ทรัพยากรการท่องเที่ยว (TIM 1301) อ.เอกชัย สีทำมา
ปัจจัยภูมิศาสตร์ที่มีผลต่อการท่องเที่ยว ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์ไทย ประเทศไทยจัดอยู่ในเขตภูมิอากาศ แบบร้อนชื้น ทำให้ประเทศไทยมี ฝนตกรวมทั้งปีค่อนข้างมาก
ภูมิศาสตร์ไทย เหนือ อ.แม่สาย จ.เชียงราย ใต้ อ.เบตง จ.ยะลา ตะวันออก อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี ตะวันตก อ.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน
ภูมิศาสตร์ไทย ประเทศเพื่อนบ้าน สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ราชอาณาจักรกัมพูชา มาเลเซีย
ภูมิศาสตร์ไทย การแบ่งภูมิภาคของประเทศไทย ภาคเหนือ 9 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 20 จังหวัด ภาคกลาง 22 จังหวัด ภาคตะวันออก 7 จังหวัด ภาคตะวันตก 5 จังหวัด ภาคใต้ 14 จังหวัด
ภูมิศาสตร์ไทย ฤดูกาล - ฤดูฝน ปกติประเทศไทยมีฤดูฝนเฉลี่ยประมาณ 6 เดือน - ฤดูหนาว อุณหภูมิจะลดลง ทำให้อากาศเย็น เกิดทั่วประเทศ ยกเว้นภาคใต้จะอาจจะมี อุณหภูมิลดลงบ้างแต่จะมีฝนตกตามบริเวณ ชายฝั่ง - ฤดูร้อน จะมีอากาศร้อนอบอ้าว ทำให้เกิดพายุ ฤดูร้อน
ภูมิศาสตร์กับการท่องเที่ยว ภูมิศาสตร์เกี่ยวข้องและมีความสำคัญกับการ ท่องเที่ยวเป็นอย่างมาก เนื่องจากมีปัจจัยหลายๆ อย่างทำให้ดึงดูดนักท่องเที่ยวเดินทางมา ด้านภูมิอากาศ การท่องเที่ยวตามฤดูกาลต่าง ๆ ด้านภูมิประเทศ บริเวณที่มีทิวทัศน์ที่สวยงาม แปลกตา หรือ เหมาะสำหรับทำกิจกรรม มักจะดึงดูดความสนใจ ได้เป็นพิเศษ
ภูมิศาสตร์กับการท่องเที่ยว ด้านภูมิประเทศ เขตท่องเที่ยวที่มีลักษณะภูมิประเทศที่มีลักษณะ สวยงาม
ภูมิศาสตร์กับการท่องเที่ยว ด้านภูมิประเทศ เขตท่องเที่ยวที่มีพืชพรรณ
ภูมิศาสตร์กับการท่องเที่ยว ด้านภูมิประเทศ เขตท่องเที่ยวที่มีลักษณะภูมิประเทศแบบพิเศษ
ภูมิศาสตร์กับการท่องเที่ยว ด้านภูมิประเทศ เขตท่องเที่ยวที่สามารถเล่นกีฬาและจัดกิจกรรม ได้
ภูมิศาสตร์กับการท่องเที่ยว ด้านภูมิประเทศ เขตท่องเที่ยวชายทะเล
ภูมิศาสตร์กับการท่องเที่ยว ด้านภูมิประเทศ เขตท่องเที่ยวที่มีสถานที่พักฟื้น
ภูมิศาสตร์กับการท่องเที่ยว ด้านภูมิประเทศ เขตท่องเที่ยวที่เคยมีเหตุการณ์ทาง ประวัติศาสตร์
ภูมิศาสตร์กับการท่องเที่ยว ด้านภูมิประเทศ เขตท่องเที่ยวตามวิถีชีวิต
ภูมิศาสตร์กับการท่องเที่ยว ด้านภูมิประเทศ เขตท่องเที่ยวที่เกี่ยวกับประเพณี วัฒนธรรม
ภูมิศาสตร์กับการท่องเที่ยว ระยะทางกับการท่องเที่ยว การจัดเส้นทางนำเที่ยวผู้จัดต้องคำนึงถึง ระยะทาง การจัดเส้นทางการท่องเที่ยวที่ เหมาะสม ควรมีลักษณะ ดังนี้ แหล่งท่องเที่ยวอยู่ในเส้นทางต่อเนื่องกัน แหล่งท่องเที่ยวที่มีลักษณะหลากหลาย ไม่ควรใช้ระยะเวลาการเดินทางนานเกินไป
รูปแบบการท่องเที่ยวที่แบ่งตามลักษณะทาง ภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์ วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม กิจกรรม การขนส่ง Urban Tourism Senior Tourism Cultural Tourism Ecoturism Health Tourism Cycling Tourism Rural Tourism Youth Tourism Heritage Tourism Agrotourism Educational Tourism Biker Tourism Marine Tourism Gay/Lesbian Tourism Gastromy Tourism Farm Tourism Sport Tourism Rail Tourism Geotourism Women Tourism Religious Tourism Nature-based Tourism Adventure Tourism Coach Tourism Alpine Tourism Backpacker Tourism Festival Tourism Slow Tourism Cruise Tourise Film Location Tourism Art Tourism Volunteer Tourism Music Tourism Photographic Tourism