บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
FIX COMMON PC PROBLEMS By Missis Jatuporn Surinseng Missis Chamaiporn Sommit.
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
และสร้างเว็บไซต์ประเภทCMS
กระบวนการของการอธิบาย
การใช้งาน Microsoft Excel
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
Intro Excel 2010 ข้อมูลจาก... ellession1.htm.
การใช้งาน Microsoft Word กลุ่ม 2T_PUK. โปรแกรม Microsoft Word เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปที่เหมาะกับ งานพิมพ์ต่าง ๆ แทนเครื่องพิมพ์ดีดในสมัยก่อน ที่เวลาแก้ไข.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
INTRODUCE SUBJECT สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
คำสั่งควบคุมการทำงาน
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
นางสาวอมลวรรณ วัชรัตน์ศิริยุทธ B04
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
ครูวีรธรรม เทศประสิทธิ์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
(Polymorphic Viruses)
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
เรียนรู้การใช้งานโปรแกรม เพื่อจำลองระบบไมโครคอนโทรลเลอร์
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
เซต (SET) ประวัติย่อของวิชาเซต ความหมายของเซต การเขียนแทนเซต
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ใน Word 5 วิธีใหม่ๆ ในการทำงาน ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้จากทุกที่
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
Object-Oriented Programming Paradigm
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
การขอรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงาน ตามมาตรา 26
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
รูปนิสิต บทคัดย่อ ผลการทดลอง วัตถุประสงค์ วิธีการที่นำเสนอ บทนำ
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Computer Programming 3204-2007 เรียบเรียงโดย โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์ บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด

บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นและฝึกเขียนโปรแกรมอย่างง่ายด้วยภาษาซี บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นและฝึกเขียนโปรแกรมอย่างง่ายด้วยภาษาซี สาระการเรียนรู้ 1. ภาษาคอมพิวเตอร์ 2. การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์กับข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น 3. ประวัติโดยย่อของภาษาซี 4. คุณสมบัติของภาษาซี 5. โครงสร้างของภาษาซี 6. กฎเกณฑ์การเขียนโปรแกรมภาษาซี 7. การติดตั้งโปรแกรมภาษาซี

ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานในปัจจุบันเป็นภาษาระดับสูง มีความใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ คือ ชุกคำสั่งส่วนใหญ่ใช้งานคล้ายกับประโยคภาษาอังกฤษ แต่ถึงจะเป็นภาษาระดับสูงที่ช่วยให้สามารถเขียนโปรแกรมชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้สะดวก แต่ก็ต้องมีขั้นตอนของการแปลชุดคำสั่งภาษาระดับสูงเหล่านั้นเป็นภาษาเครื่องคอมพิวเตอร์ เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์จะรับรู้เพียงภาษาเครื่องเท่านั้น ซึ่งในภาษาซีใช้ชุดตัวแปลคำสั่งที่เรียกว่าคอมไพเลอร์ ซึ่งเป็นตัวแปรชนิดแบบแปลทั้งโปรแกรม หากโปรแกรมที่เขียนมีข้อผิดพลาดต้องทำการแก้ไขให้ถูกเสียก่อนจึงสามารถใช้งานได้ โดยภาษาซีจัดเป็นภาษาระดับกลาง อยู่ระหว่างภาษาระดับต่ำ และภาษาระดับสูง จึงทำให้ภาษาซีสามารถเขียนได้ด้วยภาษาระดับสูง แต่ทำงานได้รวดเร็วเช่นเดียวกับภาษาระดับต่ำ

การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์กับข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น ตามปกติข้อผิดพลาดจากการเขียนโปรแกรมมีอยู่สองชนิด คือ 1. ข้อผิดพลาดจากการใช้ไวยากรณ์ไม่ถูกต้อง มักเกิดจากการเขียนคำสั่งหรือชุดคำสั่งที่ผิดหลักตามหลักไวยากรณ์ ซึ่งเป็นข้อผิดพลาดที่เกิดจากโปรแกรมเมอร์ อย่างไรก็ตามข้อผิดพลาดที่เกิดจากการใช้ไวยากรณ์นั้น คอมไพเลอร์จะสามารถตรวจสอบได้และแสดงข้อผิดพลาดจากการใช้คำสั่งที่ไม่ถูกต้อง 2. ข้อผิดพลาดจากการทำงานของโปรแกรม เป็นสิ่งที่ตรวจสอบยาก เพราะคอมไพเลอร์ไม่สามารถตรวจสอบพบได้ เพราไม่ใช่ข้อผิดพลาดจากไวยากรณ์ เป็นข้อผิดพลาดโดยตรงจากโปรแกรมเมอร์ที่ขาดความรอบคอบ เช่น สูตรการคำนวณเพื่อให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์แทนที่จะได้ผลลัพธ์ออกมาได้อย่างถูกต้อง แต่กลับได้ผลลัพธ์ที่ไม่ตรงกับความจริง ดังนั้นโปรแกรมเมอร์ก็จะต้องปรับปรุงสูตรการคำนวณเพื่อให้ทำการคำนวณให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์ที่ถูกต้อง

ประวัติโดยย่อของภาษาซี ภาษาซีพัฒนาโดยเดนนิส ริชชี ซึ่งทำงานอยู่ห้องปฏิบัติการเบลล์ รัฐนิวเจอร์ซี ประเทศสหรัฐอเมริกา ในช่วงเริ่มต้นภาษาซีได้มีการกำหนดเป็นมาตรฐานระบบปิดที่เกิดจากคณะกลุ่มคนที่สนใจร่วมกันสร้างเป็นมาตรฐานขึ้นมา และต่อมาทางสถาบัน ANIS ได้มีการนำภาษาซีมาประกาศใช้ให้เป็นมาตรฐานสากลที่รองรับโดย ANIS โดยใช้ชื่อว่า ANIS C ปัจจุบันภาษาซีได้มีการนำไปปรับปรุงเป็นเวอร์ชันต่าง ๆ มากมาย ซึ่งส่งผลให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น เช่น C++, C#, Borland-C เป็นต้น ที่สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิง OOP แต่อย่างไรก็ตามมาตรฐานชุดคำสั่งของภาษาซีส่วนใหญ่มักใช้งานร่วมกันได้ทั้งหมด อาจมีการปรับปรุงชุดคำสั่งต่าง ๆ เพียงเล็กน้อย

คุณสมบัติของภาษาซี 1. เป็นภาษาที่มีโครงสร้างดี ในปัจจุบันจึงมักนำภาษาซีเป็นภาษาที่ใช้สำหรับผู้เริ่มต้นหัดเขียนโปรแกรม 2. เป็นภาษาที่ไม่ขึ้นกับแพลตฟอร์ม 3. คอมไพเลอร์ของภาษาซีมีประสิทธิภาพสูง และทำงานได้อย่างรวดเร็ว 4. ภาษาซีมีความใกล้เคียงกับภาษาระดับสูง แต่มีความรวดเร็วในการทำงานเทียบเท่ากับภาษาระดับต่ำ 5. มีความยืดหยุ่นสูง สามารถนำไปใช้งานบนคอมพิวเตอร์หลายระดับได้ 6. สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ

โครงสร้างของภาษาซี 1. ฟังก์ชันหลัก เป็นจุดเริ่มต้นของโปรแกรม และทุกโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาซีจะต้องมีฟังก์ชันหลัก โดยจะมีเพียงฟังก์ชันเดียวเท่านั้นที่ทำหน้าที่เป็นฟังก์ชันหลัก main 2. ส่วนประกาศตัวแปร เป็นการประกาศตัวแปรหรือค่าคงที่ต่าง ๆ เพื่อแจ้งให้คอมไพเลอร์รับทราบว่า ในโปรแกรมมีการใช้ตัวแปรอะไรที่ประกาศไว้บ้าง 3. ส่วนประโยคคำสั่ง ประโยคคำสั่ง หมายถึง ประโยคชุดคำสั่งต่าง ๆ รวมถึงนิพจน์ทางคณิตศาสตร์ ซึ่งจะต้องลงท้ายจบด้วยเครื่องหมาย ; เสมอ พรีโปรเซสเซอร์ไดเร็กทีฟ หรือตัวประมวลผลก่อน จะต้องขึ้นต้นด้วยสัญลักษณ์ # แล้วตามด้วยคำสั่งไดเร็กทีฟที่ต้องการ เช่น #include <stdio.h> โดย “stdio.h” คือเฮดเดอร์ไฟล์หรือไลบรารีที่ต้องการเรียกขึ้นมาใช้งาน เช่น หากต้องการใช้งานฟังก์ชัน printf () หรือ scanf () ก็จะต้องเรียกใช้งานเฮดเดอร์ไฟล์ดังกล่าว เพราะฟังก์ชันทั้งสองจะถูกบรรจุอยู่ในไฟล์ stdio.h ใน Turbo C++ ที่ทำงานบนระบบปฏิบัติการดอสนั้น จะทำการจัดเก็บไฟล์ไลบรารีเหล่านี้ไว้ที่ C:\TC\INCLUDE

กฎเกณฑ์การเขียนโปรแกรมภาษาซี 1. ต้องกำหนดส่วนตัวประมวลผลก่อน 2. ตัวแปรที่ต้องใช้งาน จะต้องมีการประกาศไว้เสมอ และต้องกำหนดชนิดของตัวแปรแต่ละประเภทให้ถูกต้อง 3. ต้องมีฟังก์ชันหลักชื่อ main () เสมอ 4. ใช้เครื่องหมายปีกกา {} เป็นตัวขอบเขตบล็อกของชุดคำสั่ง 5. สิ้นสุดประโยคคำสั่งต้องลงท้ายจบประโยคด้วยเครื่องหมาย ; 6. ใช้ตัวอักษรเล็กในการเขียนโปรแกรม 7. ใช้เครื่องหมาย , เป็นตัวคั่นระหว่างตัวแปรหรือพารามิเตอร์ต่าง ๆ 8. ในการระบุหมายเหตุในโปรแกรมต้องอยู่ภายในเครื่องหมาย /* */

การติดตั้งโปรแกรมภาษาซีและช็อตคัท 1. ไปที่ Explorer เลือกไดร์ฟที่เก็บโปรแกรม INSTALL และทำการดับเบิ้ลคลิกที่ไอคอน INSTALL 2. โปรแกรมติดตั้งจะทำการคลายไฟล์ที่ Zip ไว้เพื่อเก็บไว้บนไดเร็กทอรีที่ต้องการ 3. ในไดร์ฟ C ก็จะได้พบโฟล์เดอร์ TC และ TCTEMP 4. แสดงการเรียกโปรแกรม Turbo C บน Command Line 5.คลิกที่ปุ่ม Start >Settings>Taskbar&Start Menu… 6. คลิกที่แท็ป Advanced 7. คลิกปุ่ม Add… 8. คลิกปุ่ม Browse เพื่อหาตำแหน่งที่อยู่ของโปรแกรม 9. คลิกที่ตำแหน่งไดร์ฟ C แล้วตามด้วยปุ่ม OK

การติดตั้งโปรแกรมภาษาซีและช็อตคัท (ต่อ) 10. คลิกที่โฟล์เดอร์ TC แล้วตามด้วยปุ่ม OK 11. คลิกที่โฟล์เดอร์ BIN แล้วตามด้วยปุ่ม OK 12. ค้นหาไฟล์ชื่อ TC.EXE และทำการคลอกที่ไฟล์ TC.EXE แล้วตามด้วยปุ่ม OK 13. หลังจากนั้นก็จะได้ตำแหน่งที่แสดง แล้วให้คลิกปุ่ม NEXT > 14. เราต้องการให้ช็อตคัตของ Turbo C เก็บไว้ที่โฟล์เดอร์ Programs จากนั้นคลิก Next> 15. ชื่อช็อตคัต Turbo C++ IDE ก็จะปรากฏ จากนั้นคลิกปุ่ม Finish 16. สุดท้ายจะได้ช็อตคัต Turbo C ที่อยู่ในเมนู Programs ซึ่งสามารถคลิกใช้งานได้ทันที