ความสำคัญของการพัฒนาการและระบบบริการดูแลพัฒนาการเด็ก
ปัญหาเรื้อรังของพัฒนาการเด็กไทย พ.ศ. 2553 (กรมอนามัย) เด็กไทยอายุ 3-5 ปี มีพัฒนาการต่ำกว่ามาตรฐาน 30 % พ.ศ. 2554 (กรมสุขภาพจิต) เด็กอายุ 6-14 ปี เด็กไทยมี IQ 98.5 (ต่ำกว่ามาตรฐาน 100) EQ 45 (ต่ำกว่ามาตรฐาน 50-100) พ.ศ. 2556 กระทรวงศึกษาธิการรายงานเด็ก ป.4 – ป.6 10-15 % อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ คิดไม่เป็น
Nature of Nurture: The Role of Epigenetic Modulation External environment Maternal care Social experiences Genetic background PURPOSE OF THE SLIDE To illustrate how environmental factors modulate the genetic phenotype to form the resultant behavioral phenotype. KEY POINTS Social experiences in early development have a particularly profound effect on gene expression and behavior. Animal studies in rodents and primates have demonstrated that mother–infant interactions are the primary source of social stimulation and result in long-term changes in offspring phenotype. Recent studies in rats have demonstrated the mechanism of these influences, through epigenetic modification, and the effect of transmission of social behavior across generations. It is therefore important to consider life history when studying brain development; incorporating information about genetic background, and pre- and post-natal maternal care received. An individual’s post-weaning social interactions also play a role, albeit to a lesser extent, in addition to the social environment experienced by previous generations. REFERENCE Champagne et al. How social experiences influence the brain. Cur Opin Neurobiol 2005;15(6):704–09. Behavioral phenotype EARLY EXPERIENCES Epigenetic modifications 1 REVERSIBILITY Epigenetic modifications 2 Fertilization Pre-natal Postpartum Post-weaning Adult Champagne et al. Cur Opin Neurobiol 2005;15(6):704-09. Copyright Elsevier (2005). 5
Adverse childhood experiences and depressive disorders Journal of Affective Disorders 82 (2004) 217–225
Cumulative Effect of Risk Factors on Depression 35 Control (non-maltreated) History of maltreatment 30 5-HTTLPR SS BDNF val66met Low social support 25 20 MFQ Depression Score 15 10 5 PURPOSE OF THE SLIDE To discuss the interaction effect of genetic and environmental risk factors on depression. KEY POINTS The study examined gene–gene and gene–environment interactions in the contribution to risk for depression in children. Maltreated (n=109) and non-maltreated (n=87) children were assessed for psychiatric symptomatology using standard research instruments. The following factors were investigated for contribution to risk: Serotonin transporter (5-HTTLPR) (locus SLC6A4) Brain-derived neurotrophic factor (BDNF) (variant val66met) History of maltreatment Social support There was a three-way interaction between BDNF genotype, 5-HTTLPR and history of maltreatment in predicting depression. The vulnerability associated with these two genetic factors was only evident in maltreated children. A significant four-way interaction was also found with these factors and a low level of social support. These results demonstrate a gene–gene interaction conveying vulnerability to depression, and the protective effect of social support in moderating risk for depression. REFERENCE Kaufman et al. Brain-derived neurotrophic factor–5-HTTLPR gene interactions and environmental modifiers of depression in children. Biol Psychiatry 2006;59(8):673–80. 1 2 3 4 Risk Code Study included 196 children (109 maltreated and 87 non-maltreated controls) 5-HTTLPR=Serotonin transporter-linked polymorphic region; BDNF=Brain-derived neurotrophic factor; MFQ=Mood and Feelings Questionnaire; SS=Short-short allele. Adapted from Kaufman et al. Biol Psychiatry 2006;59(8):673-80. 7 7 7
•Gene + Early Experience •Prevent Toxic Stress in abused/trauma ส่งผลเสียต่อการเรียนและสุขภาพของเด็กในอนาคต •Reliable relationship สัมพันธภาพที่ดีของพ่อแม่และผู้ดูแลเด็ก ช่วยทำให้เด็กอบอุ่นและมั่นคง Adversity VS. Relationship ปัจจัยสำคัญแก่การพัฒนาเด็กทางสมอง
What next? Early protection and prevention > Early detection and intervention
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข กรมสบส. •พัฒนาศักยภาพ อสม. กรมอนามัย คณะกรรมการอานวยการขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการฯ ประธาน: ปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมสบส. •พัฒนาศักยภาพ อสม. กรมอนามัย •ความครอบคลุม+คุณภาพการคัดกรอง กรมการแพทย์ •ดูแลและส่งเสริม เด็กปกติและที่พบล่าช้า ในรพ.ตติยภูมิและ ศูนย์เฉพาะทาง กรมสุขภาพจิต
แผนความร่วมมือระหว่างกระทรวง สธ. สป. ฝึกทักษะ DSPM รพ.สต.มีความพร้อมทั้งคนและเครื่องมือ กรมอนามัย Verification โดย Survey ของศูนย์เขต กรมสุขภาพจิต ร่วมประเมินและดูแลการส่งต่อ TEDA4I มท. มีผลของพัฒนาการเด็กในศูนย์เด็กเล็กเป็นตัวชี้วัดที่สาคัญ-อปท. ผวจ. ประธานคณะอนุ กก.จังหวัด นายอาเภอ ประธานระดับอาเภอ พม. เลขาฯคณะอนุ กก.จังหวัด-เด็กพัฒนาการล่าช้าเป็นเป้าหมาย400บ. ศธ. โรงเรียนเด็กสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจ-คนดีของสังคม เอกชน. พัฒนาคุณภาพและสวัสดิการของศูนย์เด็กเล็ก CSR 1 ต่อ 10 *ข้อเสนอต่อรัฐบาลเพื่อการลงทุนพัฒนาเด็กปฐมวัย*
After Screening effect Verification - การตรวจทาน สงสัยล่าช้า 20% เป้าหมาย < 15% ปี 2561 Registration - การขึ้นทะเบียน เขต จังหวัด พ่อแม่ใช้งาน DSPM 1 เดือน Follow up - หากยังล่าช้า ให้ส่งต่อ Referral Measure - พบผู้เชี่ยวชาญ รพช./รพท./รพศ. Result - การรวบรวมข้อมูลทั้งหมดเป็นรายปี Yearly Screening - คัดกรองเด็กอายุ 30 และ 42 เดือน ทั่วประเทศทุกปี
การดูแลที่ระดับ รพช.ขึ้นไป หาสาเหตุและให้การวินิจฉัย วางแผนการดูแลพัฒนาการต่อเนื่อง ประเมินผลการติดตามภายในสามเดือน เช่น การกระตุ้นพัฒนาการต่อเนื่องตาม TEDA4Iในระยะเวลาที่เหมาะสมกับบริบท การเยี่ยมบ้าน การส่งต่อข้อมูลกลับแก่พื้นที่ การประสานความช่วยเหลือต่างๆ ส่งต่อในกรณีมีข้อบ่งชี้
แผนผังการเฝ้าระวังและการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ประเมินปัจจัยเสี่ยง(กาย จิต สังคม) เฝ้าระวังพัฒนาการตามวัย DSPM/DAIM ติดตาม 9 18 30 42 ด. ส่งเสริมพัฒนาการ ตามวัย พัฒนาการล่าช้า? สมวัย ล่าช้า แนะนำ พ่อแม่ ผู้ปกครอง ให้ฝึกทักษะพัฒนาการตามวัยประมาณ 1 เดือน
สมวัย ไม่สมวัย สมวัย ไม่สมวัยให้ส่งต่อ ส่งเสริมพัฒนาการ เฝ้าระวังพัฒนาการซ้ำ ส่งเสริมพัฒนาการ ตามวัย สมวัย ไม่สมวัย คู่มือประเมินเพื่อช่วยเหลือเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาพัฒนาการ(TIDA4I) โดยกุมารแพทย์/บุคลากรที่ผ่านการอบรม ประเมินพัฒนาการและวินิจฉัยเพิ่มเติม แก้ไขพัฒนาการโดยโปรแกรมกระตุ้นพัฒนาการ ประมาณ 3 เดือน ส่งเสริมพัฒนาการ ตามวัย ประเมินพัฒนาการซ้ำ สมวัย ไม่สมวัยให้ส่งต่อ ตรวจวินิจฉัย CPG รายโรค
แนวทางการดำเนินงาน การขับเคลื่อนการดำเนินงาน มีโครงสร้างการดำเนินงานระดับจังหวัด/อำเภอ การพัฒนาศักยภาพบุคลากร การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็ก การสื่อสารสังคม/การประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างความตระหนักและให้ความรู้แก่ผู้ดูแล