รายงานผลการตรวจราชการรอบ 6 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก รพ.ป่าติ้ว
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการรายงานข้อมูลให้มีความ ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย ปีงบประมาณ กองแผนงาน -
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
ยุทธศาสตร์สุขภาพ กลุ่มแม่และเด็ก
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
Performance Agreement : PA ปี 2560
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
ระบบเฝ้าระวังการตายมารดา
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
งานแม่และเด็ก เครือข่ายสุขภาพอำเภอกะปง
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การตรวจราชการ ประจำปี 2560
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานผลการตรวจราชการรอบ 6 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ รายงานผลการตรวจราชการรอบ 6 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย นำเสนอโดย นายแพทย์สราวุฒิ บุญสุข หัวหน้ากลุ่มอนามัยแม่และเด็ก นำเสนอ 17 พฤษภาคม 2559

กรอบแนวคิดแผนบูรณาการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ปีงบประมาณ 2559 เป้าหมายกระทรวง ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิต 9. แผนบูรณาการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต (5 กลุ่มวัย) ตัวชี้วัดกระทรวง อัตราส่วนมารดาตาย ไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน เด็กวัยเรียนอายุ 5-14 ปี มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกินร้อยละ 10 5. อัตราการคลอดในมารดาอายุ 15-19 ปี ไม่เกิน 50 ต่อ ประชากรหญิงอายุ 15-19 ปีพันคน อัตราป่วยรายใหม่จากโรคหลอดเลือดหัวใจลดลง 9. ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองปัญหาสุขภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 2. เด็ก 0-5 ปี พัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำ ของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 6.5 ต่อประชากรเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี แสนคน ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชากรอายุ 15-19 ปี (ไม่เพิ่มขึ้นจากผลการสำรวจปี 2557) 8. อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนนไม่เกิน 16 ต่อประชากร แสนคน 10. คนพิการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 แผนพัฒนาสุขภาพ กลุ่มสตรีตั้งครรภ์ และเด็กปฐมวัย แผนพัฒนาสุขภาพ กลุ่มเด็กวัยเรียน แผนพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น แผนพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยทำงาน กลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ ผลผลิต กรมอนามัย 1.สร้างพ่อแม่คุณภาพและ เด็กรุ่นใหม่แข็งแรง สมองดี 2.การตรวจคัดกรองความ ผิดปกติในเด็กแรกเกิด กรมอนามัย/สบส. 1.เด็กวัยเรียนได้รับบริการสุขภาพพื้นฐาน กรมสุขภาพจิต/ 1.เด็กวัยรุ่น มีทักษะชีวิต และมีความเข้าใจทางด้านเพศศึกษา กรมควบคุมโรค/ กรมอนามัย/กรม สบส./ กรมสุขภาพจิต 1.ประชาชนในวัยทำงานมี พฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และลดปัจจัยเสียงต่อโรค ไม่ติดต่อ และอุบัติเหตุ กรมการแพทย์/กรมอนามัย/ กรมแพทย์แผนไทยฯ 1. ผู้สูงอายุได้รับการ ส่งเสริมสุขภาพ ทั้งทาง ร่างกายและจิตใจ 3.เด็กได้รับการตรวจ พัฒนาการ และ ได้รับ การดูแลที่เหมาะสม 2.เด็กวัยเรียนมี พัฒนาการทาง สติปัญญาและอารมณ์ ระดับมาตรฐาน กรมควบคุมโรค 2.จังหวัดมีการบังคับใช้ กฎหมาย เพื่อควบคุม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ทั้งในและรอบถานศึกษา 2 ประชาชนได้รับการ ประเมินและจัดการเพื่อลด โรคหัวใจและหลอดเลือด กรมการแพทย์ 2.ผู้พิการได้รับการส่งเสริมให้ เข้าถึงบริการสุขภาพ

พัฒนาศักยภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 2559 พ่อแม่คุณภาพ เกิดรอด ปลอดภัย ลูกเติบโต พัฒนาการสมวัย 1. ลดอัตราส่วนมารดาตายไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2. เด็ก 0-5 ปี พัฒนาการสมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 3. เด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน มากกว่าร้อยละ 48 เป้าหมาย มาตรการการเน้นหนักของกระทรวงสาธารณสุข ระบบข้อมูลคุณภาพ ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดี และลดปัจจัยเสี่ยง ระบบบริการที่มีคุณภาพ ระบบบริหารจัดการ 1.ระบบข้อมูลเฝ้าระวังมารดาตาย 2.ระบบข้อมูลเฝ้าระวังพัฒนาการเด็ก 1. ชวนลูกเล่นตามรอยพระยุคลบาท 2. สร้างพ่อแม่คุณภาพ:กระบวนการโรงเรียนพ่อ แม่ เน้น ใช้สมุดสีชมพู 3. สื่อสารสังคม กิน กอด เล่า เล่น 4. ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 1.บริการชุดสิทธิประโยชน์ เข้าถึง เท่าเทียม เน้น Triferdine 2. คัดกรองหญิงตั้งครรภ์เสี่ยง (RM) และลดอุบัติการณ์เกิด PPH PIH 3. คัดกรองพัฒนาการเด็ก และ ส่งต่อแก้ไขพัฒนาการล่าช้า 4.บริการเชิงรุกทีมFCT /DHS 5. ประเมินรับรองมาตรฐานบริการ MCH คุณภาพ (ANC,LR,W,WCC,DCC) 1. MOU เขต MCH board Quality 2. กฎหมายนมแม่ 3. พัฒนาศักยภาพบุคคลากร 4. การจัด Zoning ผู้เชี่ยวชาญ 5. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์พัฒนาเด็กองค์รวม ชุมชน ท้องถิ่นมีส่วนร่วม Quick win 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1. MOU. กับเขตสุขภาพ และ มีแผนโครงการ 2. จังหวัดระบบเฝ้าระวังมารดาตายและพัฒนาการเด็ก 3. สนับสนุนคู่มือ แนวทาง โปรแกรมประเมินมาตรฐาน อบรมทีม 1. ร้อยละ 40 ของจังหวัดที่มีระบบเฝ้าระวังมารดาตายฯ และพัฒนาการเด็กปฐมวัย 2. ร้อยละ 30 พ่อแม่คุณภาพ 3. ร้อยละ50เด็ก9,18,30,42 เดือนได้รับการคัดกรองพัฒนาการ และสงสัยล่าช้ามากว่า 20% 4. ร้อยละ100 เด็กสงสัยการล่าช้าได้กระตุ้น 1. ร้อยละ 50 ของจังหวัดมีระบบเฝ้าระวังมารดาตายฯ และพัฒนาการเด็กปฐมวัย 2. ร้อยละ 35 พ่อแม่คุณภาพ 3. ร้อยละ80 เด็ก9,18,30,42 เดือนได้รับการคัดกรองพัฒนาการ และสงสัยล่าช้ามากว่า 20% 1.ร้อยละ 60 จังหวัดที่มีระบบเฝ้าระวังการตายมารดาฯและพัฒนาการเด็ก 2 อัตราส่วนมารดาตายไม่เกิน 15ต่อแสน การเกิดมีชีพ 3. พัฒนาการเสมวัยเด็ก 0-5 ปี ร้อยละ 85 Quick Win

แนวโน้มอัตราการตายมารดาปี พ.ศ.2538-2558 ต่อ100,000 การเกิดมีชีพ 03/12/61

ผลงานรอบ 6 เดือนยังไม่ผ่านค่าเป้าหมาย ผลงานตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข รอบ 6 เดือน ปี งบประมาณ 2559 กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย ผลงานรอบ 6 เดือนยังไม่ผ่านค่าเป้าหมาย ตัวชี้วัด1. อัตราส่วนมารดาตาย ไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน แหล่งข้อมูล : จากรายงานการนิเทศงานรอบ 1 สำนักตรวจประเมินผล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปี พ.ศ.2559

อัตราตายทารกของทารกแรกเกิดอายุ ≤ 28 วัน ต่อทารกเกิดมีชีพ 1,000 ทารกเกิดมีชีพ

ผลงานตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุขและกรมอนามัย กลุ่มอนามัยแม่และเด็ก รอบ 6 เดือน ปี งบประมาณ 2559 แหล่งข้อมูล : ผลการดำเนินงานศูนย์อนามัยที่ 1 – 13 รอบ 6 เดือน ประจำปีงบประมาณ 2559

เด็กสงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ แหล่งข้อมูล : จากรายงานการนิเทศงานรอบ 1 สำนักตรวจประเมินผล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปี พ.ศ.2559

ร้อยละการติดตามเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ

ร้อยละหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง แหล่งข้อมูล : จากรายงานการนิเทศงานรอบ 1 สำนักตรวจประเมินผล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปี พ.ศ.2559

ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรก ข้อมูลจาก HDC Service ณ วันที่ 24 มีนาคม 2559

ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ ข้อมูลจาก HDC Service ณ วันที่ 24 มีนาคม 2559

หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ ข้อมูลจาก HDC Service ณ วันที่ 24 มีนาคม 2559

ร้อยละของทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ข้อมูลจาก HDC Service ณ วันที่ 24 มีนาคม 2559

ร้อยละของเด็กแรกเกิด - ต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว ร้อยละของเด็กแรกเกิด - ต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว ข้อมูลจาก HDC Service ณ วันที่ 24 มีนาคม 2559

ร้อยละเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ไตรมาส 2 เป้าหมายร้อยละ 48 ที่มา : ข้อมูลจาก HDC วันที่รายงาน 17 พ.ค. 59

สถานการณ์กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ที่มา : * Health Data Center : http://hdcservice.moph.go.th ณ 10 พฤษภาคม 2559 ** การศึกษาพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทยปี 2557,กรมอนามัย ,2558

มาตรการเร่งด่วน 1.: สตรีตั้งครรภ์ ส่งเสริมฝากท้องเร็ว ประเมินและจัดการความเสี่ยงรายบุคคล Early ANC Risk Identification๒ Risk management - ฝากท้องทุกที่ ฟรีทุกสิทธิ์ - ค้นหา เยี่ยมบ้าน โดย รพสต. อสม. - ส่งเสริมการเกิดคุณภาพ(FY-classifation,A-B-C) ประเมินความเสี่ยง 18 ข้อใน สมุดสีชมพู ANC คุณภาพ โรงเรียนพ่อแม่ ตั้งครรภ์เสี่ยง ดูแลรายบุคคล ( CM)โดยเฉพาะที่มีโรคร่วม - LR /OR คุณภาพ -Mappingสูติแพทย์ -จัดโซนรับการส่งต่อ

มาตรการเร่งด่วน 2.:Ending Preventable Maternal Death Early Detected >PPH/PIH Early Management Surveillance /Response ถุงตวงเลือดทุกราย หยุดเลือดให้ได้ภายใน30 นาที Referถึงแพทย์พร้อม C/sภายใน30นาที(เมื่อพบข้อบ่งชี้) -PDCA -CQI -report -M/E >>MCH board ลงเยี่ยมเสริมพลังอย่างจริงจัง - LR คุณภาพ (17ข้อ) - OR /Blood bank ทีมคุณภาพ แนวทางปฎิบัติที่ชัดเจน /ทบทวนเสมอ ยาพร้อม Early warning sings

การดำเนินงาน 6 เดือนหลัง เป้าหมาย อัตราส่วนมารดาตาย ผลลัพธ์ 6 เดือนแรก โอกาสพัฒนา / การดำเนินงาน 6 เดือนหลัง น้อยกว่า 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน ผลลัพธ์ : ปี 2558 = 20/100000LB ซึ่งลดลงจากปี 2552 อยู่ที่ 35.2/100000LB ซึ่งต่ำเป็นอันดับหนึ่งในกลุ่มประเทศ SEARO ผลลัพธ์ : ปี 2559= กำลังประเมินผล ก การดำเนินงาน ดำเนินงาน: 1 ประชุมเพิ่มความเข้มแข็งและคุณภาพของ MCH Board และติดตามพร้อมทั้งการรายงานผลทุกเดือนและ MOU กับ MCH Board ทั้ง 12 เขต เพื่อไม่ให้มีมารดาตายจากสาเหตุที่ป้องกันได้ 2.M/E เสริมพลัง PDCA 1.เพิ่มความเข็มแข็งของ MCH B ผ่านทีมเขตตรวจราชการ ศูนย์อนามัย 2.โครงการ Ending preventable maternal death * 2.พัฒนาระบบข้อมูลการรายงานมารดาตายโดยบูรณาการความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย สำนักทะเบียนราษฎร์สำนักสถิติเพื่อจัดทำระบบมารดาตายระดับประเทศ (สามารถดำเนินการภายในปี2559 ) 3.มีการสอบสวนและรายงานการตายและหาแนวทางในการ แก้ไขร่วมกัน ของMCH ระดับ จังหวัด เขต และส่วนกลาง

การดำเนินงาน 6 เดือนหลัง เป้าหมาย พัฒนาการเด็กสมวัย ผลลัพธ์ 6 เดือนแรก โอกาสพัฒนา / การดำเนินงาน 6 เดือนหลัง *พัฒนาการเด็กสมวัยมากกว่าร้อยละ85 *พัฒนาเด็กสูงดี สมส่วน เป้าหมาย ร้อยละ48 *ส่งเสริมเด็กไทยกินนมแม่ *ลดการติดเชื้อเอดส์จากแม่สู่ลูก 1.พัฒนาการสมวัย 90.84 2. มีระบบเฝ้าระวังการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็ก ร้อยละ56.6 3.ปัญหาพัฒนาการล่าช้าด้านภาษา(39.6%)* และ กล้ามเนื้อมัดเล็ก(44.6%)* * ผลงาน6เดือนร้อยละ 47.9 *พรบ Milk code เข้าสู่ คกก กฤษฎีกา *รับการประเมินจากWHO ระหว่างวันที่7-22 เมษา ผ่านการประเมิน 1.อบรมทีม CPM ระดับพื้นที่ เน้นทักษะผู้ประเมิน และระบบบริหารจัดการ 2.รณรงค์การตรวจคัดกรอง 4ช่วงอายุ เดือน กรกฎาคม 2559 *โภชนาการแม่และเด็ก ตาม 6 Global Nutrition Targets *สถานประกอบการมีคลินิก นมแม่ โดยร่วมมือกับ กระทรวง แรงงาน มูลนิธินมแม่ * เน้น เพิ่มนม และไข่ใน ศุนย์เด็กเล็ก ผ่าน อปท *เน้นความยั่งยื่นของระบบ ตั้งเป้าTR <1 %ในปี 2563

โภชนาการแม่และเด็ก ตาม 6 Global Nutrition Targets 1) บูรณาการยุทธศาสตร์โภชนาการเด็กเพื่อสูงดีสมส่วนและพัฒนาการเด็กเข้าในยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกิดคุณภาพ 2) สื่อสารประชาสัมพันธ์โดยกรมอนามัยร่วมกับ สสส. ในการสร้างเสริมการเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่และลดปัญหาซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์ (หญิงไทยแก้มแดง) 3) สนับสนุนยาเสริมธาตุเหล็กและกรดโฟลิค ตามชุดสิทธิประโยชน์ของการดูแลสุขภาพหญิงวัยเจริญพันธุ์ (Fact sheet เพื่อกระตุ้นเครือข่าย/นำเข้าเวทีผู้ตรวจราชการ/ประชุมส่วนภูมิภาค) 4) ผลักดันให้ยาเสริมธาตุเหล็กและกรดโฟลิคได้รับการขึ้นทะเบียนยา โดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 5) วิจัยและสำรวจในหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตรและเด็กปฐมวัย 6) ประสาน สปสช.ในการสนับสนุน Benefit Package ด้านโภชนาการ และพัฒนาการเด็กในศูนย์เด็กเล็ก

ตัวชี้วัด ผลงาน 6 เดือน แผน 6 เดือนหลัง เด็กอายุ 0-5 ปี สูงสมส่วน ร้อยละ 47.9 ประสานความร่วมมือกับสสส. - campaign นมแม่ และหญิงไทยแก้มแดง - social marketing เด็กสูงสมส่วน และ อาหารตามวัย ประสานศูนย์อนามัยนำมาตรการเร่งด่วนและ ชุดกิจกรรมพื้นฐานด้านโภชนาการใน setting ต่าง ๆ ในพื้นที่ 100 ตำบล ทบทวนปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มความสูง จัดทำเมนูอาหารหญิงตั้งครรภ์ อาหารเพิ่ม น้ำนม และอาหารเด็กอายุ 1-5 ปี ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานใน 100 ตำบล ประเมินผลการใช้โปรแกรมเฝ้าระวังการ เจริญเติบโตของเด็กแรกเกิด-18 ปี

บูรณาการสตรีและเด็กปฐมวัย 4 กระทรวง ผลลัพธ์ 6 เดือนแรก ข้อสรุป สำคัญ เป้าหมาย บูรณาการสตรีและเด็กปฐมวัย 4 กระทรวง ผลลัพธ์ 6 เดือนแรก ข้อสรุป สำคัญ โอกาสพัฒนา / การดำเนินงาน 6 เดือนหลัง เป้าประสงค์ * เด็กไทย แข็งแรง เก่ง ดี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม * 4H หญิงวัยเจริญพันธุ์ และหญิงตั้งครรภ์ 1.ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ไม่เกินร้อยละ 16 ภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ร้อยละ 13 2. หญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดได้กินไอโอดีน โฟลิก ธาตุเหล็ก ร้อยละ 100 1.ส่งเสริมการเตรียมความพร้อมก่อนสมรสและก่อนมีบุตรเพื่อส่งเสริมการเกิดคุณภาพ ( แจก โฟเลต) หญิงไทยแก้มใส 2. ลดความเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์และความพิการของทารก 3. ส่งเสริมการเฝ้าระวังและการดูแลสุขภาพด้วยตนเองโดยใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก(pass sport of life) 4.ป้องกันและควบคุมโรคถ่ายทอดทางพันธุกรรม ความพิการแต่กำเนิด และการติดเชื้อ อายุ 0-2ปี ส่งเสริมพฤติกรรมการเลี้ยงเด็กที่ถูกต้องเหมาะสมด้วยกระบวนการกิน กอด เล่า เล่น (สธ/ศธ/มท/พม/รง) 1 ชุมชนมีการส่งเสริมการเลี้ยงดูเด็ก เน้นกินนมแม่ ผ่าน อปท มหาดไทย สธ สื่อสารติดตามโดย อสม รพสต 2.สถานพยาบาล เน้น คลินิกนมแม่ใน WCC อายุ 3-5 ปี เสริมสร้างความร่วมมือในการ เจริญเติบโตเต็มศักยภาพ แข็งแรง พร้อมที่จะเรียนรู้ 1.เน้นคุณภาพในศูนย์เด็กเล็ก โภชนาการในศูนย์เด็ก เน้น เพิ่มนม และไข่ใน ศุนย์เด็กเล็ก ผ่าน อปท 2.บูรณาการมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กชาติ โดยมี พม เป็นหลัก( skill ครูพี่เลี้ยง) 3.เน้นภาษาที่2 ในบ้าน ศูนย์เด็กเล็ก