งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
งานควบคุมและป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาลINFECTION CONTROL IN COMMUNITY HOSPITAL กชพร เนื่องลี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 6-7 กรกฎาคม 2560

2 วิสัยทัศน์ : โรงพยาบาลชุมชนที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ สานสายใยสู่ชุมชน
พัฒนาระบบการเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาลตามนโยบายความปลอดภัยของผู้ป่วย Patient safety goal ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ จุดเน้นองค์กร พัฒนาระบบบริการสาธารณสุขมีคุณภาพได้มาตรฐาน พัฒนาระบบบริการตามหลักความปลอดภัยของผู้ป่วย จุดเน้นที่ 4 จุดเน้น IC จุดเน้นที่ 1 จุดเน้นที่ 2 จุดเน้นที่ 3 จุดเน้นที่ 4 จุดเน้นที่ 5 Hand Hygiene การจัดการขยะติดเชื้อที่มีประสิทธิภาพ พัฒนางานจ่ายกลางให้ได้มาตรฐาน การป้องกันอุบัติเหตุจากการทำงาน การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล

3 จุดเน้นที่ 5 การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล
การเฝ้าระวังการติดเชื้อในผู้ป่วย การเฝ้าระวังการติดเชื้อในบุคลากร การเฝ้าระวังในสิ่งแวดล้อม เป็นจุดเน้นที่ 1

4 1.การเฝ้าระวังการติดเชื้อในรพ.เฉพาะตำแหน่ง ( Target surveillance)
อัตราการติดเชื้อที่ตาและสะดือทารก อัตราการติดเชื้อในทารกแรกเกิด อัตราการติดเชื้อแผลฝีเย็บ อัตราการติดเชื้อที่แผลผ่าตัด อัตราการติดเชื้อตำแหน่งให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ อัตราการติดเชื้อCAUTI อัตราการติดเชื้อจากการถอนฟัน/ผ่าฟันคุด

5 การติดเชื้อในสถานบริการสุขภาพ
หมายถึง การติดเชื้อที่ได้รับเชื้อจุลชีพขณะที่รับการรักษาจากสถานบริการสุขภาพ เกิดได้ทั้งผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์

6 ข้อตกลงเบื้องต้น การวินิจฉัยการติดเชื้อในโรงพยาบาลเป็นการวินิจฉัยเพื่อการเฝ้าระวัง ไม่ใช่การวินิจฉัยเพื่อการรักษา สำหรับนำข้อมูลไปใช้ในการดำเนินงาน IC ของรพ. เกณฑ์การวินิจฉัยต้องสอดคล้องกับเกณฑ์วินิจฉัยที่ยอมรับได้ในระดับประเทศเพื่อให้สามารถเปรียบเทียบกันได้ ผู้วินิจฉัยต้องมีความรู้ มีใจและเวลา เพื่อให้ข้อมูลถูกต้องนำไปใช้ในการแก้ปัญหาได้ ต้องมีการเฝ้าระวังที่เป็น prospective active surveillance

7 คำย่อที่เกี่ยวข้อง คำย่อ คำเต็ม คำแปล NI Nosocomail Infection
การติดเชื้อในโรงพยาบาล HAI Healthcare-Associated Infection การติเดชื้อที่สัมพันธ์กับการให้บริการสุขภาพ CAI Community-Associated Infection การติดเชื้อจากชุมชน POA Present on admission การติดเชื้อตั้งแต่แรกรับ

8 ขั้นตอนการวินิจฉัย HAI

9 1. หลักเกณฑ์การวินิจฉัยการติดเชื้อ
เอกสารอ้างอิงหลัก ใช้เล่มนี้เป็นหลัก กรณีที่มีข้อสงสัยสามารถสอยถามเพิ่มเติมที่ ICN หรือ ICWN ประจำหน่วยงาน แหล่งอ้างอิง เกณฑ์การวินิจฉัยการติดเชื้อในโรงพยาบาล : สถาบันบำราศนราดูร ส.ค. 2556

10

11 ในอนาคตอาจจะมีระบบออนไลน์ ในเวบไซด์ของทางรพ
ในอนาคตอาจจะมีระบบออนไลน์ ในเวบไซด์ของทางรพ. หน้าตาประมาณนี้ ให้สามารถคลิกเข้าไปดู เกณฑ์การวินิจฉัยและสามารถรายงานข้อมูลการติดเชื้อผ่านเวบไซด์ได้

12 2. เกณฑ์การพิจารณา HAI ไม่ใช่เกณฑ์การวินิจฉัยการติดเชื้อเพื่อการรักษา

13 คำที่เกี่ยวข้องกับการวินิจฉัย HAI

14

15

16

17

18 ตัวอย่าง

19

20 เกณฑ์การพิจารณา HAI

21

22 เกณฑ์การพิจารณา HAI 3. ไม่เข้าเงื่อนไข Secondary BSI (2 BSI)
Secondary BSI ไม่นับเป็น HAI

23

24

25 เกณฑ์การพิจารณา HAI (เพิ่มเติม)
การวินิจฉัยของแพทย์ว่าเป็น HAI นับว่าเป็น HAI เมื่อมีการวินิจฉัยตามเกณฑ์วินิจฉัย HAI การติดเชื้อของทารกแรกเกิดที่ได้รับเชื้อผ่านทาง Placenta และ เกิดอาการภายใน 2 วันปฏิทินหลังคลอด เช่น herpes simplex, toxoplasmosis, rubella, cytomegalovirus , syphilis) การติดเชื้อที่เกิดจากการติดเชื้อที่แฝงอยู่ (latent infection) ได้แก่ herpes zoster, herpes simplex, syphilis, TB

26 เกณฑ์การพิจารณา HAI (เพิ่มเติม)
การติดเชื้อที่ไม่สามารถป้องกันได้แต่ข้อมูลทำให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพการรักษาพยาบาล ให้จัดว่าเป็น HAI เช่น อุจจาระร่วงจาก C.difficile หรือการติดเชื้อในกระแสเลือดจาก gr.B Streptococcus (อะเคื้อ อุณหเลขกะ,2548)

27 เชื้อก่อโรค

28 เชื้อก่อโรค 1. เชื้อก่อโรคที่แทบทั้งหมดเป็น CI น้อยมากที่จะเป็น HAI ได้แก่ Blastomyces , Histoplasma , Coccidioides, Para Coccidioides , Cryptococcus and Pneumocystis 2. เชื้อที่พบหลังจาก brain dead ไม่รายงานเป็น HAI

29 เชื้อก่อโรคที่ไม่ใช่ Primary BSI

30 การวินิจฉัย BSI

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

41 Necrotizing Enterocolitis

42

43

44

45

46 HAP= Healthcare associated pneumonia
การเก็บเสมหะเพาะเชื้อโดยจาก ET Tube ไม่ถือว่าเป็นการเก็บเสมหะส่งตรวจเพื่อช่วยการวินิจฉัย เนื่องจากเนื่องจากอาจพบการปนเปื้อนเชื้อของเสมหะได้ ควรเก็บโดยวิธี deep cough, aspiration, lavage สำหรับทำ Semiquantitative หรือ nonquantitative culture

47

48

49

50

51

52

53

54

55

56 เชื้อก่อโรคที่ไม่รายงานใน UTI
Candida species or yeast Mold Dimorphic fungi parasites กรณีที่พบเชื้อกลุ่มนี้ทั้งใน U/C และ H/C ร่วมกับ มีอาการและอาการแสดงของ UTI ถือเป็น NI


ดาวน์โหลด ppt พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google