อาหารปลอดภัย โครงการลดความเสี่ยงพยาธิใบไม้ตับในการผลิตปลาร้า ปลาส้ม”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Orientation for graduate students in Food Engineering
Advertisements

BLACKWELL SYNERGY Jirawat Promporn Book Promotion & Service Co Ltd
หนอนพยาธิ (Helminth).
โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด แผนกฝึกอบรม ฐานข้อมูล ปรับปรุงครั้งล่าสุด 03/10/50.
ศ.ภิเศก ลุมพิกานนท์ สังกัด : ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา
ตัวชี้วัดสำคัญ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา วันที่ 26 พฤศจิกายน
Orientation for undergraduate students in Food Engineering Food Engineering Program Department of Food Science and Technology Food Engineering – a hot.
การเตรียมความพร้อมรับUSFDAมาตรวจ
คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
“JTEPA, RCEP and Projects Cooperation” สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย The Federation of Thai Industries By Mr. Boonpeng Santiwattanatam Vice Chairman of The.
Elimination of Mother-to-Child HIV Transmission: Knowledge to Practice
ธีรนารถ Jan Experiences in GMP Inspection in WHO Vaccine Prequalification Scheme ธีรนารถ จิวะไพศาลพงศ์ กองชีววัตถุ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
Arrow Wood Co. LTD Arrow Wood Co. LTD is a Thai company with foreign research and technicians approved by BOI (board of Investment), Thai Industrial Department.
1 คณะที่ 5 การตรวจราชการแบบบูรณา การ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี
 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา เกษตรศาสตร์ (Bachelor of Science Program in Agriculture) สาขาวิชาเอก พืชไร่ พืชสวน สัตวศาสตร์  หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต.
หมายเหตุ: ถ้าต้องการเปลี่ยน รูปภาพบนสไลด์นี้ ให้เลือกรูปภาพ และลบรูปภาพนั้น จากนั้นคลิกที่ ไอคอนรูปภาพ ในตัวแทนรูป เพื่อ แทรกรูปภาพของ คุณ ศูนย์วิทยบริการ.
INTRODUCTION ความหมายของการสัมมนา (Seminar) สัมมนาคือ …. การประชุม (Meeting) แบบหนึ่งในหลายรูปแบบ สัมมนา แปลว่า ร่วมใจ (Meeting of minds) สัมมนาเป็นการประชุมร่วมกันขบคิด.
Cornell University..
กรมองค์การระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ
MEDICAL RESPONSE TO MAJOR INCIDENTS (MRMI)
Roadmap RUN for Thailand 4.0
ASEA จารอม เว็บ ผู้อำนวยการ
บทที่ 2 กระบวนการและการวางแผนจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Planning ดร. อัญภัคร์ ประพันธ์เนติวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
เรื่อง ประเทศไทยกับประชาคมอาเซียน การประชุมวิชาการ ปขมท ประจำปี 2555
รายการอ้างอิง ในการเขียนบทความ การทำรายงาน ค้นคว้า วิจัย อาจต้องมีการอ้างอิงงานของผู้เขียนท่านอื่น จึงจำเป็นที่จะต้องแสดงความเคารพต่อเจ้าของความคิด เจ้าของผลงานเดิมด้วย.
New Chapter of Investment Promotion
การสืบค้นข้อมูลในการวิจัยจากเว็บไซต์หอสมุด
Private Equity มิตรแท้ของเจ้าของกิจการ?
แหล่งสารสนเทศ ดร.นฤมล รักษาสุข.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง ธุรกิจระหว่างประเทศ
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
สำนักงานวิจัยนวัตกรรมและพันธมิตร มจธ.
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ก.พ.อ. 03 : ก้าวแรกสู่ตำแหน่งทางวิชาการ”
แนวคิดพื้นฐานทางระบาดวิทยา
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การแก้ไขข้อบกพร่องระบบ GMP จากการตรวจรับรองโรงงานเพื่อการส่งออก วันที่
มารู้จักหลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์
กลุ่มสัตว์ทดลอง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข 8 พฤศจิกายน 2559
แผนปฏิบัติการ เร่งรัดการยุติปัญหาเอดส์ ประเทศไทย พ.ศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานกราฟิก
อาชีวอนามัย บทที่ 5. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
แหล่งสารสนเทศ ดร.นฤมล รักษาสุข.
วิทยานิพนธ์เรื่อง การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้โปรแกรมการออกกำลังกายต่ออาการเหนื่อยล้าของผู้ป่วยมะเร็ง เม็ดเลือดขาวมัยอีลอยด์ชนิดเฉียบพลันที่รับการรักษาในโรงพยาบาลด้วยยาเคมีบำบัด.
Review of the Literature)
Kanokprapha Roekpanee (Foon)
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
P.J.Transpack (Thailand) Co.,Ltd
ณ โรงแรมรัตนโกสินทร์ อ.เมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
บทที่ 2 การบริการบนระบบประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (Cloud Computing Service)
ASEAN-Swiss Partnership for Social Forestry and Climate Change
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
การใช้ยา.
1. ภารกิจด้านการเรียนการสอน
ความสำคัญของโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย
การพัฒนารูปแบบ ส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่นไทย สูงดี สมวัยและแข็งแรง
เรื่อง การผลิตอาหารปลอดภัย
กระบวนการยุติธรรมอาญาทางเลือก
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
ผู้วิจัย : สุภาพร อภิพันธุ์
หน่วยวิจัยผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Introduction to Public Administration Research Method
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
เขียนบทความวิจัยอย่างไร ในวารสารวิชาการนานาชาติ
การเขียนรายงานการวิจัย
การเสนอโครงร่างโครงงานวิจัย (Research Proposal)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาหารปลอดภัย โครงการลดความเสี่ยงพยาธิใบไม้ตับในการผลิตปลาร้า ปลาส้ม” มาลี จิรวงศ์ศรี สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 25 สิงหาคม 2559

ขอบเขต กฎหมายอาหารกับการผลิตปลาร้า และ ปลาส้ม หลักเกณฑ์ Primary GMP การกำจัด Metacercaria ของพยาธิใบไม้ตับในเนื้อปลาน้ำจืดดิบด้วยวิธีต่างๆ มาตรการรองรับของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

กฎหมายอาหารกับการผลิตปลาร้า และ ปลาส้ม ปลาร้า และ ปลาส้ม เป็นผลิตภัณฑ์จากสัตว์ที่ผ่านกระบวนการหมักดอง จัดเป็นผลิตภัณฑ์อาหารทั่วไปที่ยังบริโภคไมได้/ไม่นิยมบริโภค/ต้องบริโภคร่วมกับอาหารอื่น สถานที่ผลิตเข้าข่ายโรงงานต้องปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 342) พ.ศ. 2555 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และเก็บรักษาอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย หรือ Primary GMP

หลักเกณฑ์ Primary GMP 3 4 5 2 1 6 การควบคุม การสุขาภิบาล กระบวนการผลิต การบำรุงรักษา & ทำความสะอาด 5 เครื่องมือ เครื่องจักร & อุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต 2 สุขลักษณะของสถานที่ตั้ง & อาคารผลิต 1 บุคลากร 6

จุดมุ่งหมายของ Primary GMP ปลอดภัยจากอันตราย...3 ประการ ความปลอดภัย ปลอดภัยจากอันตราย...3 ประการ กายภาพ เคมี จุลินทรีย์ 5

หัวใจ 3 ประการ ของการผลิตอาหารที่ปลอดภัย หัวใจที่ 1 ลดอันตรายเบื้องต้น คัดเลือกวัตถุดิบ ส่วนผสมที่มีคุณภาพดี ใช้ภาชนะบรรจุที่สะอาดและมีการล้างทำความสะอาดรวมทั้งผลิตในสถานที่ที่มีสภาพแวดล้อมที่ดีและเครื่องมือ อุปกรณ์ไม่ก่อให้เกิดการปนเปื้อน หัวใจที่ 2 ลด/ยับยั้ง-ทำลายเชื้อจุลินทรีย์ ใช้ความร้อนฆ่าเชื้ออย่างเพียงพอ หัวใจที่ 3 ป้องกันการปนเปื้อนซ้ำ โดยการปฏิบัติงานอย่างถูกสุขลักษณะ แยกระหว่างของสุก และของดิบ พี่เพิ่มให้เป็นหัวใจ (ทฤษฎีผอ.เผื่อแกถามเด็กจะได้ตอบได้) 6 6

ปลาร้าและปลาส้มจัดเป็นอาหารทั่วไปที่ยังบริโภคไม่ได้/ไม่นิยมบริโภค/ต้องบริโภคร่วมกับอาหารอื่น การบริโภคปลาร้าหรือปลาส้มแบบปรุงไม่สุกที่แม้จะผ่านกระบวนการผลิตตามเกณฑ์มาตรฐาน Primary GMP จึงยังเป็นการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัยโดยเฉพาะจากอันตรายด้านจุลินทรีย์ (แถมพยาธิใบไม้) อย่างไรก็ตามการผลิตปลาร้าหรือปลาส้มตามเกณฑ์มาตรฐาน Primary GMP ช่วยลด/ขจัด อันตรายทางกายภาพหรือสารเคมีได้ ลด/ขจัด อันตรายทางกายภาพ จากวัตถุปนปลอม เช่นเศษแก้ว โลหะ ไม้ กรวด หิน ลด/ขจัด อันตรายทางเคมี การใช้วัตถุเจือปนอาหารให้ถูกต้อง

ปลาร้า วัตถุดิบประกอบด้วยปลาน้ำจืด เกลือและข้าวคั่ว โดยทั่วไปหมักไว้อย่างน้อย 6 เดือนถึง 1 ปี ปลาร้า มีความเข้มข้นของเกลือไม่น้อยกว่าร้อยละ 12 ไม่พบ Metacercaria ของพยาธิใบไม้ตับ (อ้างอิง : มาตรฐาน มผช.)

พยาธิใบไม้ตับในปลาร้า ลักษณะของ Metacercaria ที่ตรวจพบจากเนื้อปลาร้าเป็นเมตาเซอร์คาเรียที่ตายแล้ว ลักษณะเหี่ยวฝ่อ (degeneration) ของอวัยวะภายใน จึงไม่สามารถติดเชื้อในคนได้อีก (4) การหมักปลาร้าที่นานพอ น่าจะทำให้ Metacercaria ไม่มีความสามารถในการติดเชื้อได้

ผลของความเข้มข้นของเกลือต่อ Metacercaria

ข้อสังเกตและเสนอแนะ กระบวนการหมักปลาร้าใช้เวลานานมากเป็นระยะเวลา 6 เดือนถึง 1 ปี ซึ่งถ้าความเข้มข้นเกลือร้อยละ 12 Metacercaria พยาธิใบไม้ตับน่าจะตายหมด ควรมีการกำหนดความเข้มข้นเกลือและระยะเวลาหมักเป็นจุดวิกฤตที่ต้องควบคุมในมาตรฐานกระบวนการผลิตปลาร้า การบริโภคปลาร้าแล้วติดเชื้อพยาธิอาจเกิดจากการหมักปลาร้าไม่นานพอหรือการที่ผู้ขายนำปลาหมักที่ไม่นานพอมาใส่เพิ่มลงในน้ำปลาร้าเก่า เพื่อทำให้ปริมาณมากขึ้น(5)

กระบวนการผลิตปลาร้า ทำความสะอาดปลา (ขอดเกล็ด,ควักไส้ปลา) นำไปล้างคั้นกับเกลือ เพื่อดับกลิ่นคาวปลา ล้างทำความสะอาดอีกครั้ง * * ผสมน้ำเกลือ (เกลือ 1: น้ำ 2) ใส่ลงในไห ล้างทำความสะอาดไหให้สะอาดผึ่งให้แห้ง หมักปลาไว้กับเกลือปลา 1: เกลือ 2 หมักทิ้งไว้ 1 คืน * นำปลาที่หมักไว้เทลงในไห คนให้เข้ากัน ผสมรำข้าว 3 ส่วนเพื่อเพิ่มสีและกลิ่นของปลาร้า ปิดปากไหด้วยตาข่าย เทน้ำเกลือเข้มข้น พอท่วมปลาร้า http://www.sopon.ac.th/sopon/lms/science52/herb3/www.thai.net/thaibarn/pla-ra02.html * หมักไว้ประมาณ 6 เดือน ถึง 1 ปี

ปลาส้ม วัตถุดิบสำคัญประกอบด้วยปลาน้ำจืด เกลือ ข้าวเหนียวนึ่ง อาจมีการเติมส่วนผสมอื่นเช่น กระเทียม พริกไทย โดยทั่วไปหมักไว้ประมาณ 2-3 วันจนเริ่มมีรสเปรี้ยว ( อ้างอิง : มาตรฐาน มผช)

พยาธิใบไม้ตับในปลาส้ม ปลาส้มเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อพยาธิใบไม้ในตับเมื่อบริโภคแบบดิบหรือไม่ปรุงสุกสูงกว่าปลาร้าเนื่องจากมักบริโภคกันภายใน 2 – 3 วันเมื่อปลาเริ่มมีรสเปรี้ยว ซึ่งไม่เพียงพอต่อการทำให้Metacercaria ของพยาธิใบไม้ตับตายได้ (7) โดยงานวิจัยชี้ให้เห็นว่า Metacercaria ของพยาธิใบไม้ตับยังคงมีชีวิตอยู่ในปลาส้มได้ แม้ผ่านไปเป็นเวลาเกือบ 3 วัน (69 ชั่วโมง) (8)

ผลของความเข้มข้นของกรดต่อ Metacercaria

ข้อสังเกตและเสนอแนะ กระบวนการหมักปลาส้มใช้เวลาสั้น โดยทั่วไปประมาณ 2-4 วันจนปลาเริ่มมีรสเปรี้ยว ซึ่งเป็นเวลาที่สั้นเกินไป ไม่สามารถทำลาย Metacercaria พยาธิใบไม้ตับได้ กระบวนการผลิตปลาส้มตามปกติจึงไม่สามารถทำให้การบริโภคปลาส้มแบบปรุงไม่สุกปลอดภัยจากพยาธิได้ ต้องมีการเพิ่มขั้นตอนหรือพัฒนาวิธีการผลิตเพื่อให้เพียงพอต่อการทำลาย Metacercaria ในปลาส้มได้

การผลิตปลาร้า ปลาส้มให้ปลอดภัยจากพยาธิใบไม้ตับ ต้องคำนึงถึงจุดวิกฤตในกระบวนการผลิตที่ส่งผลต่อ Metacercaria ในเนื้อปลา ความเข้มข้นของเกลือ และ ระยะเวลาการหมัก (ปลาร้า) ความเข้มข้นของกรด และ ระยะเวลาการหมัก (ปลาส้ม) มีการเพิ่มขั้นตอนบางอย่างในกระบวนการผลิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำลาย Metacercaria ในเนื้อปลา การแช่แข็ง การฉายรังสี

การกำจัด Metacercaria ของพยาธิใบไม้ตับ ในเนื้อปลาน้ำจืดดิบด้วยวิธีต่างๆ

การแช่แข็ง (9) พยาธิส่วนใหญ่ถูกทำลายได้โดยการเก็บวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์ไว้ในอุณหภูมิระดับเยือกแข็งภายในระยะเวลาที่กำหนด โดยพิจารณาจากอุณหภูมิภายในของวัตถุดิบที่นำมาแช่แข็งเป็นสำคัญ ทั้งนี้ชนิดของพยาธิที่พบในเนื้อปลานับเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการถูกทำลายจากการแช่แข็ง โดยกลุ่มพยาธิตัวแบน (Cestode; tapeworms) ถูกทำลายด้วยการแช่แข็งได้ง่ายที่สุด ส่วนกลุ่มพยาธิใบไม้ (Trematode; fluke) ทนต่อถูกทำลายด้วยการแช่แข็งได้ดีที่สุด

การแช่แข็ง สำหรับปลาและผลิตภัณฑ์จากปลา USFDA แนะนำให้แช่แข็งตามแนวทางดังนี้ (9) 1) แช่แข็งและเก็บที่อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 7 วัน 2) แช่แข็งและเก็บที่อุณหภูมิ - 35 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 15 ชั่วโมง 3) แช่แข็งที่อุณหภูมิ - 35 องศาเซลเซียสและเก็บที่อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 24 ชั่วโมง โดยแนวทางนี้เหมาะกับการแช่ปลาที่มีความหนาไม่เกิน 6 นิ้ว อย่างไรก็ตามมีรายงานว่า Metacercaria ของพยาธิใบไม้ตับยังคงมีชีวิตอยู่แม้แช่เย็นที่ -20 องศา นาน 1เดือน (3)

การฉายรังสี (10) การฉายรังสีเป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพในการทำลาย Metacercaria โดยการฉายรังสีความเข้มข้นเพียง 0.15 – 0.5 kGy ก็สามารถทำให้ Metacercaria ของพยาธิใบไม้ตับหมดความสามารถในการติดเชื้อได้โดยไม่ทำให้คุณภาพของเนื้อปลาเปลี่ยนแปลงไป ทั้งนี้กลุ่มพยาธิใบไม้ (Trematode) ค่อนข้างไวกว่าการถูกฉายรังสีกว่าพยาธิกลุ่มอื่นเช่น Anisakis simplex ซึ่งเป็นพยาธิในกลุ่มพยาธิตัวกลม (Nematode; roundworms) ที่มักพบก่อโรคกับผู้บริโภคปลาทะเลดิบที่ต้องใช้ความเข้มของรังสีสูงถึง 2 – 10 kGy จึงสามารถทำลายพยาธิพวกนี้ได้

การใช้ความร้อน เป็นวิธีการที่ดีที่สุดในการฆ่า Metacercaria โดยจากการศึกษาพบว่า Metacercaria ของพยาธิใบไม้ตับถูกฆ่าเมื่ออยู่ในอุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส เป็นเวลาอย่างน้อย 5 นาที (2)

ข้อคิดเห็น สำหรับงานการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับผลของการแช่แข็งกับการกำจัด Metacercaria ของพยาธิใบไม้ตับ เป็นงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเป็นการศึกษาปลาน้ำจืดและพยาธิที่ก่อให้เกิดโรคในประเทศตะวันตก ไม่อาจแปรผลวิธีดังกล่าวมาใช้ได้โดยตรง จำเป็นต้องมีการศึกษาและออกแบบการทดลองให้ตรงกับข้อเท็จจริง ยังไม่มีงานวิจัยเกี่ยวกับความเข้มข้นของกรดที่มีผลต่อ Metacercaria ที่อยู่ในเนื้อปลาส้ม ต้องมีการทบทวนข้อมูลวิชาการเรื่องปลาร้า ปลาส้ม และกระบวนการผลิต

สิ่งที่ อย.จะต้องดำเนินการต่อไป ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ หาความร่วมมือจากภาคี เครือข่าย ทบทวนข้อมูลทางวิชาการปลาร้า ปลาส้มและ กระบวนการผลิต จัดทำโครงการศึกษาวิจัย เรื่อง “กระบวนการ ลดความเสี่ยงพยาธิใบไม้ตับในการผลิตปลาร้า ปลาส้ม” จัดทำหลักเกณฑ์มาตรฐานกระบวนการผลิตปลา ร้า ปลาส้ม

Reference 1. Upatham, E.S. (1988). A review of experimental and field research on the human liver fluke Opisthorchis viverrini. Journal of the Science Society of Thailand,14:245-262. 2. Owens, D.J. (2014). Indigenous Fermented Foods of Southeast Asia. Boca Raton, FL : CRC Press. 3. Motarjemi, Y., Moy, G., Todd E.C.D. (2014). Encyclopedia of Food Safety. Amsterdam : Academic Press. 4. วัชรพงษ์ เรือนคำ. (2555). ระบาดวิทยาของพยาธิใบไม้ในตับ บริเวณลุ่มแม่น้ำกก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย. เชียงราย: มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย.

Reference 5. โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน. (ไม่ปรากฏปีพิมพ์). กินปลาดิบ...ระวังมะเร็ง. ค้นเมื่อ 17 สิงหาคม 2559, จากคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล เว็บไซต์: http://www.tm.mahidol.ac.th/th/tropical-medicine-knowledge/new/Opisthorchis.html 6. Ortega, Y.R. (2006). Foodborne Parasites. New York: Springer. 7. ห้องสมุดโรงพยาบาลราชวิถี. (2552). เปิบปลาส้มเสี่ยงมะเร็งลำไส้. ค้นเมื่อ 17 สิงหาคม 2559, จากโรงพยาบาลราชวิถี เว็บไซต์: http://110.164.68.234/news_raja/ index.php?mode=topicshow&tp_id=2170 8. Prasongwatana J., Laummaunwai P., Boonmars T., Pinlaor S. (2013). Viable metacercariae of Opisthorchis viverrini in northeastern Thai cyprinid fish dishes--as part of a rational program for control of O. viverrini-associated cholangiocarcinoma. Parasitology Research;112:1323-7.

Reference 9. U.S. Food and Drug Administration. (2011). Fish and Fishery Products Hazards and Controls Guidance. (4thed.). Retrieved August 17, 2016, from http://www.fda.gov/downloads/Food/GuidanceRegulatio n/UCM251970.pdf 10. U.S. Food and Drug Administration. (2015). Processing Parameters Needed to Control Pathogens in Cold Smoked Fish Chapter V. Potential Hazards in Cold-Smoked Fish: Parasites. Retrieved August 17, 2016, fromhttp://www.fda.gov/Food/ FoodScienceResearch/SafePracticesforFoodProcesses /ucm094578.htm

“ขอบคุณค่ะ”