งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวิจัยทางการท่องเที่ยว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวิจัยทางการท่องเที่ยว"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวิจัยทางการท่องเที่ยว
Research in Tourism รหัสวิชา

2 การเขียนรายงานการวิจัย
ทางการท่องเที่ยว

3 ส่วนประกอบรายงานการวิจัย
ประกอบด้วย 3 ส่วนสำคัญ 1.ส่วนนำ ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ

4 2.ส่วนเนื้อหา ประกอบด้วย 5 บท บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมา วัตถุประสงค์ในการวิจัย ขอบเขตการวิจัย สมมติฐานการวิจัย ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย นิยามศัพท์เฉพาะ *กรอบแนวคิดในการวิจัย

5 บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม แนวคิด หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง บริบทสถานที่ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

6 บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล

7 บทที่ 4 ผลการวิจัย ข้อมูลทั่วไปของประชากร/กลุ่มตัวอย่าง ผลการวิจัย การทดสอบสมมติฐาน (ถ้ามี)

8 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ สรุปผลการวิจัย การอภิปรายผล ข้อเสนอแนะ

9 ส่วนอ้างอิง บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผู้วิจัย

10 ส่วนนำ เทคนิคการเขียนรายงานการวิจัยทางการท่องเที่ยว
ปก รายงานการวิจัยทุกเรื่องจะมีปกนอก ปกใน

11

12

13 บทคัดย่อ คือ ข้อความที่เป็นการสรุปย่องานวิจัยเรื่องนั้น มักจะปรากฏในส่วนแรกของรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ บทคัดย่อ เป็นส่วนที่ผู้วิจัยเขียนสรุปย่อรายงานวิจัย โดยมีเนื้อหาที่สั้น กะทัดรัด และได้ใจความครอบคลุมเนื้อหาของการวิจัยโดยเฉพาะ บทคัดย่อทำหน้าที่รายงานผลการวิจัยเรื่องนั้น ๆ อย่างย่อ ๆ เพื่อให้ผู้ค้นคว้าได้ “ชิม” ว่า งานวิจัยเรื่องนั้นตรงกับที่ตนต้องการหรือไม่ หากตรง ก็จะได้อ่านงานวิจัยให้ละเอียดทั้งเล่ม หากไม่ตรง ก็ผ่านเลยไป

14 การเขียนบทคัดย่อ (Abstract การเขียนบทคัดย่อ (Abstract)
บทคัดย่อประกอบด้วย 3 ส่วน คือ 1. ส่วนหัว ซึ่งจะต้องพิมพ์ตามรูปแบบและเนื้อหาตามที่แต่ละสถาบันกำหนด 2. ส่วนเนื้อหา เป็นเนื้อหาของบทคัดย่อ ซึ่งแบ่งเป็น 3 แบบ คือ (1) แบบ 5 ย่อหน้า (2) แบบ 4 ย่อหน้า (3) แบบ 3 ย่อหน้า นิยมมากที่สุด 3. ส่วนช่วยการค้นหา ได้แก่ คำสำคัญ (Keywords)

15 การเขียนบทคัดย่อแบบ 3 ย่อหน้า
ย่อหน้าที่ 1 ระบุวัตถุประสงค์ของการวิจัย ย่อหน้าที่ 2 ระบุระเบียบวิธีการวิจัย ซึ่งประกอบด้วย กลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือการวิจัย และการวิเคราะห์ข้อมูล ย่อหน้าที่ 3 ระบุผลการวิจัยและการอภิปรายผล

16 ชื่องานวิจัย ชื่อผู้วิจัย ปีที่ทำวิจัย บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ประชากร กลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือ(อะไรในการทำวิจัย) สรุปผลการวิจัย

17

18 การเขียนคำสำคัญของบทคัดย่อ
คำสำคัญ คือคำที่จะช่วยให้ผู้คนคว้าได้เข้าถึงบทคัดย่อเรื่องนี้ในการค้นด้วยคอมพิวเตอร์ มีหลักในการเขียนคำสำคัญดังนี้ 1. ในบทคัดย่อแต่ละเรื่อง ควรเสนอคำสำคัญหลาย ๆ คำ เพื่ออำนวยความสะดวกในการค้นคว้า นิยมเสนอมากถึง 5 คำ 2. ต้องเสนอเป็นคำ อย่าเสนอเป็นวลีหรือประโยค 3. คำที่เสนอต้องปรากฏในชื่อเรื่องหรือเนื้อหาของบทคัดย่อ

19 ส่วนนำ (ต่อ) เทคนิคการเขียนรายงานการวิจัยทางการท่องเที่ยว (ต่อ)
กิตติกรรมประกาศ การเขียนกิตติกรรมประกาศ  เป็นการเขียน เพื่อกล่าวขอบคุณ บุคคล  หน่วยงาน  ที่ให้ ความช่วยเหลือ  สนับสนุนในการเขียนงานวิจัย

20 ตัวอย่างการเขียนกิตติกรรมประกาศ

21 ส่วนนำ (ต่อ) เทคนิคการเขียนรายงานการวิจัยทางการท่องเที่ยว (ต่อ)
สารบัญ เป็นส่วนที่ระบุรายละเอียดต่างๆของรายงานการวิจัย โดยแยกออกเป็นบทและหัวข้อ สารบัญตาราง เป็นหน้าที่ถัดมาจากสารบัญ โดยส่วนนี้จะแสดงเลขที่และชื่อตารางทุกตารางที่ปรากฏในรายงานการวิจัย สารบัญภาพ เป็นหน้าที่ถัดมาจากสารบัญตาราง โดยส่วนนี้จะแสดงรายชื่อภาพที่ปรากฏในรายงานการวิจัย เช่น รูปภาพ รูปถ่าย

22

23

24

25 2.ส่วนเนื้อหา

26 บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ////////   1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย ////////   1.3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.4 ขอบเขตของการวิจัย ////////   1.5 นิยามศัพท์ ////////

27 วรรณกรรมและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 วรรณกรรมและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ////////(กล่าวนำ)   2.1 หัวข้อใหญ่ 1 2.2 หัวข้อใหญ่ 2 2.1 หัวข้อใหญ่ //////// 2.1.1//หัวข้อย่อย /////// 2.1.2// หัวข้อย่อย 2.2 หัวข้อใหญ่

28 บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย ////////(กล่าวนำ) 3.1 ประชากร //////// 3.2 กลุ่มตัวอย่างและสุ่มตัวอย่าง 3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล 3.4 การวิเคราะห์ข้อมูล

29 ผลการวิจัยและอภิปรายผล
บทที่ 4 ผลการวิจัยและอภิปรายผล ////////(กล่าวนำ) 4.1 ผลการวิจัย //////// ส่วนที่ 1 ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคล /////// ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว   ส่วนที่ 3 ผลการทดสอบสมมติฐาน (ถ้ามี)

30 สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ ////////การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (เขียนสรุปเป็นความเรียงเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง และวิธีดำเนินการวิจัย) 5.1 สรุปผลการวิจัย ////////  5.2 อภิปรายผล 5.3 ข้อเสนอแนะ

31 บรรณานุกรม ส่วนอ้างอิง

32 ตัวอย่างการเขียนบรรณานุกรม

33 หนังสือ ผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์). ชื่อหนังสือ. เล่มที่ (ถ้ามี). ครั้งที่พิมพ์(ถ้ามี). ชื่อชุดหนังสือและลำดับที่(ถ้ามี). สำนักพิมพ์ : สถานที่พิมพ์. ผู้แต่งคนเดียว : ไพศาล เหล่าสุวรรณ. (2535). หลักพันธุ์ศาสตร์. บริษัทการพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช : กรุงเทพมหานคร. ผู้แต่ง 2 คน : สรรใจ แสงวิเชียร และวิมลพรรณ ปิตธวัชชัย. (2517). กรณีสวรรคต 9 มิถุนายน กรุงสยามการพิมพ์ : พระนคร. ผู้แต่งมากกว่า 3 คน : สังวร ปัญญาดิลก และคณะ. (2522). การบัญชี ไทยวัฒนาพานิช : กรุงเทพมหานคร. แต่งที่เป็นสถาบัน : คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สำนักงาน. ศูนย์ข้อสนเทศการวิจัย. (2540). ทำเนียบนักวิจัยแห่งชาติ ปี กรุงเทพมหานคร

34 บทความในหนังสือ ผู้เขียนบทความ. (ปีที่พิมพ์). ชื่อบทความ. ในชื่อบรรณาธิการหรือผู้รวบรวม. ชื่อหนังสือ. เลขหน้า.สำนักพิมพ์:สถานที่พิมพ์. ตัวอย่าง ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์. (2537). การสร้างองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาประเทศไทยด้านเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม. ใน วิจารณ์พานิช, บทบาทของการวิจัย : การท้าทายของทศวรรษใหม่. หน้า สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย : กรุงเทพมหานคร.

35 บทความในวารสาร ผู้เขียนบทความ. (ปีที่พิมพ์). ชื่อเรื่อง. ชื่อวารสาร. ปีของวารสาร. เล่มที่. ฉบับที่. เลขหน้า. ตัวอย่าง ปริทรรศน์ พันธุ์บรรยงค์. แบบแผนแห่งความสำเร็จการบริหารงานแบบญี่ปุ่นในโรงงานอุตสาหกรรมของอังกฤษ. วารสารสมาคมอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์คอนกรีตไทย. ปีที่ 2. ฉบับที่ 3. หน้า15.

36 วิทยานิพนธ์ ผู้เขียนวิทยานิพนธ์. ปีที่พิมพ์. ชื่อวิทยานิพนธ์. ระดับวิทยานิพนธ์. ชื่อสาขาวิชาหรือภาควิชา คณะ มหาวิทยาลัย. ตัวอย่าง ณัฐวุฒิ จินากูล โครงสร้างอำนาจและระบบอุปถัมภ์ในชนบทไทย : กรณีศึกษาบ้านตา อำเภอบางบาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

37 วิทยานิพนธ์จากเว็บไซด์
ดาริณี สุวภาพ, ปาริชาติ เทวพิทักษ์, และดวงพร ผาสุวรรณ. (2547). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสอบประเมินความรู้เพื่อขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต. ค้นเมื่อ 23 กรกฎาคม 2550, จาก

38 สารสนเทศที่สืบค้นจากเว็บไซต์ต่างๆ
ผู้แต่ง.(ปีที่เผยแพร่ หรือ วัน เดือน ปีที่เผยแพร่ หากมีข้อมูลครบ กรณีไม่ปรากฏ ให้ใช้ n.d. หรือ ม.ป.ป.).ชื่อเรื่องของเอกสารหรือสารสนเทศ.สืบค้นจาก (ระบุ URL) 1   ตัวอย่าง นลิน ญานศิริ, สรจักร เกษมสุวรรณ, และ เปี่ยมศักดิ์  เมนะเศวต.  (2557).  แหล่งที่มาของมลพิษทางทะเลในอ่าวไทย. สืบค้นจาก  /แหล่งที่มาของมลพิษทางทะเลในอ่าวไทย           Health Central Network.  (2009).  Heart attack symptoms and warning signs.  Retrieved from

39 สารสนเทศที่สืบค้นจากเว็บไซต์ต่างๆ (ต่อ)
การอ้างอิงจากเว็บไซต์ ผู้แต่ง.  ปีที่พิมพ์.  ชื่อเอกสาร.  สถานที่พิมพ์ : ผู้ผลิตหรือเจ้าของเว็บไซต์.  ออนไลน์. สืบค้นจาก  เดือน ปี 2 Lynch, Tim DS9 trials and tribble-ations review. Peoria, IL: Bradley University. On-line. Available from Internet, accessed 8 October 1997.

40 กรณีที่มีหลายประเภทควรแยกเป็นภาคผนวก ก. ภาคผนวก ข. ไปตามลำดับ
 ภาคผนวก  ภาคผนวก คือ เนื้อหาส่วนที่เป็นส่วนประกอบของงานวิจัย ที่ผู้วิจัยต้องการแสดงรายละเอียด แต่ไม่ต้องการเขียนลงไปในส่วนเนื้อหาสาระ เพราะมีรายละเอียดมากเกินไป เช่น เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ผลการทดลองใช้เครื่องมือ รายละเอียดผลการวิเคราะห์ข้อมูลและภาพถ่าย เป็นต้น กรณีที่มีหลายประเภทควรแยกเป็นภาคผนวก ก. ภาคผนวก ข. ไปตามลำดับ

41


ดาวน์โหลด ppt การวิจัยทางการท่องเที่ยว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google