้องและถ่ายปัสสาวะไม่ค่อยออก (dysuria)

อาการและอาการแสดง บวมร้อยละ 85 gross hematuria ร้อยละ 25-33 ความดันโลหิตสูง ร้อยละ 60-80 ร่วมกับอาการอื่นๆ เช่น อาการของหัวใจล้มเหลว (congestive heart failure) ซึ่งเป็นผลจากการได้รับน้ำเกินร้อยละ 20 อาการปวดท้อง พบหลัง streptococcal pharyngitis 7-14 วัน และทางผิวหนัง 14-21 วัน (อาจนานถึง 6 สัปดาห์)

หลักการวินิจฉัยโรค จากประวัติ อาการและการตรวจร่างกาย Lab การตรวจปัสสาวะ ตรวจพบเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว casts และอัลบูมิน ไม่พบแบคทีเรีย หรือเพาะเชื้อไม่ขึ้น การตรวจเลือด ตรวจพบระดับ Na+, K+, Cl- ปกติหรือสูงในรายที่มีอาการรุนแรง ระดับ BUN ครีเอตินิน และกรดยูริคสูง การตรวจอื่นๆได้แก่ การเพาะเชื้อจาก pharynx พบ streptococcus ในบางรายทำ renal biopsy, EKG และการถ่ายภาพรังสีเพื่อดูภาวะแทรกซ้อน

ภาวะแทรกซ้อน Hypertensive encephalopathy, Acute cardiac decompensation Acute renal failure

การรักษา ผู้ป่วยที่อาการดีขึ้น และสามารถจำหน่ายให้กลับบ้านได้ การพักผ่อน BP>150/100 มิลลิเมตรปรอท ปัสสาวะมีเลือดปน หรือมีอาการเหนื่อยหอบ >> absolute bed rest*** ผู้ป่วยที่อาการดีขึ้น และสามารถจำหน่ายให้กลับบ้านได้ **ยังจำเป็นต้องงดออกกำลังกายที่ต้องใช้แรงมากอย่างน้อย 1 ปี**

อาหารและน้ำดื่ม การจำกัดน้ำดื่ม ปัสสาวะน้อยกว่า 250 ml/m2/d หรือ<0.5-1 ml/kg/hr หรือมีภาวะ HT สูตรการคำนวณพื้นที่ผิวกาย พื้นที่ผิวกาย = 4W+7 W+90 (W = น้ำหนักตัวของผู้ป่วย) ได้เท่าไรบวกด้วยจำนวนปัสสาวะของเด็กใน 1 วัน

การรักษา(ต่อ) การจำกัดเกลือ ลดปริมาณเกลือโซเดียมและโปตัสเซียม** การจำกัดสารอาหารโปรตีนเฉพาะรายที่มี Azotemia การรักษาด้วยยา ยาขับปัสสาวะ ยาขยายหลอดเลือด ยาต้านฤทธิ์ adrenalin ถ้า HT ให้ Diamox หรือ NPS ถ้ามีอาการแทรกซ้อนทางหัวใจ ให้ digitalis ATB penicillin, cephalosporin การรักษาอื่นๆ O2 , blood , PD

การดำเนินโรคและพยากรณ์โรค ผู้ป่วยเด็กส่วนใหญ่หายเป็นปกติ โดยทั่วไปผู้ป่วยเด็กมักมีอาการดีขึ้นในราว 1 สัปดาห์ gross hematuria ควรหายไปภายใน 2-3 สัปดาห์ proteinuria ควรหายไปภายใน 3-6 เดือน microscopic hematuria ควรหายไปภายใน 1 ปี

ข้อวินิจฉัยการพยาบาล ปัสสาวะออกน้อย อาจมีเลือดออกในปัสสาวะ (hematuria) ความดันโลหิตสูง และเสี่ยงต่อการเกิดอันตรายจากความดันโลหิตสูง เช่น hypertensive encephalopathy, cerebral ischemia เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน และหรืออันตรายจากสภาวะของโรคเช่น hypervolemia, hyperkalemia, pulmonary edema, renal failure มีความไม่สุขสบายสภาวะของโรคและวิธีการตรวจรักษา เช่น อาการบวม แน่นอึดอัดท้อง ไข้สูง อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน ตาพร่ามัว และมองเห็นไม่ชัด วิธีการตรวจวินิจฉัยหรือการรักษาบางอย่างที่ทำให้เกิดความเจ็บปวด

กลุ่มอาการโรคไต (Nephrotic syndrome : NS) ภาวะที่มีความผิดปกติของ glomerular basement membrane (GBM) เป็นเหตุให้มีไข่ขาวรั่วออกมามากผิดปกติในปัสสาวะ ทำให้ปริมาณโซเดียมในเลือดต่ำลงมากกว่าปกติร่วมกับมีอาการบวมและระดับไขมันในเลือดสูงขึ้น พบมากที่สุดในเด็กวัยก่อนเรียน

กลุ่มอาการประกอบด้วย โปรตีนในปัสสาวะสูง มี proteinuria มากกว่า 50มก/กก/วัน หรือมากว่า 40 มก./ตรม./ชั่วโมง โปรตีนในเลือดต่ำ โดยเฉพาะอัลบูมิน มีไข่ขาวในเลือดต่ำกว่า 2.5 กรัม/ดล. ไขมันในเลือดสูง มีไขมันในเลือดมากกว่า 250มก./ดล. บวมทั่วตัวชนิดกดบุ๋ม

สาเหตุ ความผิดปกติที่ไต (primary renal cause) ซึ่งอาจเป็นมาแต่กำเนิด หรือไม่ทราบสาเหตุ เกิดร่วมกับโรคระบบอื่นๆ (secondary nephrotic syndrome) เช่น โรคติดเชื้อ หรือได้รับสารพิษต่างๆ

พยาธิสรีรภาพ การเปลี่ยนแปลงที่ glomerular basement membrane (GBM) ทำให้มีการรั่วของโปรตีนเพิ่มขึ้น มีอัลบูมินออกมาในปัสสาวะจำนวนมาก อาการบวม อัลบูมินในเลือดต่ำและไขมันในเลือดสูง

อาการและอาการแสดง อาการบวม 95% ต้อง adm. บวมหนังตา >>หน้า เช้า บ่ายหาย ท้องเสีย การเจริญเติบโตช้า เด็กจะตัวเตี้ย แขนขาลีบเล็ก เนื่องจากมีการสูญเสียโปรตีนอย่างเรื้อรังร่วมกับมีอาการเบื่ออาหาร

หลักการวินิจฉัยโรค จากประวัติ อาการ การตรวจร่างกายอย่างละเอียด และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจปัสสาวะ โดยการตรวจหาโปรตีน การตรวจเลือด ตรวจพบซีรั่มอัลบูมินต่ำกว่า 2.5 มก./ดล. ซีรั่มโคลเลสเตอรอลสูงประมาณ 450-1500 มก./ดล. ค่า ฮีโมโกลบินและฮีมาโตคริตพบว่าปกติหรืออาจสูงเล็กน้อย ซีรั่มโซเดียมปกติหรือต่ำ พบ fribrinogen และ factor V, VII VII , X เพิ่มขึ้นทำให้เลือดแข็งตัวได้ง่าย การตรวจชิ้นเนื้อของไต (renal biopsy)

ภาวะแทรกซ้อน Hypovolemia การติดเชื้อ Thrombosis ไตวายเฉียบพลัน ไตวายเรื้อรัง การเจริญเติบโตและภาวะพร่องฮอร์โมนอื่น

การรักษา การรักษาทั่วไป อาหาร ผู้ป่วยเด็กควรได้โปรตีนที่มีคุณภาพดีร้อยละ 130-140 ของความต้องการปกติในแต่ละวันตามอายุ และได้แคลอรีตามอายุ

รักษาและป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อย 1.2.1 ภาวะขาดน้ำในหลอดเลือด 1.2.2 ผู้ป่วยที่มีภาวะบวมมาก 1.2.3 thromboembolism 1.2.4 การติดเชื้อ 1.2.5 ไตวายเฉียบพลันและเรื้อรัง 1.2.6 ความดันโลหิตสูง 1.2.7 การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและผู้ดูแล เรื่องอาหาร ยา การปฏิบัติตัว และการป้องกันโรคแทรกซ้อน

การรักษาจำเพาะ (specific treatment) 2.1 การให้ยาสตีรอยด์ 2.2 การให้ยากดภูมิต้านทานชนิดอื่น เช่น cyclosporine, levamisole หรือ ยาในกลุ่ม alkylating agents เช่น cyclophosphamide, chlorambucil หรือ cyclosporine

การดำเนินโรคและพยากรณ์โรค ตัวบ่งชี้ถึงการพยากรณ์โรคที่ดีที่สุดคือ การตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาสตีรอยด์ ในผู้ป่วยเด็ก NS ที่ตอบสนองกับยาสตีรอยด์ร้อยละ 60-80 กลับเป็นซ้ำอีก ร้อยละ 60 ของเด็กกลุ่มนี้มีการกลับเป็นซ้ำมากกว่า 5 ครั้ง ผู้ป่วยที่มีโอกาสกลับเป็นซ้ำน้อยได้แก่ เริ่มมีอาการป่วยเมื่ออายุน้อยกว่า 4 ปี และหลังได้รับยาสตีรอยด์ โปรตีนในปัสสาวะหายไปใน 7-9 วัน และไม่พบเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ

ข้อวินิจฉัยการพยาบาล มีภาวะขาดสารอาหารโดยเฉพาะโปรตีน เกิดการติดเชื้อได้ง่าย โดยเฉพาะผิวหนัง ระบบทางเดินหายใจ ระบบทางเดินปัสสาวะและไต มีภาวะไม่สมดุลของน้ำและอิเลคโตรไลท์ในร่างกาย (hypovolemic, hypokalemia) มีความดันโลหิตสูง และอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจากความดันโลหิตสูง มีความไม่สุขสบายสภาวะของโรคและวิธีการตรวจรักษา เช่น อาการบวม (โดยเฉพาะที่หนังตา ท้อง และอวัยวะสืบพันธุ์) เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย การแตกคันของผิวหนัง

ตารางเปรียบเทียบ AGN กับ NS ข้อมูล AGN NS 1. อายุ 2-12 ปี 3-7 ปี 2. เพศชาย:เพศหญิง 2:1 3. สาเหตุ หลังการติดเชื้อ Group A β -streptococcus Viral URI, Unknown 4. ระยะเวลาก่อนเริ่มอาการ 2-3 สัปดาห์ 2-3 วัน 5. อาการบวม เกิดเฉียบพลัน ไม่เคยบวมมาก่อน เกิดขึ้นซ้ำๆ อาจเคยบวมมาก่อน 6. ลักษณะการบวม บวมที่หนังตาและทั่วตัว กดไม่บุ๋ม (nonpitting edema) มี pleural effusion, pulmonary congestion, cardiomegaly บวมมาก กดบุ๋ม (pitting edema) มี ascites ชัดจน 7. ความดันโลหิตสูง เกือบทุกราย เป็นบางราย, สูงชั่วคราว 8. blood for β,C ต่ำในระยะแรก ปกติ

ตารางเปรียบเทียบ AGN กับ NS (ต่อ) ข้อมูล AGN NS 9. การคั่งในระบบไหลเวียน พบได้บ่อย ไม่พบ 10. Proteinuria เล็กน้อย-ปานกลาง (moderate) พบมาก (massive) 11. Hematuria Gross hematuria/microscopic hematuria/numerous RBC บางรายและชั่วคราว Microscopic hematuria/none 12. cast Granular, RBC Hyaline, granular, fatty 13. Azothemia พบได้ 14. Serum Potassium เพิ่มขึ้น ปกติ 15. serum cholesterol ปกติหรือสูงเล็กน้อย สูงกว่า 250 mg% 16. Serum total protein& Albumin protein ค่อนข้างปกติ, ต่ำเล็กน้อย ต่ำกว่า 4 mg% Albumin < 2.5 mg% 17. การรักษา ตามอาการ บางรายอาจให้ยาปฏิชีวนะ รักษาด้วย corticosteroid