งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภูมิศาสตร์ประเทศไทย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภูมิศาสตร์ประเทศไทย."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภูมิศาสตร์ประเทศไทย

2 มี พ.ท 513,115 ตาราง กม อินโนโด ฯ พม่า ไทย

3 รูปร่าง..

4 ร้อน ที่ตั้ง เหนือสุด ที่ละติจุด ที่ 20 องศา 28 ลิปดาเหนือ
ใต้ สุด ที่ ละติจูด 5 องศา 37 ลิปดา เหนือ แสดงว่า ประเทศไทยมีเขต อากาศ ร้อน

5 เหนือสุด ของไทย อยู่ที่ อำเภอแม่สาย จ.เชียงราย
อำเภอแม่สาย จ.เชียงราย  ใต้สุด อยู่ที่ อำเภอเบตง จ.ยะลา ตะวันออกสุด อ. อ.สิรินธร จ. อุบลราชธานี ลองจิจูด 105 องศา 37 ลิปดาตะวันออก ตะวันตกสุด แม่สะเรียง จ. แม่ฮ่องสอน ลองจิจูด 97 องศา 20 ลิปดาตะวันออก ส่วนที่กว้างสุดจากตะวันตกไปตะวันออก โดยวัดจากอำเภอสังขละบุรี จ.กาญจนบุรี ไปยังอ.สิรินธร  อุบลราชธานี

6 พรมแดนธรรมชาติ ประชาธิปไตยประชาชนลาว สหภาพเมียนม่า โดยมีพื้นที่
อ.แม่สาย จ.เชียงราย  ทิศเหนือ –สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว  สหภาพเมียนม่า โดยมีพื้นที่ ชายแดนที่เป็นภูเขา แม่น้ำ และที่ราบแม่น้ำโขง บริเวณรอยต่อสามประเทศ เรียกว่า สามเหลี่ยมทองคำ จะ จ.เชียงราย ผ่าน จ.พะเยา น่าน เลย หนองคาย เทือกเขาแดนลาว เทือกเขาถนนธงชัย เทือกเขาหลวงพระบาง

7 สามเหลี่ยมทองคำ (Golden triangle)
หมายถึงพื้นที่รอยต่อระหว่างสามประเทศ ได้แก่ จังหวัดเชียงราย ประเทศไทย, ประเทศลาว ประเทศพม่า เป็นบริเวณที่ แม่น้ำรวก ไหลมารวมกับ แม่น้ำโขง เรียกว่า สบรวก

8 ด้านตะวันตก -สหภาพพม่า มีชายแดน ติดต่อกับประเทศไทยนับตั้งแต่บริเวณ สามเหลี่ยมทองคำ บ้านสบรวก อ. เชียงแสน จ. เชียงราย ลัดเลาะ ชายแดนที่เป็นภูเขาและแม่น้ำผ่าน จ. เชียงใหม่ ตาก ราชบุรี บริเวณที่เป็น ภูเขา ถนนธงชัย และ ตะนาวศรี จึงใช้ สันปันน้ำเป็นแนวเขต บริเวณที่มีแม่น้ำ (สาละวิน เมย กระบุรี)ไหลใช้ร่องน้ำลึก เป็นแนวเขต อ.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน

9 อุทยานแห่งชาติแม่เงา แม่น้ำเมย

10 ทิศตะวันออก -ราชอาณาจักร กัมพูชา มีชายแดนติดต่อกับประเทศ ไทยนับตั้งแต่ช่องบก(สามเหลี่ยม มรกต) อ. น้ำยืน จ. อุบลราชธานี ผ่าน จ. ศรีสะเกษ สุรินทร์ บริเวณชายแดนตอนล่างของภาคมีทิว เขาพนมดงรักเป็นชายแดน แถบ จ. สระแก้วเป็นที่ราบและคลอง จึงเป็น เส้นทางเดินติดต่ออันสะดวกพื้นที่ แถบนี้เรียกว่า ฉนวนไทย ตอนล่าง จะ มีเทือกเขาบันทัด อ.สิรินธร จ.อุบลฯ

11 พรมแดนธรรมชาติ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ สามเหลี่ยมมรกต ไทย ลาว กัมพูชา

12 พรมแดนธรรมชาติ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ช่องเม็ก อ.สิรินทร จ.อุบลราชธานี

13 ด้านใต้-มาเลเซีย มีชายแดนติดต่อ กับประเทศไทยนับตั้งแต่จังหวัด สตูล สงขลา ยะลา และนราธิวาส มี รั้วคอนกรีตที่ จ. สตูล นอกจากนั้น ใช้ทิวเขาสันกาลาคีรีและแม่น้ำโก- ลก ชายแดนด้านนี้มีเส้นทาง คมนาคมที่ติดต่อกันได้สะดวก ปัญหาชายแดนด้านนี้ เช่น การ ลักลอบขนของหนีภาษี ปัญหาการ ทำประมง และปัญหาความไม่สงบ ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้

14 พรมแดนธรรมชาติ ทิศใต้ แม่น้ำโก-ลก จ.นราธิวาส

15 ทบทวน 1.เหนือสุดของไทยละติจูด ใต้สุดของไทย.ลองจิจูด... 3.ตะวันออกสุดของไทย ลองจิจูด.. 20 องศา 28 ลิปดาเหนือ 5 องศา 37 ลิปดาเหนือ ลองจิจูด 105 องศา 37 ลิปดาตะวันออก

16 แม่น้ำโขง /เทือกเขาพนมดงรัก/ เทือกเขาบันทัด
4.ภูมิอากาศของไทยอยู่ในเขต.... 5.พรมแดนทิศตะวันออก... 6.พรมแดนทิศตะวันตก... 7.ทิศเหนือ ติดกับประเทศ.... 8.ทิศใต้ติดกับประเทศ.... ร้อน แม่น้ำโขง /เทือกเขาพนมดงรัก/ เทือกเขาบันทัด เทือกเขาถนนธงชัย/เทือกเขาตะนาวศรี/แม่น้ำเมย/แม่น้ำกระบุรี พม่า/ลาว มาเลเซีย

17 9. ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดกับ. 10. ทิศตะวันตกคิดกับประเทศ. 11
9.ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดกับ ทิศตะวันตกคิดกับประเทศ ตะวันตกสุดของไทยอยูที่.. 12.ส่วนยาวอยู่ระหว่างจังหวัด...ถึง.... ลาว พม่า อ.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน เชียงราย-ยะลา

18 13. ส่วนกว้างอยู่ระหว่างจังหวัด. ถึง. 14. พรมแดนทิศเหนือ. 15
13.ส่วนกว้างอยู่ระหว่างจังหวัด...ถึง.. 14.พรมแดนทิศเหนือ พรมแดนทิศใต้.... อ.สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี ถึง อ.สิรินทร จ อุบลราชธานี เทือกเขาถนนธงชัย/เทือกเขาแดนลาว... ทิวเขาสันกาลาคีรีและแม่น้ำโก-ลก

19 เทือกเขาแดนลาว ท.อันดามัน เทือกเขาหลวงพระบาง เทือกเขาถนนธงชัย เทือกเขาพนมดงรัก อ่าวไทย ทะเลจีนใต้ เทือกเขาบันทัด เทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาตะนาวศรี

20 ที่ตั้งของไทย จะเป็นผลดี ผลเสียอย่างไร
1.เป็นศูนย์กลางในอาเซียน จึงเป็นประโยชน์ในการค้าขาย ระหว่างกัน แต่อาจประสบปัญหาการลักลอบเข้าเมือง การลักลอบค้ายาเสพติด การค้าแรงงานมนุษย์ 2. ปัญหาในประเทศเพื่อนบ้าน อาจกระทบถึงไทย เช่น ชน กลุ่มน้อยในพม่า

21 ตอนที่ 2

22 การวางตัวของเทือกเขา
ลักษณะภูมิอากาศ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อลักษณะภูมิอากาศของไทย ที่ตั้ง ใกล้-ไกลทะเล การวางตัวของเทือกเขา ลมประจำ ความสูงต่ำ

23 สภาพอากาศ ไทยได้รับอิทธิพลจาก ลมมรสุม 3.ฤดู ฤดูฝน พ.ค-ต.ค
ฤดูฝน พ.ค-ต.ค ฤดูหนาว พ.ย-กพ ฤดูร้อน มี.ค-เม.ษ

24 พายุฟาคะนอง ประเทศไทยตอนบนมีโอกาสเกิดพายุฟาคะนองมากในชวงเดือน เมษายนถึงตุลาคม โดยเฉพาะเดือนเมษายน ถึงพฤษภาคมเปนช วงที่มีโอกาสเกิดพายุฟาคะนองไดมากเนื่องจากสภาพอากาศที่ร อนอบอาว จึงมีการยกตัวขึ้นของ มวลอากาศ และอาจมีมวลอากาศ เย็นจากประเทศจีนแผลง ทำให้เกิดพายุฟาคะนองรุนแรงอาจมีฝน ตกหนักถึงหนักมาก มี ลมกระโชกแรงและอาจมีลูกเห็บตกกอให เกิดความเสียหายได สวนภาคใตเกิดขึ้นไดมากใน ชวง เดือนมีนาคมถึง พฤศจิกายน จะเกิดพายุหมุนเขตร้อน

25 ลมพายุที่เข้าสู่ประเทศไทย
1.พายุไต้ฝุ่น 2.พายุไซโคลน

26  พายุหมุนเขตร้อน เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติ ที่สามารถทำความเสียหาย ได้รุนแรง และเป็นบริเวณกว้างมีลักษณะเด่น คือ มีศูนย์กลางหรือที่เรียกว่า ตาพายุ เป็นบริเวณที่มีลมสงบ อากาศโปร่งใส โดยอาจมีเมฆและฝนบ้าง เล็กน้อยล้อมรอบด้วยพื้นที่บริเวณกว้างรัศมีหลายร้อยกิโลเมตร ซึ่งปรากฏ ฝนตกหนักและพายุลมแรง ลมแรงพัดเวียนเข้าหาศูนย์กลาง ดังนั้น ใน บริเวณที่พายุหมุนเขตร้อนเคลื่อนที่ผ่าน ครั้งแรกจะปรากฏลักษณะอากาศ โปร่งใส เมื่อด้านหน้าของพายุหมุนเขตร้อนมาถึงจะ ปรากฏลมแรง ฝนตก หนักและมีพายุฟ้าคะนอง ลมกระโชกแรงและอาจปรากฏพายุทอร์นา โด ในขณะตาพายุมาถึง อากาศจะโปร่งใสอีกครั้ง และเมื่อด้านหลังของพายุ หมุนมาถึงอากาศจะเลวร้ายลงอีกครั้งและรุนแรงกว่าครั้งแรก

27 ดีเปรสชั่น (Depression) สัญลักษณ์ D ความเร็วสูงสุด 33 นอต (17 เมตร/วินาที) (62 กิโลเมตร/ชั่วโมง) ไม่นับเป็นพายุหมุน พายุเขตร้อน (Tropical Storm) สัญลักษณ์ S ความเร็วสูงสุด นอต (17-32 เมตร/วินาที) ( กิโลเมตร/ชั่วโมง)ไม่นับเป็นพายุหมุน พายุหมุนเขตร้อน ความเร็วสูงสุด นอต (17 เมตร/วินาที) ( กิโลเมตร/ชั่วโมง)

28 การเรียกชื่อ....  ตั้งแต่ปี พ.ศ เป็นต้นมา ได้เกิดระบบการตั้งชื่อพายุเป็นภาษา พื้นเมืองของแต่ละประเทศสมาชิกในแถบมหาสมุทรแปซิฟิกตอนบน และแถบทะเลจีนใต้ 14 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา จีน เกาหลีใต้ ฮ่องกง ญี่ปุ่น มาเลเซีย ไมโครนีเซีย ฟิลิปปินส์ สหรัฐอเมริกา เวียดนาม และ ไทย โดยนำชื่อมาเรียงเป็น 5 สดมภ์ เริ่มจากกัมพูชาจนถึงเวียดนาม ในสดมภ์ที่ 1 เมื่อหมดแล้วให้เริ่มขึ้นสดมภ์ที่ 2 ถึง 5 แล้วจึงเวียนมา เริ่มที่สดมภ์ 1 อีกครั้ง จนกว่าจะมีการกำหนดชื่อพายุครั้งใหม่อีก

29 ประวัติพายุที่เข้าสู่ประเทศไทย....
พายุเขตร้อน “แฮร์เรียต” (Harriet) เคลื่อนตัวขึ้นฝั่งที่บริเวณแหลมตะลุมพุก อำเภอปากพนัง จังหวัด นครศรีธรรมราช เมื่อ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2505 ก่อให้เกิดความ เสียหายต่อภาคใต้เป็นอย่างมาก ตั้งแต่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ลง ไปถึงจังหวัดนราธิวาส รวม 12 จังหวัด มีผู้เสียชีวิต 935 คน บ้านเรือนพังทลายกว่า ,000 หลัง ไร่นาเสียหายนับแสนไร่ รวมค่าเสียหายกว่า 1,000 ล้านบาท

30 พายุไต้ฝุ่น “เกย์” (Gay)   ก่อตัวจากพายุดีเปรสชันในบริเวณอ่าว ไทยตอนล่าง ทางทิศตะวันออกของ จังหวัดสงขลา เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ และได้พัฒนาขึ้น จนกลายเป็น พายุไต้ฝุ่นขณะเคลื่อนตัวขึ้นฝั่งบริเวณ จังหวัดชุมพร ทำความเสียหายอย่างมาก ต่อชีวิตและทรัพย์สิน เกิดฝนตกหนัก น้ำ ท่วม โคลนถล่ม ทั้งในจังหวัดชุมพรและ จังหวัดใกล้เคียง นอกจากนี้ยังมีเรือล่มอับปางลงในอ่าวไทยนับร้อยลำ เนื่องจากลมพายุที่มีกำลังแรง จึงมีผู้เสียชีวิตในทะเลอีกหลายร้อยคน

31 การเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง-พายุหมุนเขตร้อน
wteM

32 การป้องกันตัวเมื่อเกิดพายุ
-XnhE


ดาวน์โหลด ppt ภูมิศาสตร์ประเทศไทย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google