แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561 แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561 กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด 20 ธันวาคม 2560
CA DPAC SERVIC PLAN โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง บุหรี่ สุรา อุบัติเหตุ กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด SERVIC PLAN โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง DM HT CKD STROKE MI/STEMI COPD ASTMA นิ่ว DPAC CA ทีมงาน 10 คน (จนท. 6 คน/ พกส 3 คน/ ลูกจ้าง 1คน) OSCC อุบัติเหตุ RTI EMS จมน้ำ ยาเสพติด บุหรี่ สุรา ผู้พิการ TO BE NUMBER ONE สุขภาพจิต
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด นางสาวสุธัชสรา ปิ่นลออ 1. โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ DM HT CKD STROKE MI/STEMI COPD ASTMA นิ่ว หัวใจพิการแต่กำเนิด นางมะลิ สุปัตติ 2. มะเร็ง ได้แก่ มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม มะเร็งตับ/มะเร็งท่อน้ำดี มะเร็งลำไส้ มะเร็งปอด มะเร็งอื่น ๆ นางฐิติมา เสนาะ นางสาวสุธัชสรา ปิ่นลออ 3. DAPC องค์กรไร้พุง นายกิตติพงษ์ ระหาร ตัวชี้วัดคำรับรองฯ (PA) ปี 2560 เชื่อมโยงมาจากนโยบาย P&P Excellence แผนงานที่ 2 จำนวน 5 ตัวชี้วัด และนโยบาย Service Excellence แผนงานที่ 6 จำนวน 1 ตัวชี้วัด รวมทั้งหมด 6 ตัวชี้วัด PA กรมควบคุมโรค 6 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง เป้าหมายร้อยละ 80 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ เป้าหมายร้อยละ 85 ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) เป้าหมายร้อยละ 80 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) เป้าหมายมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน เป้าหมายไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน ** กรมควบคุมโรคใช้ Proxy Kpi: จำนวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนในอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI เป้าหมายลดลงอย่างน้อย 5% อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่เป้าหมายอัตราเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่ลดลงร้อยละ 0.25 4. ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน 5. การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน นางนงคราญไชยวัฒน์ นางสาววะนิดา เปรมทา 6. การป้องกันการจมน้ำ
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด 7. งานสุขภาพจิต -งานสุขภาพจิตในเด็ก -งานสุขภาพจิตในผู้ใหญ่ นางจันทราทร พละศักดิ์ 8. งานพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการ นางบุญช่วย ชมบุตรศรี 9. งานป้องกันควบคุมบุหรี่ สุรา 10. งาน OSCC 11. งานป้องกัน บำบัด รักษา ฟื้นฟู ยาเสพติด ตัวชี้วัดคำรับรองฯ (PA) ปี 2560 เชื่อมโยงมาจากนโยบาย P&P Excellence แผนงานที่ 2 จำนวน 5 ตัวชี้วัด และนโยบาย Service Excellence แผนงานที่ 6 จำนวน 1 ตัวชี้วัด รวมทั้งหมด 6 ตัวชี้วัด PA กรมควบคุมโรค 6 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง เป้าหมายร้อยละ 80 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ เป้าหมายร้อยละ 85 ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) เป้าหมายร้อยละ 80 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) เป้าหมายมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน เป้าหมายไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน ** กรมควบคุมโรคใช้ Proxy Kpi: จำนวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนในอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI เป้าหมายลดลงอย่างน้อย 5% อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่เป้าหมายอัตราเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่ลดลงร้อยละ 0.25 นางจุฑารัศม์ กิ่งมณี 12. TO BE NUMBER ONE นางวนิดา สมภูงา และทีม 13. งาน SERVIC PLAN
5. แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561 ประเด็นนำเสนอ 1. KPI ปีงบประมาณ 2561 2. PA ปีงบประมาณ 2561 3. QOF ปีงบประมาณ 2561 4. สรุปผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560 5. แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
KPI ปีงบประมาณ 2561
KPI ปี 2561 1.เด็กไทยมีสติปัญญาไม่ต่ำกว่าร้อยละ 100 (ปี 2564 ประเมินทุก 5 ปี) ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 100 3. ร้อยละของเด็กไทยมีความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) อยู่ในเกณฑ์ปกติ ร้อยละ 70 (สำรวจทุก 5 ปี) 4.ร้อยละของประชาชนวัยทำงานมีค่าดัชนีมวลกายปกติ ร้อยละ 55 5.อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ต่ำกว่า 4.5 ต่อแสนประชากร 2.เด็กกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามกระตุ้นพัฒนาการและดูแลต่อเนื่องด้วยเครือ่องมือมาตรฐาน ร้อยละ 60
KPI ปี 2561 7.อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ไม่เกินร้อยละ 2.40 8.อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง หรือสงสัยความดัน โลหิตสูงในพื้นที่รับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตสูงที่บ้าน ≥ ร้อยละ 10 6. อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนนไม่เกิน 16/แสนประชากร 9. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่สามารถควบคุมได้ มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 40
KPI ปี 2561 10.ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่สามารถควบคุมได้ มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 50 11. ร้อยละผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยง ต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 82.5 12. อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง น้อยกว่าร้อยละ 7 13. ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 55
KPI ปี 2561 14. ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต ≥ ร้อยละ 55 15. อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ≤ 6.3/แสนประชากร 16. ร้อยละโรงพยาบาลตั้งแต่ระดับ F 2 สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด (Fibrinolytic drug) ในผู้ป่วย Stemi ได้ ร้อยละ 100 17. อัตราตายผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ 27/แสนประชากร
KPI ปี 2561 18. ร้อยละของประชากรอายุ 30-60 ปี ได้รับการคัดกรองเพื่อค้นหา โรคมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 80 (สะสมตั้งแต่ปี 2558-2561) 19. ร้อยละของประชากรอายุ 30-70 ปี ได้รับการคัดกรองเพื่อค้นหา โรคมะเร็งเต้านม ร้อยละ 90 20. ร้อยละของประชากรอายุ 40 ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรองเพื่อค้นหา โรคมะเร็งตับมะเร็งท่อน้ำดี ร้อยละ 100 (โครงการพระราชดำริ) 21. ร้อยละของประชากรอายุ 50-70 ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรองเพื่อค้นหา โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ ร้อยละ 80
KPI ปี 2561 25. อัตราตายจากมะเร็งปอด18/แสนประชากร 22. ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ที่ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัด ภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์≥ ร้อยละ 85 23. ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ที่ได้รับการรักษาด้วย เคมีบำบัด ภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์≥ ร้อยละ 85 24. ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ที่ได้รับการรักษาด้วย รังสีบำบัด ภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์≥ ร้อยละ 85 25. อัตราตายจากมะเร็งปอด18/แสนประชากร
KPI ปี 2561 26. ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลง ของeGFR< 4 ml/min/1.73m2/yr ≥ ร้อยละ 66 27. อัตราคงอยู่ (Retention Rate) วัด 2 ระยะ 29.1 ร้อยละ 50 อยู่ในบวนการการบำบัดรักษา (ทุกระบบ) 29.2 ร้อยละ 20 อยู่ในกระบวนการติดตาม 28. ร้อยละ 90 ของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษา ตามเกณฑ์ 29. มีการดำเนินงานตามมาตรการ HARM REDUCTION การลดอันตรายจากสารเสพติด ในสถานบริการสาธารณสุข ร้อยละ 90 30. มีการพัฒนารูปแบบการบำบัดในชุมชน (Community Based Therapy) พชอ. อำเภอละ 1 แห่ง 31. สถานพยาบาล สถานฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดทุกระบบ ได้รับการพัฒนาและรับรองคุณภาพ (HA ยาเสพติด) ร้อยละ 80
KPI ปี 2561 32.ร้อยละของโรงพยาบาล F2 ขึ้นไป ที่มีระบบESC คุณภาพ (Emergency Care System)ร้อยละ 70 33.ร้อยละ ER คุณภาพในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป ร้อยละ 70 34.ร้อยละ EMS คุณภาพในโรงพยาบาลทุกระดับร้อยละ 70 35.อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ (Trauma)< ร้อยละ 1 36.ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ปี 2560 จำนวน 15,000 ครั้ง
38. รพ.มีระบบงานศูนย์พึ่งได้ที่ชัดเจน ร้อยละ 80 KPI 2561 OSCC 37. ระบบการรายงานข้อมูลทัน/ครบถ้วน ร้อยละ 80 38. รพ.มีระบบงานศูนย์พึ่งได้ที่ชัดเจน ร้อยละ 80 39. การดูแลช่วยเหลือ/ประสานงานส่งต่อ Case สำเร็จ,ไม่มีปัญหา ร้อยละ 90
KPI 2561 ผู้พิการ 40. ผู้พิการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 41. คนพิการ/ผู้เสี่ยงต่อความพิการได้รับบริการค้นหา และส่งต่อเขาสู่ระบบบริการด้านสุขภาพ+อุปกรณ์ เครื่องช่วย ร้อยละ 100 42. ผู้พิการอย่างน้อยร้อยละ 60 มีสภาวะสุขภาพที่ดี 43. โรงพยาบาลระดับ M และ F ร้อยละ 10 มีบริการ Intermediate care
KPI 2561 งานบุหรี่สุรา 44.อัตราการสูบบุหรี่ปัจจุบันของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป(โดยรวม)ร้อยละ 17.5 45.อัตราการสูบบุหรี่ในกลุ่มวัยรุ่นอายุ 15-18 ปี ไม่เกินร้อยละ 9 46.ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มวัยรุ่น จากผลการเฝ้าระวัง พฤติกรรมเสี่ยง (BSS) ไม่เกินร้อยละ 42.4 47.โรงพยาบาลมีการให้บริการช่วยเลิกบุหรี่ - รพ. ทุกแห่ง (ร้อยละ) - รพ.สต. อย่างน้อย ร้อยละ 50 48.โรงเรียนร่วมดำเนินงานโรงเรียนปลอดบุหรี่(ตามเกณฑ์ต้นแบบ) - ระดับมัธยม (ทุกสังกัด) ร้อยละ 80 - ระดับประถมศึกษาอย่างน้อย ร้อยละ 10 49.สถานที่ราชการดำเนินการตามกฎหมาย อย่างน้อย ร้อยละ 80 50.สถานที่สาธารณะดำเนินการตามกฎหมาย อย่างน้อยร้อยละ 50 51.สถานประกอบการ ร้านค้า ร้านอาหารปฏิบัติตามกฎหมาย อย่างน้อยร้อยละ 50
KPI 2561 งานบุหรี่สุรา 44.อัตราการสูบบุหรี่ปัจจุบันของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป(โดยรวม)ร้อยละ 17.5 45.อัตราการสูบบุหรี่ในกลุ่มวัยรุ่นอายุ 15-18 ปี ไม่เกินร้อยละ 9 46.ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มวัยรุ่น จากผลการเฝ้าระวัง พฤติกรรมเสี่ยง (BSS) ไม่เกินร้อยละ 42.4 47.โรงพยาบาลมีการให้บริการช่วยเลิกบุหรี่ - รพ. ทุกแห่ง (ร้อยละ) - รพ.สต. อย่างน้อย ร้อยละ 50 48.โรงเรียนร่วมดำเนินงานโรงเรียนปลอดบุหรี่(ตามเกณฑ์ต้นแบบ) - ระดับมัธยม (ทุกสังกัด) ร้อยละ 80 - ระดับประถมศึกษาอย่างน้อย ร้อยละ 10 49.สถานที่ราชการดำเนินการตามกฎหมาย อย่างน้อย ร้อยละ 80 50.สถานที่สาธารณะดำเนินการตามกฎหมาย อย่างน้อยร้อยละ 50 51.สถานประกอบการ ร้านค้า ร้านอาหารปฏิบัติตามกฎหมาย อย่างน้อยร้อยละ 50
KPI 2561 TO BE NUMBER ONE 52. ร้อยละ 80 ของโรงเรียนมีชมรม TO BE NUMBER ONE 53. ร้อยละ 80 ของโรงเรียนมีศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE 54. ร้อยละ 80 ของสถานประกอบการมีชมรม TO BE NUMBER ONE 55. ร้อยละ 80 ของสถานประกอบการมีศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE 56. ร้อยละ 80 ของหมู่บ้าน/ชุมชนมีชมรม TO BE NUMBER ONE 57. ร้อยละ 80 ของหมู่บ้าน/ชุมชนมีศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE
PA ปีงบประมาณ 2561
Performance Agreement : PA กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด 12 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ตัวชี้วัดคำรับรองฯ (PA) ปี 2560 เชื่อมโยงมาจากนโยบาย P&P Excellence แผนงานที่ 2 จำนวน 5 ตัวชี้วัด และนโยบาย Service Excellence แผนงานที่ 6 จำนวน 1 ตัวชี้วัด รวมทั้งหมด 6 ตัวชี้วัด PA กรมควบคุมโรค 6 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง เป้าหมายร้อยละ 80 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ เป้าหมายร้อยละ 85 ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) เป้าหมายร้อยละ 80 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) เป้าหมายมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน เป้าหมายไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน ** กรมควบคุมโรคใช้ Proxy Kpi: จำนวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนในอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI เป้าหมายลดลงอย่างน้อย 5% อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่เป้าหมายอัตราเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่ลดลงร้อยละ 0.25
Performance Agreement : PA กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด 12 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดคำรับรองฯ (PA) ปี 2560 เชื่อมโยงมาจากนโยบาย P&P Excellence แผนงานที่ 2 จำนวน 5 ตัวชี้วัด และนโยบาย Service Excellence แผนงานที่ 6 จำนวน 1 ตัวชี้วัด รวมทั้งหมด 6 ตัวชี้วัด PA กรมควบคุมโรค 6 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง เป้าหมายร้อยละ 80 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ เป้าหมายร้อยละ 85 ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) เป้าหมายร้อยละ 80 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) เป้าหมายมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน เป้าหมายไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน ** กรมควบคุมโรคใช้ Proxy Kpi: จำนวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนในอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI เป้าหมายลดลงอย่างน้อย 5% อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่เป้าหมายอัตราเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่ลดลงร้อยละ 0.25
QOF ปีงบประมาณ 2561
แนวทางการดำเนินงานตามงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปีงบประมาณ 2561 สำนักงานหลักประกันสุขภาพกำหนดให้ มีการดำเนินงานตามงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ในปี 2561 1. งบประมาณในการดำเนินงาน OP_ งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ 9 บ/ปชก. UC PP_ งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ 9 บ/ปชก.ทุกสิทธิ งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ 2 บ/ปชก. UC รวม 20 บาท
2. กรอบในการจัดสรร จ่าย Global budget ระดับเขต จ่ายลง CUP ครั้งเดียว ภายในเดือนสิงหาคม 2561 ตามคุณภาพผลงาน บริการที่เกิดขึ้นจริงเฉพาะหน่วยบริการที่ผ่านเกินเป้าหมายตามแนวทาง ที่สปสช.กำหนด สปสช.เขต กำหนด แนวทางการจัดสรรงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงาน บริการ ซึ่งประกอบด้วย ค่าเป้าหมาย น้ำหนักคะแนน เกณฑ์การให้ คะแนนของตัวชี้วัดคุณภาพผลงานบริการ และสัดส่วนงบประมาณ ที่จะจัดสรรให้หน่วยบริการ โดยอาศัยกลไกการมีส่วนร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง และผ่านความเห็นชอบของ อปสข. กรณีที่งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพฯ เหลือจาก Global budget ระดับเขต ของแต่ละสปสช.เขต กำหนดจ่ายให้หน่วยบริการประจำตามจำนวนผู้ ลงทะเบียนสิทธิ โดยผ่านความเห็นชอบจาก อปสข.
3. ระยะเวลา 1. ใช้ข้อมูลจากสปสช. (OP-PP individual, OP e-claim,IP e-claim)และสามารถใช้ข้อมูล จาก Health Data Center ร่วมด้วย 2. ข้อมูลบริการ -ไตรมาส 3,4 ปีงบประมาณ 2560 -และไตรมาส 1,2 ปีงบประมาณ 2561
ตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพปี 2561 scale การให้คะแนน (คะแนนเต็ม5) 4. ตัวชี้วัดในการดำเนินงาน (ตัวชี้วัดกลาง) ที่ ตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพปี 2561 scale การให้คะแนน (คะแนนเต็ม5) 1 2 3 4 5 ร้อยละของประชากรไทยอายุ 35-74 ปี ได้รับการคัดกรองเบาหวาน โดยการตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด น้อยกว่า 60.00 % ร้อยละ 60.00-64.99 ร้อยละ 65.00-69.99 ร้อยละ 70.00-74.99 ร้อยละ 75.00-79.99 >= 80.00 % ร้อยละของประชากรไทยอายุ 35-74ปี ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์น้อยกว่าหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอก_ Acute Diarrhea (AD) มากกว่า 20.00 % ร้อยละ 19.01-20.00 ร้อยละ 18.01-19.00 ร้อยละ 17.01-18.00 ร้อยละ 16.01-17.00 <= 16.00 %
4. ตัวชี้วัดในการดำเนินงาน (ตัวชี้วัดกลาง) ที่ ตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพปี 2561 scale การให้คะแนน (คะแนนเต็ม5) 1 2 3 4 5 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอก_Respiratory Infection (RI) > 20.00 % ร้อยละ 19.01-20.00 ร้อยละ 18.01-19.00 ร้อยละ 17.01-18.00 ร้อยละ 16.01-17.00 <= 16.00 % 6 ร้อยละการลดลงของอัตราการนอนโรงพยาบาลด้วยภาวะที่ควรควบคุมด้วยบริการผู้ป่วยนอก (ACSC) น้อยกว่า 10.00 % ร้อยละ 10.00-10.99 ร้อยละ 11.00-11.99 ร้อยละ 12.00-12.99 ร้อยละ 13.00-13.99 >= 14.00 % 7 ร้อยละสะสมความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรี 30-60 ปี ภายใน 5 ปี น้อยกว่า 80.00 % ร้อยละ 80.00-80.99 ร้อยละ 81.00-81.99 ร้อยละ 82.00-82.99 ร้อยละ 83.00-83.99 >= 84.00 %
ตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพปี 2561 scale การให้คะแนน (คะแนนเต็ม5) 4. ตัวชี้วัดในการดำเนินงาน (ตัวชี้วัดในพื้นที่ 2 ตัวชี้วัด) ที่ ตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพปี 2561 scale การให้คะแนน (คะแนนเต็ม5) 1 2 3 4 5 8 อัตราผู้ป่วยเบาหวานที่สามารถควบคุมน้ำตาลได้ดี น้อยกว่า 30.00 % ร้อยละ 30.00-30.99 ร้อยละ 31.00-31.99 ร้อยละ 32.00-32.99 ร้อยละ 33.00-33.99 >= 34.00 % 9 อัตราผู้เป็นความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี น้อยกว่า 40.00 % ร้อยละ 40.00-41.99 ร้อยละ 42.00-43.99 ร้อยละ 44.00-45.99 ร้อยละ 46.00-47.99 >=48.00 %
สรุปผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560 สรุปผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
งานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (DM HT) สถานการณ์ 1.ผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 2.ผู้ป่วยควบคุมโรคได้น้อย 3.ผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อน เพิ่มมากขึ้น ผลการดำเนินงาน 1.การคัดกรองเบาหวาน ร้อยละ 83.32 X 2.การคัดกรองความดันหิตสูง ร้อยละ83.59 X 3.อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง ร้อยละ1.38 √ 4.ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลได้ 30.47 X 5.ผู้ป่วยความดันหิตสูงควบคุมระดับความดันได้48.58 X 6.ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจตา ร้อยละ 41.95 X การดำเนินงานปี 2560 1.ค้นหาผู้ป่วย 2.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง 3.คัดกรองภาวะแทรกซ้อน ปัญหาในปี 2560 1.ความครอบคลุมการคัดกรองความเสี่ยงภาวะเบาหวาน ความดัน ยังต่ำ 2.การควบคุมระดับน้ำตาล ความดันโลหิตยังไม่ได้ตามเกณฑ์ ผลงานเด่น 1. อำเภออุทุมพรพิสัย ผ่านการประเมิน NCD Clinic NCD Plus ระดับประเทศ 2.รพ.สต.คูซอด ได้รับรางวัล กพร. เรื่องปิงปองจราจรชีวิต 7 สี ระดับประเทศ แผนงาน ปี 2561 1.จัดทำแนวทาง ทบทวน CPG และกำหนดระยะเวลา การคัดกรองในไตรมาสที่2 2.พัฒนาระบบการจัดบันทึก การจัดเก็บข้อมูล 3.พัฒนาระบบ DPAC ในสถานบริการ 4.ขยายเครือข่าย NCD Clinic Plus 5.ติดตามการจัดการรายกรณี โดยใช้ MI
งานป้องกันควบคุมโรค Stroke MI ไตวายเรื้อรัง COPD ผลการดำเนินงาน 1. การคัดกรองความเสี่ยง CVD 84.91 √ 2.อัตราตายโรคหลอดเลือดสมอง 5.30 √ 3.อัตราตายโรคหลอดเลือดหัวใจ 19.45 √ 4.อัตราการให้ยาละลายลิ่มเลือดใน Stroke ร้อยละ 100 √ 5.อัตราการให้ ยาละลายลิ่มเลือดใน Stemi ร้อยละ 100 √ 6.การคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต 34.46 X 7.การลดลงของระดับ eGfR 62.62 X 8.ระยะเวลารอคอบ HD 30 วัน X 9.ระยะเวลารอคอย CAPD 0 วัน √ 10.อัตราการกำเริบเฉียบพลัน ใน COPD 664.15 ต่อแสนประชากร X การดำเนินงานปี 2560 1.จัดทำคลินิกบริการ Stroke MI CKD COPD 2.พยาบาลรายกรณี 3.พัฒนาบุคลากร 4.นิเทศงานติดตาม ปัญหาในปี 2560 1.การบูรณาการของทีมสหวิชาชีพ 2.เครื่องมือในการตรวจ ABI, Spirometer,CT ยังน้อย 3. ความครอบคลุมการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางไตยังต่ำ ผลงานเด่น -Unit Stroke รพ.ศรีสะเกษ ผ่านการประเมิน แผนงาน ปี 2561 1.ทบทวน CPG ตาม Service Plan หัวใจ ไต COPD 2.พัฒนาศักยภาพบุคากรในการบริการตามมาตรฐาน 3.พัฒนาระบบบริการให้ได้มาตรฐาน และระบบ Fast tract, Unit stroke , warfarin, PAD, CKD, COPD Clinic 4. เฝ้าระวังความเสี่ยงต่อการเกิดโรค ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
งานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมวัยทำงาน สภาพปัญหา 1.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพิ่มมากขึ้น 2. กิจกรรมทางกายลดลง ผลการดำเนินงาน 1.ความครอบคลุมการวัดรอบเอววัยทำงาน ร้อยละ 60.39 X 2.ปชช. 15 ปีขึ้นไปรอบเอวเกิน (ช:90 ญ:80 ม.) 32.88 √ 3.โรงพยาบาลมี Clinic DPAC ร้อยละ 100 √ 4.วัยทำงานมีดัชนีมวลกาย 44.99 √ 5.ประเมิน CliNic DPAC 2 แห่งต่อปี √ 6.ประเมินสวนสาธารณะ 1 แห่ง ต่อ ปี √ การดำเนินงานปี 2560 1.คัดกรองกลุ่มเสี่ยง HT DM 2. จัดทำ Clinic DPAC 3. องค์การไร้พุง 4. Fitness ปัญหาในปี 2560 1.ความครอบคลุมการวัดรอบเอว 2. การประเมิน Clinic DPAC ยังไม่ครอบคลุม แผนงาน ปี 2561 1.พัฒนา Clinic ไร้พุง ต้นแบบ 2.ประเมินองค์กรไร้พุง 10 แห่งได้แก่ ม. กล. อทพ. ยชน. กร. ศร. รษ. นค. หทท. 3. ขยายการดำเนินงาน Clinic DPAC สู่ รพ.สต /อบต. /ส่วนราชการ
งานป้องกันควบคุมโรคมะเร็ง สถานการณ์ 1.ผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 2. การคัดกรองกลุ่มเป้าหมายต่ำ ผลการดำเนินงาน 1.ความครอบคลุมตรวจเต้านม ร้อยละ 78.12 X 2.ความครอบคลุม Pap smear ร้อยละ 56.76 X 3.ความครอบคลุมตรวจU/Cกลุ่มเสี่ยงมะเร็งตับ มะเร็งท่อน้ำดี ร้อยละ 60.06 x 4.การส่งต่อมะเร้งตับ/ท่อน้ำดี ร้อยละ 100√ 5.ร้อยละ PT CA 5 อันดับแรก ได้รับการ 5.-ผ่าตัด 93.54 √ 6-เคมีบำบัด 92.31 √ 7-รังสีรักษา 76.66 x 7.อัตราตายโรคมะเร็งตับ/ท่อน้ำดี 42.95 X 8.อัตราตายด้วยมะเร็งปอด 4.75 √ การดำเนินงานปี 2560 1.คัดกรองกลุ่มเสี่ยงเพื่อหามะเร็ง เต้านม ปากมดลูก อัลตร้าซาวด์มะเร็งตับ/ท่อน้ำดี 2.พัฒนาบุคลากรการจัดทำ ทะเบียน CA 3.พัฒนาระบบบริการ 4.นิเทศติดตาม ปัญหาปี 2560 1.ความครอบคลุมการคัดกรอง ทั้ง ตรวจเต้านม ตรวจ Papsmear U/S ยังต่ำ 2.การส่งต่อ การติดตามกลุ่มเสี่ยง มารับการตรวจวินิจฉัยไม่ครอบคลุม แผนงาน ปี 2561 1.ทบทวน CPG ตาม Service Plan CA และเร่งรัดการคัดกรองภายในไตรมาส2 2.พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการตรวจคัดกรองให้ได้ตามมาตรฐาน 3.พัฒนาระบบบริการให้ได้มาตรฐาน ระบบ Fast tract , Mammogram 4.พัฒนาระบบข้อมูล และฐานข้อมูลผู้ป่วยมะเร็ง
งานพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน สถานการณ์ 1.การเรียนใช้ 1669 ยังต่ำ ผลการดำเนินงาน 1.รพ.ระดับ F2 มีระบบ ESC คุณภาพ ร้อยละ 100 √ 2.จังหวัดมีการบูรณาการข้อมูล 3 ฐาน ร้อยละ 100 √ 3.รพ.มี Emergency & Truma Admit Unit 22 แห่ง √ 4. รพ.มีระบบ ER /EMS /ESC คุณภาพ ร้อยละ 100 √ การดำเนินงานปี 2560 1.พัฒนาระบบบริการของ เครือข่ายEMS /EMS Rally 2.ประเมินมาตรฐานรถพยาบาล 3.ประเมินคุณภาพการออก ปฏิบัติการ EMSของหน่วยกู้ชีพ ปัญหา 1.การเรียกใช้ 1669 ยังไม่ได้ตามเกณฑ์ 2.รถในระบบEMS ยังไม่ได้ตามมาตรฐาน 3.คุณภาพการออกปฏิบัติการยังไม่ได้ตามเกณฑ์ แผนงาน ปี 2561 1.พัฒนามาตรฐานรถในระบบ EMS ทุกเครือข่าย 2.ประเมินมาตรฐานระบบ ECS ทุกโรงพยาบาล 3.นิเทศติดตาม
งานป้องกันควบคุมอุบัติเหตุ สถานการณ์ -อัตราเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ สูง ผลการดำเนินงาน 1.อัตราการเสียชีวิตด้วยอุบัติเหตุ ทางถนน 10.89 ต่อแสนประชากร √ 2.อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ 19 สาเหตุ Ps ≥ 0.30 √ 3.จังหวัดมีการกำหนดจุดเสี่ยง และแก้ไขปัญหา 20 จุด/อำเภอ√ การดำเนินงานปี 2560 1.พัฒนาระบบบริการ 2.ประเมินมาตรฐานรถพยาบาล 4.สอบสวนอุบัติเหตุหมู่ และ Dead Case conference ปัญหา 1.พฤติกรรมบุคคล การไม่สวมหมวก ไม่คาดเข็มคัดนิรภัย 2. การบังคับใช้กฎหมาย 3. การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย แผนงาน ปี 2561 1.ทบทวน CPG ตาม Service Plan สาขาอุบัติเหตุ 2. เฝ้าระวังเตรียมความพร้อมสถานบริการช่วงเทศกาล 3. สำรวจจุดเสี่ยง ประสานเครือข่าย แก้ไขจุดเสี่ยง 4. นิเทศติดตาม
งานป้องกันการจมน้ำ สถานการณ์ -อัตราเสียชีวิตจากการจมน้ำสูง สถานการณ์ -อัตราเสียชีวิตจากการจมน้ำสูง การดำเนินงานปี 2560 1.อบรมครู ข สอนเด็กว่ายน้ำเด็ก จัดหาสระน้ำ 2.สำรวจแหล่งน้ำเสี่ยง ปักป้ายเตือน มีอุปกรณ์ช่วยชีวิต 3. สอบสวนกรณีเสียชีวิต ประชาคมในหมู่บ้าน 4. ให้สุขศึกษาแก่ผู้ปกครองในคลีนิกเด็กดี ANC ศูนย์เด็กเล็ก ผลการดำเนินงาน -อัตราการเสียชีวิต จากการจมน้ำของเด็ก อายุ < 15 ปี 6.42 ต่อแสน ปชก x ปัญหา 1.เด็กอายุ < 15 ปี เสียชีวิตเพิ่มมากขึ้น 2.การเฝ้าระวังจากครอบครัว ชุมชน ยังไม่ทั่วถึง แผนงาน ปี 2561 1.ให้ทุกอำเภอมีการดำเนินงานตามเกณฑ์ผู้ก่อการดี 2.บูรณาการกับ DHS DHB และสอบสวนการเสียชีวิตทุกราย 3.ประเมินผู้ก่อการดีในทุกอำเภอ
งานป้องกันควบคุมสุขภาพจิต สถานการณ์ 1. เด็กมีสติปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์ 2. การเฝ้าระวังภาวะซึมเศร้ายังไม่ครอบคลุม การดำเนินงานปี 2560 1.ส่งเสริมสุขภาพจิตทุกกลุ่มวัย 2. เฝ้าระวังภาวะซึมเศร้าเสี่ยงต่อภาวะ ฆ่าตัวตาย 3. คัดกรองพัฒนาการล่าช้า 4. คัดกรองภาวะออทิสติก 5. คัดกรองภาวะปัญญาอ่อน 6.การเข้าถึงบริการผู้ป่วยจิตเวชเด็ก ผลการดำเนินงาน 1.เด็กไทยสติปัญญาไม่ต่ำกว่าร้อยละ 100 : ร้อยละ 92.40 x 2.เด็กไทยมี EQ อยู่ในเกณฑ์ปกติร้อยละ78.00 √ 3.จังหวัดมีเครือข่ายกระตุ้นพัฒนาการเด็กล่าช้า ร้อยละ 100 √ 4.เด็กที่มีพัฒนาล่าช้าได้รับการกระตุ้นร้อยละ70.17√ 5.เด็กออทิสติกเข้าถึงบริการ ร้อยละ4.53 X 6.เด็กสมาธิสั้นเข้าถึงบริการ ร้อยละ 41.90 √ 7.อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จ 4.85/แสน √ 8. ผู้พยาบาลฆ่าตัวตายไม่กลับมาทำร้ายตนเองซ้ำ ร้อยละ 98.13 √ 9. หน่วยบริการมีการเฝ้าระวังการฆ่าตัวตาย 100√ 10. ซึมเศร้าเข้าถึงบริการ ร้อยละ 53.90 √ 11.โรคจิตเภทเข้าถึงบริการ ร้อยละ 96.45 √ ปัญหา 1.การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง 2.ขาดบุคลากรที่เชี่ยวชาญด้านจิตเวชเด็ก 3.การค้นหา การส่งต่อ การวินิจฉัย ผู้ป่วยยังไม่ครอบคลุม แผนงาน ปี 2561 1.พัฒนาเครือข่าย ครู ผู้ปกครอง สาธารณสุข มีส่วนร่วมในการคัดกรอง ดูแลเด็ก 2.พัฒนาระบบเฝ้าระวังการคัดกรอง การส่งต่อ เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการ 3.พัฒนาระบบการบันทึกข้อมูล นิเทศงานเฉพาะกิจ
งานพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการ สถานการณ์ - ผู้พิการมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น การดำเนินงานปี 2560 1.ค้นหาผู้พิการ จัดระบบบริการรองรับ วัสดุอุปกรณ์ เครื่องช่วยความพิการ ตามมาตรฐาน 2.ฟื้นฟูสมรรถภาพ คุณภาพชีวิตผู้พิการ 3.จัดหาการบริการเฉพาะทาง เช่น ผ่าตัดปากแหว่ง 4.จัดทำระบบข้อมูล ผลการดำเนินงาน 1.ผู้พิการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ ร้อยละ 100 √ 2. ผู้พิการได้รับการดูแลสมรรถภาพ ด้านการแพทย์ กายอุปกรณ์ อุปกรณ์ตามเกณฑ์ ร้อยละ 100 √ 3. ผู้พิการขาขาดได้รับการดูแล สมรรถภาพด้านการแพทย์ กายอุปกรณ์ อุปกรณ์ตามเกณฑ์ ร้อยละ 100 √ 4.มีข้อมูลผู้พิการทุกประเภท ร้อยละ100 √ ปัญหา 1.การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ในการดูแลคุณภาพชีวิตผู้พิการ 2.การคัดกรองในกลุ่มเด็กออติสติก แผนงาน ปี 2561 1.พัฒนาเครือข่าย ครู ผู้ปกครอง สาธารณสุข มีส่วนร่วมในการคัดกรอง ดูแลเด็ก 2. พัฒนาระบบข้อมูล สำรวจข้อมูลผู้พิการ 3. พัฒนาระบบบริการ การค้นหา การส่งต่อ
งานพัฒนาศูนย์พึ่งได้ (OSCC) สถานการณ์ 1. ความรุนแรงในเด็ก สตรี เพิ่มมากขึ้น การดำเนินงานปี 2560 1.จัดตั้งศูนย์พึ่งได้ในสถานบริการ สาธารณสุขทุกแห่ง 2.พัฒนาทีมสหวิชาชีพในศูนย์พึ่งได้ 3.ประสานเครือข่ายเพื่อให้การ ช่วยเหลือผู้ถูกกระทำความรุนแรง ผลการดำเนินงาน 1.โรงพยาบาลมีระบบงาน ศูนย์พึ่งได้ชัดเจน ร้อยละ 80 √ 2.ให้การดูแลช่วยเหลือ ประสานงานส่งต่อ Case สำเร็จ ไม่มีปัญหา ร้อยละ 100 √ ปัญหา -การมีส่วนร่วมของชุนชนในการ เฝ้าระวังความรุนแรงในพื้นที่ แผนงาน ปี 2561 1.ประสานการดำเนินงานใน ระดับอำเภอ ตำบล 2.สร้างความตระหนักให้ประชาชนได้รับรู้ ,มีการเฝ้าระวังความรุนแรงในชุมชน 3. ประสาน อปท.และเครือข่ายในการให้ความช่วยเหลือผู้ถูกกระทำคาวมรุนแรง
งานป้องกันควบคุมบุหรี่สุรา สถานการณ์ -อัตราการสูบบุหรี่เพิ่มมากขึ้น ผลการดำเนินงาน 1.ความชุกของผู้สูบบุหรี่ ในคนไทย อายุ 15 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 14.49 √ 2.อัตราการสูบบุหรี่ 15-18 ปี 21.61 X 3.รพ./รพ.สต.จัดบริการ เลิกบุหรี่ 100 √ 4.ผู้ติดบุหรี่เข้าถึงระบบ บำบัดร้อยละ 34.26 X 5.ผู้ติดสุราเข้าถึงระบบบำบัด 67.05 X 6.โรงเรียนมัธยมดำเนินการโรงเรียน ปลอดบุหรี่ ร้อยละ 100√ 7.ความชุกของผู้ดื่มแอลกอฮอล์ในวัยรุ่น จากการเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง ร้อยละ 51.8 X การดำเนินงานปี 2560 1.ค้นหาผู้สูบบุหรี่ในชุมชน สถานศึกษา ผู้ป่วย NCD 2.จัดบริการคลินิกอดบุหรี่ในสถานบริการ ทุกแห่ง 3.ติดตามผู้สูบบุหรี่ให้รับการบำบัดครบ ตามเกณฑ์ 4.พัฒนาระบบข้อมูลในการดำเนินงาน ปัญหา 1.ผู้ติดบุหรี่ สุราเข้าถึงระบบบำบัดต่ำ 2.พบนักสูบนักดื่มหน้าใหม่ แผนงาน ปี 2561 1. พัฒนาระบบบริการให้ติดตามผู้ติดบุหรี่มารับการบำบัด 2.พัฒนาระบบข้อมูลบุหรี่สุรา 3.ประสานการดำเนินงาน DHS / Service Plan ผลงานเด่น -จังหวัดดีเด่น ระดับประเทศ ในการดำเนินงานป้องกันควบคุมบุหรี่
งานป้องกันควบคุมยาเสพติด สถานการณ์ 1. ผู้ติดยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น ผลการดำเนินงาน 1.ผู้เสพยาเสพติดที่ผ่านการ บำบัดไม่กลับเสพซ้ำ ร้อยละ 96.05 √ 2.ผู้เสพยาเสพติด เข้าโครงการบำบัด ร้อยละ 100 √ 3.อัตราการคงอยู่ในการ บำบัด ร้อยละ 87.42 √ 4.อัตราการคงอยู่ในการ ติดตามร้อยละ 76.30 √ 5.ผู้เสพยาเข้าสู่ระบบ สมัครใจ ร้อยละ 79.5 X 6. HA ยาเสพติด ร้อยละ 86.36 √ การดำเนินงานปี 2560 1.ค้นหาผู้ติดยาเสพติดในชุมชน สถานศึกษา 2.พัฒนาระบบบำบัด ติดตาม HA ยาเสพติด 3.จัดทำระบบข้อมูลยาเสพติด 4.ประสานการดำเนินงานกับภาคีเครือข่าย ปัญหา 1.รพ. ไม่ผ่านประเมิน HAยาเสพติด (พยุห์ ศล. บล. มจ. เมืองฯ) 2.การบำบัดระบบสมัครใจยังน้อย แผนงาน ปี 2561 1.พัฒนาระบบบำบัด ติดตาม HA ยาเสพติด 2.จัดทำระบบข้อมูลยาเสพติด 3.ค้นหาผู้ติดยาเสพติดในชุมชน สถานศึกษา
งาน TO BE NUMBER ONE ผลการดำเนินงาน การดำเนินงานปี 2560 สถานการณ์ 1. ชมรม ศูนย์เพื่อนใจ ไม่ครอบคลุม ผลการดำเนินงาน 1.จัดตั้งชมรมในสถานศึกษาร้อยละ 100 √ 2.จัดตั้งศูนย์เพื่อนใจร้อยละ100√ 3.สถานบริการมีลูกจ้าง 50 ขึ้นไป และผ่านเกณฑ์ มยส. เข้าชมรม ร้อยละ 100 √ 4.ขยายเครือข่ายสู่ เรือนจำ, สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและ เยาวชน,คุมประพฤติ ร้อยละ 100 √ 5.จัดตั้งชมรมในชุมชนร้อยละ20X 6.จัดตั้งศูนย์เพื่อนใจในชุมชน ร้อยละ 20 X การดำเนินงานปี 2560 1.ค้นหาผู้ติดยาเสพติดในชุมชน สถานศึกษา 2.พัฒนาระบบบำบัด ติดตาม HA ยาเสพติด 3. จัดทำระบบข้อมูลยาเสพติด 4.ประสานการดำเนินงานกับเครือข่าย ปัญหา -การดำเนินงาน TO BE NUMBER ONE ไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ ผลงานเด่น 1.จังหวัดศรีสะเกษ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ระดับดีเด่น ระดับประเทศ 2.รางวัล TO BE NUMBER ONE IDOL ระดับประเทศ แผนงาน ปี 2561 1.ขยายเครือข่ายสู่ชุมชน สถานศึกษา สถานประกอบการ เรือนจำ สถานพินิจคุมประพฤติ 2.ดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ 3 ยุทธศาสตร์ 3.จัดทำ WEB Site TO BE NUMBER ONE และประชาสัมพันธ์ถึงครอบครัว ชุมชน
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561 แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
1 โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ จุดเน้น 1. คัดกรอง DM, HT ในประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไปให้ได้ร้อยละ 90 ภายในไตรมาสที่ 2 ปี 2561 2. กำกับติดตามให้กลุ่มเสี่ยง DM/HT เข้าถึงบริการลดเสี่ยง โดย พชอ. ครบทุกราย 3. ประเมิน NCD Clinic Plus คุณภาพใน รพ./รพ.สต. ทุกแห่ง Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน คัดกรอง DM, HT อายุ 35 ปีขึ้นไป พร้อมทั้งประเมินความเสี่ยงด้วยวาจาและให้คำปรึกษาลดเสี่ยง ≥ 60 % - ชี้เป้าตำบลจัดการสุขภาพ วัยทำงาน อำเภอละ 1 ตำบล จำนวน 206 ตำบล -จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยง - คัดกรอง DM, HT อายุ 35 ปี ขึ้นไปพร้อมทั้งประเมินความเสี่ยงด้วยวาจาและให้คำปรึกษาลดเสี่ยง ≥ 90 % - กลุ่ม Pre DM& Pre HT ได้รับการกำกับติดตามโดย FCT ทุกราย - ตำบลจัดการสุขภาพวัยทำงานดำเนินการตามมาตรการ -ประเมินคลินิก NCD คุณภาพ - คัดกรอง DM, HT อายุ 35 ปีขึ้นไป พร้อมทั้งประเมินความเสี่ยงด้วยวาจาและให้คำปรึกษาลดเสี่ยง ≥ 90 % - กลุ่ม Pre DM& Pre HT ได้รับการกำกับติดตามโดย FCTทุกราย - จังหวัด/อำเภอ ประเมินตำบลจัดการสุขภาพวัยทำงาน 70 ตำบล อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ ลดลงร้อยละ 0.25 (536 ต่อแสนประชากร) อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ ลดลง ร้อยละ 0.25 (258 ต่อแสนประชากร) จังหวัดคัดเลือกตำบลจัดการสุขภาพ อำเภอละ 1 ตำบล (จัดแลกเปลี่ยนเรียนรู้) ตัวชี้วัดที่ 6: อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และ/หรือ เบาหวานรายใหม่ ผู้ป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูงคือ ผู้ป่วยที่มีรหัส ICD10 = I10 – I15 ผู้ป่วยรายใหม่จากโรคเบาหวาน หมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกจากแพทย์ว่าป่วยจากโรคเบาหวาน ในทุกกลุ่มอายุ (รหัสโรค ICD10 = E10-E14) เป้าหมาย คือ อัตราเพิ่มของผู้ป่วย DM/HT รายใหม่ ลดลงร้อยละ 0.25 จากปี 2559 โดยเก็บข้อมูลจาก HDC มาตรการที่สำคัญ 1. คัดกรองกลุ่มเสี่ยง DM, HT ในประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป 2. กำกับติดตามให้กลุ่มเสี่ยง DM/HT เข้าถึงบริการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ข้อมูลพื้นฐาน เกณฑ์การให้คะแนนปี 2560 1 2 3 4 5 หน่วยวัด 0.05 0.10 0.15 0.20 0.25 ร้อยละ HT (679) (643) (607) (572) (536) ต่อแสนปชก. DM (327) (310) (293) (276) (258) ปี 57 ปี 58 ปี 59 อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ต่อแสนประชากร 795 714 อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ ต่อแสนประชากร - 401 344 * หมายเหตุ : ปี 59 ข้อมูล ณ 26 ต.ค. 59 จาก HDC การประเมินผล : จากข้อมูล HDC ทุก 1 ปี (ปีงบประมาณ) โดยใช้ข้อมูลจาก HDC
จุดเน้น ปี 2561 กรมการแพทย์ เป้าหมาย : 65 % ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลง ของ eGFR < 4 ml/min/1.73m2/yr เป้าหมาย : ผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR < 4 ml/min/1.73m2/yr ร้อยละ 65 1.มีทีมสหวิชาชีพคัดกรอง/ ดูแลรักษาตามมาตรฐาน 2.การขยายบริการคลินิกชะลอไตเสื่อมใน รพ.ทุกแห่ง และการเพิ่มศักยภาพคลินิกชะลอไตเสื่อม 3.ขยายเครือข่ายการดูแลผู้ป่วย CKD ในชุมชน จุดเน้น ปี 2561 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน จัดทำแนวทางการดำเนินงานคลินิกชะลอ ไตเสื่อม นำแนวทางสู่การปฏิบัติ ในระดับจังหวัด/อำเภอ ติดตาม/ประเมินผลการดำเนินงาน ตามแนวทางฯ สรุปผลการดำเนินงานคลินิกชะลอไตเสื่อม จัดทำเกณฑ์คลินิกชะลอไตเสื่อมคุณภาพ ประเมินคลินิกชะลอไตเสื่อมตามเกณฑ์คุณภาพ สรุปผลคลินิกชะลอไตเสื่อมตามเกณฑ์คุณภาพ พัฒนาศักยภาพทีม สหวิชาชีพผู้ปฏิบัติงาน ในคลินิกชะลอไตเสื่อม ใน รพ.ทุกแห่ง พัฒนาศักยภาพทีมสหวิชาชีพผู้ปฏิบัติงานในคลินิก ชะลอไตเสื่อมใน รพ.ทุกแห่ง อบรมอบรมเชิงปฏิบัติการด้านกายภาพบำบัดสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ติดตาม/ประเมินผล ทีมสหวิชาชีพ รวบรวมข้อมูลการจัดทำตำรับอาหาร 4 ภาค สำหรับผู้ป่วยโรคไต จัดทำตำรับอาหาร 4 ภาค สำหรับผู้ป่วย โรคไต เผยแพร่ตำรับอาหาร 4 ภาคสำหรับผู้ป่วยโรคไตให้กับเขตสุขภาพ ติดตาม/ประเมินผลการนำตำรับอาหารไปใช้ กรมการแพทย์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) จุดเน้น ปี 2561 เป้าหมายปี 2560 : ร้อยละ 80 1. การค้นหากลุ่มเสี่ยง/การประเมิน ผู้ป่วย DM, HT ที่ขึ้นทะเบียนในสถานบริการ ได้รับการประเมิน CVD Risk 2. การจัดการหลังการประเมิน กลุ่มผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยง ต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ที่มีระดับความเสี่ยงสูง≥30% ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเข้มข้น เร่งด่วน Small Success 3 เดือน 6เดือน 9เดือน 12 เดือน ผู้ป่วย DM , HT ได้รับการประเมิน CVD Risk 20% ผู้ป่วย DM, HT ได้รับการประเมิน CVD Risk 40% ผู้ป่วย DM, HT ได้รับการประเมิน CVD Risk 60% เร่งรัด พัฒนา เขตบริการที่ยังไม่บรรลุผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ผู้ป่วย DM, HT ได้รับการประเมิน CVD Risk 80% ผู้ป่วย DM ,HT ที่มีระดับ CVD Risk≥30% เข้าถึงบริการ และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเข้มข้น เร่งด่วน 60% ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงซ้ำ และมีความเสี่ยงลดลง ≥10% ตัวชี้วัดที่ 4: ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) เป้าหมายมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 ประเมินผลจากการดำเนินการค้นหาและคัดกรองผู้ป่วยที่ประเมิน CVD Risk และกลุ่มดังกล่าวสามารถเข้าถึงบริการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1 2 3 4 5 70 75 80 85 90 ข้อมูลพื้นฐาน เกณฑ์การให้คะแนนปี 2560 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 - 77.89% การประเมินผล : ข้อมูลจากการรายงานผลการคัดกรองโดย สคร. ประเมินผลลัพธ์ 1 ครั้ง ในรอบ 12 เดือน
ตัวชี้วัด : อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง เป้าหมาย : น้อยกว่าร้อยละ 7 แนวทางการดำเนินงาน 1.ขยายการดำเนินงานสู่ระดับ ปฐมภูมิเน้นการคัดกรอง ความเสี่ยงต่อ โรคหลอดเลือดสมอง 2.พัฒนาเครือข่ายการดำเนินงาน และระบบ Fast track ให้ได้ มาตรฐานยิ่งขึ้น 3. จัดตั้ง Stroke Unit ใน รพท. 4. พัฒนาบุคลากร 5. สื่อสารความเสี่ยงให้ประชาชน 6. พัฒนาระบบข้อมูล 7. นิเทศติดตามการดำเนินงาน ในเครือข่าย จุดเน้น ปี 2561 1. การสื่อสาร ความเสี่ยง แก่ประชาชน 2. การคัดกรอง กลุ่มเสี่ยง 3. ระบบ Fast Trace 4. Stroke Unit ใน รพท. เป้าหมายผลลัพธ์ ระยะสั้น 1.เพิ่มอัตราการรับยาละลาย ลิ่มเลือดในผู้ป่วย โรคหลอดเลือดตามเกณฑ์ ที่กำหนด ระยะยาว 1.ลดอัตราการตายของผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมอง - อบรม stroke nurse : basic course (5วัน), advance course (5วัน), manager course (2 วัน), pitfall stroke manager for physician (1 วัน)
มาตรการ ตัวชี้วัด : อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 3 เดือน 6 เดือน เป้าหมาย : น้อยกว่าร้อยละ 7 มาตรการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน ประชุมชี้แจงแนวทางดำเนินงาน ติดตาม และประเมินผล รพ.เครือข่าย จัดตั้ง Stroke Unit ในรพ.ศรีสะเกษ ตรวจรับรอง และประเมินผล SSCC ติดตาม และประเมินผลรพ.เครือข่าย (ต่อเนื่อง) จัดตั้ง Stroke Unit รพ.ศรีสะเกษ ประชุมเครือข่าย จัดทำหลักสูตรพัฒนาบุคลากร พัฒนาศักยภาพบุคลากร อบรม EMS/Taxi KM ติดตามประเมินผล จัดทำคู่มือ/สื่อ -สื่อสารความเสี่ยง สื่อสารความเสี่ยงแก่ประชาชน จัดพิมพ์คู่มือโรคหลอดเลือดสมองสำหรับประชาชน เผยแพร่ข้อมูล/คืนข้อมูลสู่ชุมชน/เครือข่าย เก็บข้อมูลโรคหลอด-เลือดสมอง สรุปผลการดำเนินงาน รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูล สรุปข้อมูล - อบรม stroke nurse : basic course (5วัน), advance course (5วัน), manager course (2 วัน), pitfall stroke manager for physician (1 วัน)
ตัวชี้วัด : อัตราการตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ เป้าหมาย : อัตราการตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจไม่เกิน 27.4 ต่อแสนประชากร เป้าหมายผลลัพธ์ ระยะสั้น 1.ผู้ป่วยโรคหัวใจได้รับ ยาละลายลิ่มเลือด ตามเกณฑ์ที่กำหนดเพิ่มขึ้น 2.ผู้ป่วยที่ได้รับยาละลาย ลิ่มเลือดได้รับการรักษา ตามมาตรฐาน ระยะยาว 1.ลดอัตราการตาย ในผู้ป่วยโรคหัวใจ จุดเน้นปี 2560 1. มี Warfarin Clinic ทุก รพ. 2. คัดกรอง ABI 3. สามารถให้ยา SK ทุก รพ. แนวทางการ ดำเนินงาน 1.พัฒนาศักยภาพระบบ ให้คำปรึกษาในการวินิจฉัย การรักษาโรคหัวใจ 2.ขยายเครือข่าย การดำเนินงาน สู่ปฐมภูมิ เน้นการคัดกรอง กลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจ - ประชากรไทยมีอัตราการเสียชีวิตด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ (ปี 2558, สนย. กระทรวงสาธารณสุข) 32.9 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วย STEMI มีอัตราการเสียชีวิตในรพ. ปี 58 =10%, ปี 59 =13% - ผู้ป่วย STEMI ได้รับการรักษาโดยการเปิดหลอดเลือดโดยการให้ยาละลายลิ่มเลือดหรือการทำบอลลูนขยายหลอดเลือดค่าเฉลี่ยร้อยละ 83 (ผ่านเกณฑ์ ≥ ร้อยละ 75) จำนวน 11 เขต จาก 12 เขต (ยกเว้นเขต 5) - จำนวนรพ.ตั้งแต่ระดับ F2 สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด SK ได้ร้อยละ 100 12 เขต มีบริการสวนหัวใจ ประชุมโครงการ Save Thais from Heart Diseases 13 เขต ประชุมเครือข่าย ACS registry 13 เขต (16,789 ราย)
ตัวชี้วัด : อัตราการตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ เป้าหมาย : อัตราการตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจไม่เกิน 27.4 ต่อแสนประชากร มาตรการ : เพิ่มศักยภาพบุคลากรทางการแพทย์ในเขตสุขภาพที่ติดต่อกับประชาชนโดยตรง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน -จัดทำแผนงาน/โครงการ -รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล -สื่อสารความเสี่ยง -พัฒนาองค์ความรู้แก่ เจ้าหน้าที่ รพ.สต./อสม. ในการเฝ้าระวัง คัดกรอง กลุ่มเสี่ยง -สรุปผลการดำเนินงาน -รวบรวม วิเคราะห์ ข้อมูล -สื่อสารความเสี่ยง -พัฒนาองค์ความรู้ แก่เจ้าหน้าที่ รพ.สต./ อสม. ในการเฝ้าระวัง คัดกรองกลุ่มเสี่ยง -สรุปผลการดำเนินงาน -นิเทศติดตาม -พัฒนาองค์ความรู้ แก่เจ้าหน้าที่ รพ.สต./ อสม. ในการเฝ้าระวัง คัดกรองกลุ่มเสี่ยง -นิเทศติดตาม - ประชากรไทยมีอัตราการเสียชีวิตด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ (ปี 2558, สนย. กระทรวงสาธารณสุข) 32.9 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วย STEMI มีอัตราการเสียชีวิตในรพ. ปี 58 =10%, ปี 59 =13% - ผู้ป่วย STEMI ได้รับการรักษาโดยการเปิดหลอดเลือดโดยการให้ยาละลายลิ่มเลือดหรือการทำบอลลูนขยายหลอดเลือดค่าเฉลี่ยร้อยละ 83 (ผ่านเกณฑ์ ≥ ร้อยละ 75) จำนวน 11 เขต จาก 12 เขต (ยกเว้นเขต 5) - จำนวนรพ.ตั้งแต่ระดับ F2 สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด SK ได้ร้อยละ 100 12 เขต มีบริการสวนหัวใจ ประชุมโครงการ Save Thais from Heart Diseases 13 เขต ประชุมเครือข่าย ACS registry 13 เขต (16,789 ราย)
สรุปโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561 สรุปโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561 มีการประเมิน 1. ประเมิน NCD Clinic Plus คุณภาพใน รพ./รพ.สต. ทุกแห่ง 2. ประเมิน CKD Clinic ใน รพ. ทุกแห่ง 3. ประเมิน CVD Risk ใน รพ./รพ.สต. ทุกแห่ง รายละเอียดจะขึ้นในเว็บไซด์ สสจ.ศรีสะเกษ
สรุปโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561 สรุปโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561 กรอบระยะเวลา 1. ประเมินตนเองทั้ง 3 รายการ ภายในเดือนมกราคม 2561 -NCD Clinic Plus -CKD Clinic -CVD Risk 2. ส่งแบบประเมินภายในสิ้นเดือนมกราคม 2561 3. เขตประเมินเดือนมิถุนายน 2561
2 องค์กรไร้พุง DPAC
คลินิกไร้พุง หรือ DPAC (Diet & Physical Activity Clinic) * ---ดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาโรคอ้วนในคนไทย ทั้งระบบมาตั้งแต่ปี 2549 โดยมีหลักการสำคัญ คือ การให้คำปรึกษาและบริการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนกลุ่มเสี่ยง จากพฤติกรรมที่เป็นปัญหาให้กลายเป็นพฤติกรรมที่พึงประสงค์ *เน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยเฉพาะการบริโภคอาหารภายใต้การดูแลของทีมสหวิชาชีพที่มีทั้งแพทย์ พยาบาล นักวิชาการ นักโภชนาการ รวมไปถึงสนับสนุนให้มีการเคลื่อนไหวออกกำลังกายมากขึ้น
แนวทางการดำเนินงาน องค์กรไร้พุง 1. สำรวจประชากรเป้าหมาย 15 ปี ขึ้นไป เน้นอายุ 30-44 ปี 2. วัดส่วนสูง ชั่งน้ำหนัก ประเมินค่าดัชนีมวลกาย 3. จำแนกกลุ่มเป้าหมาย ออกเป็น กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงต่อการเกิด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง กลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง 4. ดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ส่งต่อกลุ่มเสี่ยงเข้าคลินิกปรับเปลี่ยน พฤติกรรม (DPAC) ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง 5. จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยรายหมู่บ้าน 6. ติดตาม น้ำหนัก ในเดือนที่ 1 เดือนที่ 6 และประเมินเมื่อครบ 1 ปี
แนวทางการดำเนินงาน องค์กรไร้พุง ในสถานบริการสาธารณสุข 1. ประเมินสมรรถภาพ ตรวจสุขภาพบุคลากรในหน่วยงาน ปีละ 1 ครั้ง 2. จัดสถานที่ที่เอื้อให้บุคลากรในหน่วยงานได้ออกกำลังกาย อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ 30 นาที 3. จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบุคลากรในองค์กร 4. ติดตาม น้ำหนัก ในเดือนที่ 1 เดือนที่ 6 และประเมิน เมื่อครบ 1 ปี
แนวทางการดำเนินงาน องค์กรไร้พุง รูปแบบการดำเนินงานคลินิกไร้พุง 1.โปรแกรมบุคคลทั่วไป/ส่งเสริมสุขภาพ 1.1 ให้คำแนะนำโดยยึดหลัก 3อ. 1.2 นัดติดตามประเมินผล ครบ 3 ด., 6 ด., 1 ปี 2. โปรแกรมสร้างเสริมสมรรถภาพ (เช่นเดียวกับโปรแกรมที่ 1 ) 3. โปรแกรมคนน้ำหนักเกิน/ลดสัดส่วน 3.1 ให้คำแนะนำโดยยึดหลัก 3 อ.
(Diet Physician Activity Clinic : DPAC) แนวทางการดำเนินงาน (Diet Physician Activity Clinic : DPAC) 1. สำรวจประชากรอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบ 2. จัดทำทะเบียนและวัดรอบเอว รหัส ICD 10: Z138 คัดกรองความเสี่ยง Metabolic 3. จำแนกเป้าหมายในการดำเนินงาน ได้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเมตะโลลิก (Metabolic syndrome) ได้แก่ 1) อ้วนลงพุง โดยมีเส้นรอบในผู้ชาย หรือ > ๙๐ เซนติเมตร , ในผู้หญิง > ๘๐ เซนติเมตร 2) ระดับ Triglyceride ในเลือด > ๑๕๐ mg/dl 3) ระดับ HDL-Chloresterol < ๔๐ mg/dl ในผู้ชาย หรือ < ๕๐ mg/dl ในผู้หญิง 4) กลุ่มเสี่ยงภาวะความดันโลหิตสูง >๑๒๐/๘๐ mm. Hg. 5) กลุ่มเสี่ยงภาวะน้ำตาล FCG ขณะอดอาหาร > ๑๐๐ mg/dl
(Diet Physician Activity Clinic : DPAC) แนวทางการดำเนินงาน (Diet Physician Activity Clinic : DPAC) 4. จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงต่อการเกิด โรคเมตะโบลิก รายกลุ่ม รายบุคคล ในหน่วยงาน ในชุมชน 5. ติดตาม วัดความดันโลหิต วัดรอบเอว เจาะเลือดปลายนิ้ว เมื่อสิ้นสุดเดือนที่ 1 , 2 , 3 ,6 ,9 ,12 บันทึกรหัส icd 10 : Z 713 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม : R739 Pre DM หรือ : R030 Pre HT หรือ 6. ประเมินผลทุก 6 เดือน หรือ 1 ปี
สรุปคลินิกไร้พุง DPAC ปี 2561 1. การประเมินตนเอง ใรพ./รพ.สต. ทุกแห่ง 2. ส่งแบบประเมินภายในสิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2561 3. เชื่อมโยงการดำเนินงานร่วมกับงานป้องกันควบคุมโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามปิงปองจราจร ชีวิต 7 สี
3 โรคมะเร็ง
ตัวชี้วัด : ลดระยะเวลารอคอย ผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา ของมะเร็ง 5 อันดับแรก (สาขา มะเร็ง) ตัวชี้วัดที่ 6 : ร้อยละผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ได้รับการรักษาภายในระยะเวลาที่กำหนด แนวทางการดำเนินงาน 1. จัดทำโครงการ/แต่งตั้ง/ประชุมคณะกรรมการ 2. จัดทำ MOU หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. พัฒนาศักยภาพบุคลากร 4. พัฒนาระบบข้อมูลโรคมะเร็งทุกชนิด 5. สนับสุนนสื่อสุขศึกษา 6. คัดกรองประชากรเป้าหมายตามมาตรฐาน 7. จัดทำ CPG ครอบคลุมมะเร็งทุกชนิด 8. จัดทำระบบการส่งต่อ/ระบบ Fast Track ผู้ป่วยโรคมะเร็ง 9. ดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็ง ตามมาตรฐาน 10.จัดทำศูนย์ Palliative care ผู้ป่วยมะเร็ง ระดับจังหวัด/อำเภอ 11.มีการจัดตั้งศูนย์ Palliative care ผู้ป่วยมะเร็ง 12. นิเทศงานระดับอำเภอ/ตำบล จุดเน้น ปี 2561 1.การคัดกรองประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ภายในไตรมาส 2 -มะเร็งเต้านม ร้อยละ 80 -มะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 30 -มะเร็งตับ-มะเร็งท่อน้ำดี ร้อยละ 80 2.การส่งต้อผู้ที่ตรวจพบผิดปกติ ร้อยละ 100 3. จัดระบบ Fast Track 4.ลดระยะเวลารอคอยผ่าตัดของมะเร็ง 5 อันดับแรก ภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ ≥ ร้อยละ 85 5.ลดระยะเวลารอคอย เคมีบำบัด รังสีรักษาของมะเร็ง 5 อันดับแรก ภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ ≥ ร้อยละ 85 6.การดูแลผู้ป่วยมะเร็งในระยะ Palliative care ร้อยละ 100
ตัวชี้วัด : ลดระยะเวลารอคอย ผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา ของมะเร็ง 5 อันดับแรก (สาขา มะเร็ง) เป้าหมาย : 1.ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัดภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ ≥ 85% 2.ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัดภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ ≥ 85% 3.ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยรังสีรักษาภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ ≥ 85% Gap -แนวทางส่งต่อไม่ชัดเจน/ครอบคลุม -สารสนเทศมะเร็ง/ผู้รับผิดชอบ -การคัดกรอง -รณรงค์ป้องกัน สถานการณ์ มะเร็ง5 อันดับแรกของเขต10 1.ตับและท่อน้ำดี 2.ปอด 3.ลำไส้ใหญ่และไส้ตรง 4.เต้านม 5.ปากมดลูก อัตราตายสูงในมะเร็งตับและท่อน้ำดี,มะเร็งปอด มาตร การ (ม) ม.1 health promotion ม.2 จัดทำคู่มือการส่งต่อ-กลับในเขต ม.3 ผ่าตัด : นอกเวลาในมะเร็งตับและท่อน้ำดี(รพ.ระดับA)/ ส่งผ่าตัดรพ.เครือข่าย ม.4 เคมีบำบัด : บริการเพิ่มใน รพ.M1 ม.5 รังสีรักษา : first visit first treatment /นัดก่อนให้ยาเคมีครบ ม.6 จัดทำฐานข้อมูลมะเร็ง 5 อันดับ เชื่อมโยงทั้งเขต(รพ.A,S,M,F 64 รพ. ) Quick Win 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน ม.1มีแผนรณรงค์ป้องกันลดเสี่ยง มะเร็ง ม.2 มีแผนงาน/ผู้รับผิดชอบ/ ประชุม ม.3 Sx. in 4 wks 80% ม.4 CMT in 6 wks ≥ 80% ม.5 RT in 6 wks ≥ 80% ม.6 มีแผนงาน/ผู้รับผิดชอบ/ ประชุม -จัดกิจกรรมตามแผน 50% -จัดทำคู่มือส่งต่อรับกลับ ในจังหวัด/อำเภอ -Sx. in 4 wks 80% -CMT in 6 wks ≥ 80% -RT in 6 wks ≥ 80% -ร้อยละ100 ของรพ. จัดทำทะเบียนมะเร็ง -จัดกิจกรรมตามแผน 80 % -เผยแพร่คู่มือส่งต่อรับกลับ -Sx. in 4 wks ≥ 80% -RT in 6 wks ≥ 80% - -ร้อยละ 100 ของรพ. จัดทำทำทะเบียนมะเร็ง -จัดกิจกรรมตาม แผน 80 % - การส่งต่อตามคู่มือ 80% -CMT in 6 wks ≥ 80% -RT in 6 wks ≥ 80% --ร้อยละ 100 ของรพ. จัดทำทำทะเบียนมะเร็ง
แนวทางการดำเนินงาน มะเร็งเต้านม สำรวจรวบรวมข้อมูลประชากรเป้าหมาย คือสตรีอายุ 30-70 ปี ที่มีอยู่ในพื้นที่ 2. ตรวจคัดกรองประชากรเป้าหมายให้แล้ว เสร็จภายในไตรมาส 2 (เดือนมีนาคม 2561) 3. คีย์ข้อมูลในระบบ 43 แฟ้ม ตรวจคัดกรอง บันทึกรหัส Z12.3 4. สรุปวิเคราะห์ข้อมูลทุกเดือน (HDC)CA61\1CAเต้านม.docx
แนวทางการดำเนินงาน มะเร็งปากมดลูก 1. สำรวจรวบรวมข้อมูลประชากรเป้าหมาย คือสตรีอายุ 30-60 ปี ที่มีอยู่ในพื้นที่ 2. กำหนดเป้าหมายให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาพื้นที่ 3. ตรวจคัดกรองประชากรเป้าหมายให้แล้ว เสร็จภายในไตรมาส 2 (เดือนมีนาคม 2561) 3. คีย์ข้อมูลในระบบ 43 แฟ้ม *ยังไม่ทราบผลตรวจบันทึก Special PPรหัส 1B0044 *ผลตรวจปกติบันทึก Special PPรหัส 1B30 *ผลตรวจผิดปกติ บันทึก Special PP รหัส 1B40 4. สรุปวิเคราะห์ข้อมูลทุกเดือน (HDC) 5. สำรวจตรวจสอบคุณภาพของแหล่งตรวจ Pap Smear ทุกอำเภอ ส่งข้อมูลให้จังหวัดภายในวันที่ 13 ธ.ค.2560
แนวทางการดำเนินงาน มะเร็งตับมะเร็งท่อน้ำดี 1.สำรวจประชากรกลุ่มเสี่ยงอายุ 40 ปีขึ้นไป -เคยตรวจพบพยาธิใบไม้ในตับ (OV) - บุคคลในครอบครัวที่มีประวัติเสียชีวิตด้วยมะเร็งตับ/ ท่อน้ำดี โดยนับสายตรง ๓ ชั้นได้แก่ พ่อ แม่ พี่ น้อง ลูก ของผู้เสียชีวิต - ป่วยเป็นcase Hepatitis B หรือ Chronic Active Hepatitis-B - ผู้ป่วยกลุ่ม Alcoholic หรือ Cirrhosis 2. ตรวจอัลตร้าซาวด์กลุ่มเสี่ยงมะเร็งตับ/ท่อน้ำดี
แนวทางการดำเนินงาน มะเร็งตับมะเร็งท่อน้ำดี 3.การลงบันทึกในฐานข้อมูล ๔๓ แฟ้ม โรงพยาบาลและ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ดังนี้ - รหัสการวินิจฉัย Z128: Specific screening for CA - อัลตร้าซาวด์ รหัสหัตการการตรวจบันทึกใน ๔๓ แฟ้ม โรงพยาบาล หัตการ ๘๘๗๖ หรือบันทึกใน ๔๓ แฟ้ม ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล หัตการ ๙๒๗๐๗๐๐ - กรณีผลการตรวจอัลตร้าซาวด์ พบสิ่งผิดปกติ มีรายละเอียดบันทึกตามแนวทาง
แนวทางการดำเนินงาน มะเร็งตับมะเร็งท่อน้ำดี 4. การบันทึกข้อมูลการคัดกรองมะเร็งตับ/ท่อน้ำดี 1) บันทึกข้อมูลในฐานโรงพยาบาลหรือฐานข้อมูล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (43แฟ้ม) 2) บันทึกข้อมูลในโปรแกรมการดำเนินงาน โครงการกำจัดพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศล (Isan Cohort) ในแบบ CCA 00 , CCA01 , CCA02 และสแกนใบยินยอม 3) ขอให้ตรวจสอบข้อมูลใน 43แฟ้ม และ Isan Cohort เดือนละ 1 ครั้ง เพื่อให้ข้อมูลตรงกัน
ตัวชี้วัด : อัตราตายของผู้ป่วยโรคมะเร็งตับ เป้าหมาย : อัตราตายของผู้ป่วยโรคมะเร็งตับลดลง ร้อยละ 5 ภายใน 5 ปี (วัดผลในปี 2564) จุดเน้น ปี 2561 1. การคัดกรองกลุ่มเสี่ยงมะเร็งตับและมะเร็งท่อน้ำดี 2. การส่งต่อรายที่ผิดปกติทุกคน 3. เสริมสร้างศักยภาพของการตรวจวินิจฉัย 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน จัดทำแผนรณรงค์ในจังหวัด และอำเภอ 1.สรุปผลการดำเนินงานตามแผน รณรงค์ 2.จัดทำแผนการดำเนินงาน คัดกรองในพื้นครบทุกอำเภอ และคัดกรองกลุ่มเสี่ยง โดย U/Sตามเกณฑ์ที่กำหนด 2.ประชากรกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ ได้รับการคัดกรองโรคมะเร็งตับและท่อน้ำดี 3.ประสานการดำเนินงานร่วมกับอำเภอ 3.ประสานการดำเนินงานร่วมกับอำเภอ 4.นิเทศติดตาม 3.นิเทศติดตาม
ตัวชี้วัด : อัตราตายของผู้ป่วยโรคมะเร็งตับ PA กระทรวง:ร้อยละของตำบลในการเฝ้าระวัง คัดกรอง ป้องกัน เพื่อแก้ปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี (โครงการถวายเป็นพระราชกุศลฯ) เป้าหมายปี 2561 : คัดกรองกลุ่มเสี่ยงโดยอัลตราซาวด์ ร้อยละ 80 (เป้าหมายทุกอำเภอ 25,493 ราย) พื้นที่เป้าหมาย จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2560 จำนวน 4 อำเภอ กันทรลักษ์ ขุนหาญ ยางชุมน้อย วังหิน จำนวน 5,317 ราย คัดกรอง OV ด้วยอุจจาระในประชาชน 15 ปีขึ้นไปและรักษาทุกคนที่ติดเชื้อ (เป้าหมาย 80,000 ราย ในพื้นที่ 209 ตำบล) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชน จัดการเรียนการสอน OV และ CCA ในพื้นที่ดำเนินการ จัดการสิ่งแวดล้อมสิ่งปฏิกูล เพื่อให้คนปลอดพยาธิ ปลอดภัย อบต./เทศบาลออกข้อกำหนดและมีการบังคับใช้ คัดกรอง CCAในประชาชน 40 ปีขึ้นไปด้วยอัลตร้าซาวด์ (เป้าหมาย 128,000 ราย) การรักษาโดยการผ่าตัด (เป้าหมาย 640 ราย) มีการดูแลแบบประคับประครองทุกราย ตัวชี้วัดที่ 3: ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ตับ (โครงการถวายเป็นพระราชกุศลฯ) เป็นตัวชี้วัดจากมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 7 (26 ธันวาคม พ.ศ.2557) โครงการกำจัดปัญหาพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีถวายเป็นพระราชกุศลฯ (2559 – 2560) โดยกรมควบคุมโรคดำเนินการ 2 มาตรการ คือ 1. คัดกรองพยาธิใบไม้ตับด้วยอุจจาระในประชาชน 15 ปีขึ้นไป ในตำบลพื้นที่เสี่ยง 2. ประชาชนที่ติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับได้รับการรักษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เป้าหมาย ร้อยละ 80 ของตำบล ที่ดำเนินการในพื้นที่ 27 จังหวัด 138 อำเภอ 209 ตำบล ซึ่งอยู่ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 1, 6 – 10 ประเมินผลจากฐานข้อมูล Isan-cohort เก็บข้อมูลรายไตรมาส
แนวทางการดำเนินงาน มะเร็งลำไส้ใหญ่ 1. สำรวจ/รวบรวมข้อมูลประชากรเป้าหมาย อายุ ๕๐-๗๐ ปี ในพื้นที่ 2. ดำเนินกิจกรรมการคัดกรองโดยใช้แบบฟอร์ม ในกลุ่มเป้าหมายร่วมกับมีอาการอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ 1) ถ่ายเป็นมูกเลือด หรือถ่ายกระปิดกระปรอย ติดต่อกันภายในปีนี้ 2) น้ำหนักลดลง ๑๐% โดยไม่ทราบสาเหตุ 3) มีภาวะซีดไม่ทราบสาเหตุ 4) ท้องผูกเรื้อรัง 5) มีประวัติญาติสายตรง เป็น CA Colon ได้แก่ พ่อ แม่ ลูก ปู่ ย่า ตา ยาย
แนวทางการดำเนินงาน มะเร็งลำไส้ใหญ่ 3. กลุ่มเสี่ยงจากแบบฟอร์ม ส่งต่อให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ตรวจ FIT test โดยเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องที่ผ่านการอบรม การตรวจ FIT test จากเขตตรวจสุขภาพที่ ๑๐ 4. กรณีตรวจ FIT test ให้ผลบวก ให้ส่งต่อ พบแพทย์เพื่อทำการส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่ (Colonoscopy) เพื่อการวินิจฉัย 5. กรณีวินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ ให้ส่งต่อ ผู้ป่วยเข้าสู่ระบบการรักษามาตรฐาน 6.จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยให้ครบถ้วน โดยบูรณาการกับการคัดกรองมะเร็งลำไส้ปกติ
แนวทางการดำเนินงาน มะเร็งลำไส้ใหญ่ 7. มีการบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วนเป็นปัจจุบัน โดยคีย์ข้อมูลการคัดกรอง FIT test ใน ๔๓ แฟ้ม (Positive มีช่องให้ลงได้) รหัสการลง Screening คือ - 1B0060 = ปกติ - 1B0061 = ผิดปกติ - รหัสหัตถการใช้ ICD9 cm
แนวทางการดำเนินงาน มะเร็งลำไส้ใหญ่ ที่ อำเภอ ประชากร อายุ 50-70 ปี (คน) Fit tese (คน) 1 เมืองศรีสะเกษ 26,610 3,105 2 ยางชุมน้อย 6,761 789 3 กันทรารมย์ 17,856 2,084 4 กันทรลักษ์ 33,621 3,924 5 ขุขันธ์ 25,275 2,950 6 ไพรบึง 8,052 940 7 ปรางค์กู่ 11,602 1,354 8 ขุนหาญ 18,792 2,193 9 ราษีไศล 15,070 1,772 10 อุทุมพรพิสัย 18,709 2,206 11 บึงบูรพ์ 2,245 262
แนวทางการดำเนินงาน มะเร็งลำไส้ใหญ่ ที่ อำเภอ ประชากร อายุ 50-70 ปี (คน) Fit tese (คน) 12 ห้วยทับทัน 6,651 776 13 โนนคูณ 6,834 798 14 ศรีรัตนะ 8,611 1,005 15 น้ำเกลี้ยง 7,469 872 16 วังหิน 8,483 990 17 ภูสิงห์ 7,890 728 18 เมืองจันทร์ 3,212 375 19 เบญจลักษ์ 5,958 695 20 พยุห์ 6,348 741 21 โพธิ์ศรีสุวรรณ 4,054 473 22 ศิลาลาด 3,806 444 รวม 253,909 29,640
มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก มะเร็งตับมะเร็งท่อน้ำดี พื้นที่เร่งรัด ปี 2561 มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก มะเร็งตับมะเร็งท่อน้ำดี ทุกอำเภอ งานใหม่เริ่มปี 2561 มะเร็งลำไส้ใหญ่
สรุป****วางแผน.... งานใหม่เริ่มปี 2561 มะเร็งลำไส้ใหญ่ 1. คัดกรองให้แล้วเสร็จไตรมาสที่ 2 2. ประชากรเป้าหมาย -มะเร็งเต้านม 30-70 ปี -มะเร็งปากมดลูก 30-60 ปี -มะเร็งตับท่อน้ำดี 40 ปีขึ้นไป -มะเร็งลำไส้ 50-70 ปี งานใหม่เริ่มปี 2561 มะเร็งลำไส้ใหญ่
โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านม โยเครื่องเอ็กซเรย์เต้านมเคลื่อนที่ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐ พื้นที่ดำเนินการ ปี 2561 ได้แก่ 1. อำเภอศรีรัตนะ 2. อำเภอภูสิงห์ 3. อำเภอขุนหาญ 4. อำเภอขุขันธ์
4 ECS (เป็น PA) EMS ACCIDENT จมน้ำ
เป้าหมาย : โรงพยาบาล F2 ขึ้นไปที่มีระบบ ECS คุณภาพ ร้อยละ 70 จุดเน้น ปี 2561 1.แต่งตั้ง/ประชุมคณะกรรมการระบบ EMS 2.จัดประชุมพัฒนาเครือข่าย EMSเพื่อเพิ่มทักษะการ ช่วยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุ (EMS Rally) 3.ประเมินมาตรฐานรถที่ปฏิบัติงานในระบบ EMS 4.ตรวจประเมินคุณภาพแบบปฏิบัติการในระบบ EMS เพื่อควบคุมมาตรฐาน/จ่ายค่าตอบแทน การออกปฏิบัติงาน 5.Dead Case Conference ในกรณีที่ dead ที่ ER/ ระหว่างนำส่งและเป็นกรณีที่น่าสนใจ/บุคคลสำคัญ มาตรการ 1.การพัฒนา รพ.ทุกระดับ ในระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉิน (Emergency Care System) เพื่อรองรับ สาธารณภัย 2.มีโครงสร้าง ICS ในระดับ อำเภอ
เป้าหมาย : โรงพยาบาล F2 ขึ้นไปที่มีระบบ ECS คุณภาพ ร้อยละ 70 มาตรการ 6.พัฒนาระบบการบริหารจัดการเพื่อให้ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินได้รับการ ดูแลรักษาที่มีคุณภาพและป้องกันภาวะทุพลภาพ ทั้งในภาวะ ปกติและภาวะภัยพิบัติ ประกอบด้วย 6.1 การป้องกันก่อนเกิดเหตุ (Prevention) 6.2 การดูแล ณ จุดเกิดเหตุ (Pre hospital care) 6.3 การดูแลต่อเนื่องจนถึงห้องฉุกเฉิน (ER ) 6.4 การดูแลรักษาในโรงพยาบาล(In hospital care) 6.5 การดูแลเฉพาะทาง (Definitive care) 6.6 การส่งต่อ (Inter hospital care /Referral System) 6.7 การจัดระบบบริบาลกรณีเกิดอุบัติเหตุหมู่ 6.8 การเตรียมแผนรองรับภัยพิบัติของสถานพยาบาล/รพ. 7.จัดให้มีผังโครงสร้างการบัญชาการ (Incidence command System: ICS) และผู้รับผิดชอบรองรับการดำเนินงาน และบัญชาการทั้งระดับ จังหวัด/อำเภอ 8.พัฒนาระบบข้อมูล 9.นิเทศติดตาม
เป้าหมาย : โรงพยาบาล F2 ขึ้นไปที่มีระบบ ECS คุณภาพ ร้อยละ 70 จังหวัดศรีสะเกษ โรงพยาบาล ทุกแห่ง มีการพัฒนาระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉิน (Emergency Care System) เพื่อรองรับสาธารณภัย 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน พัฒนาคู่มือ หลักเกณฑ์ ECS คุณภาพ จัดพิมพ์ แจกจ่าย ชี้แจง แนวทางการพัฒนา ECS คุณภาพ ในทุกระดับ จังหวัด/รพ. ประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์ผล พัฒนากลไกการจัดการ ที่สำคัญ สนับสนุน ความร่วมมือระหว่าง จังหวัด/อำเภอ รพ.มีการประเมิน ECS คุณภาพ จังหวัด /อำเภอ ทราบผลการประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์ แนวทางพัฒนาตามนโยบายมุ่งเน้น ปี 2560 รพ.แต่ละระดับมีแผนรองรับ สาธารณภัย กำหนดบุคลากรผู้รับผิดชอบชัดเจน บุคลากร ของรพ.และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ตามหลักสูตร ICS หลักสูตร HOPE หลักสูตร MERT หลักสูตร Mini MERT หลักสูตร CLS ฝึกซ้อมแผนตามแผนฯ ประเมินประสิทธิภาพของหน่วยงาน ณ จุดเกิดเหตุ สรุปปัญหา และ ข้อเสนอแนะ จากโรงพยาบาล หน่วยงาน ในระดับจังหวัด/อำเภอ -เชื่อมโยงระบบ ICS/PHER/PHEOC ภายในจังหวัด/อำเภอ
ตัวชี้วัด : อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน เป้าหมาย : ลดอัตราตายจากการบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนไม่เกิน 16 ต่อประชากรแสนคน มาตรการบริหารจัดการ SAT/EOC-RTI คุณภาพ TEA Unit คุณภาพ (รพ. ทุกแห่ง) สสอ./รพช. เป็นเลขา ร่วมใน ศปถ. อำเภอ จังหวัดมีแผนและสนับสนุนงบประมาณ RTI มาตรการข้อมูล 4I Integration of Data 3ฐาน IS online รพ. A S M1 Investigation Information นำเสนอ ข้อมูลจุดเสี่ยงผ่าน ศปถ. อย่างน้อย 5 จุด/จังหวัด/ อำเภอ/ไตรมาส (20 จุด/ปี) มาตรการป้องกัน ACDR Ambulance Safety Community Checkpoint(ด่าน) DHS-RTI RTI Officer เจ้าหน้าที่ความ ปลอดภัยทางถนน (จปถ.) ในหน่วยงาน มาตรการรักษา พัฒนาคุณภาพ 2 EIR EMS คุณภาพ ER คุณภาพ In-hos คุณภาพ Referral System 1 1 1 2 2 2 3 1 3 3 4 4 2 4 3 4 Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน จังหวัด/อำเภอมีแผนงานโครงการและสนับสนุนงบประมาณ RTI ครบทุกอำเภอ มีแผนปฏิบัติการSAT/EOC-RTI ในจังหวัด/อำเภอ ครบทุกอำเภอ 3. สสอ./รพช.เป็นเลขาร่วม ใน ศปถ. อำเภอ โดยนำเสนอ ข้อมูลของพื้นที่ อย่างน้อย50% มีการดำเนินงานของ TEA Unit คุณภาพ ในรพท./รพช. ทุกแห่ง มีการปรับข้อมูลการตายของจังหวัด โดยใช้ข้อมูล 3 ฐาน มีอำเภอดำเนินงาน DHS-RTI ทุกอำเภอ มีระบบรายงานข้อมูล IS Online มีระบบรายงานการสอบสวน Online และการสังเคราะห์ข้อมูล จำนวนผู้บาดเจ็บ(Admit)รวมกับผู้เสียชีวิตในอำเภอDHS-RTI ที่ดำเนินการด่านชุมชน ลดลง 5% ในช่วงเทศกาล (ปีใหม่และสงกรานต์) มี one stop center นำเสนอข้อมูล RTI ผ่าน web & mobile มีอำเภอเป้าหมาย ผ่านเกณฑ์ DHS-RTI ระดับดี 50% มีการนำเสนอจุดเสี่ยงมากกว่า440 จุด ไม่มีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุรถพยาบาล ผู้บาดเจ็บที่มีค่า Ps>0.75 เสียชีวิต ไม่เกิน 1.5% เป้าหมายลดการตายจากการบาดเจ็บจากการจราจรทางบก ไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน (ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2559 อัตราตาย = 18.9 ต่อประชากรแสนคน มาตรการในการดำเนินงานของกระทรวงสาธารณสุข แบ่งเป็น 4 มาตรการ ในแต่ละมาตรการมีกิจกรรมสำคัญ 4 กิจกรรม ชื่อเล่น มาตรการ 4X4 มีดังนี้ มาตรการบริหารจัดการ : รับผิดชอบโดย สำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน มาตรการบริหารจัดการข้อมูล 4I มาตรการป้องกัน รับผิดชอบโดยกรมควบคุมโรค และกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ มาตรการรักษา รับผิดชอบโดยกรมการแพทย์ และสำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน
เป้าหมายการดำเนินงานของจังหวัดศรีสะเกษ จุดเน้น ปี 2561 DHS-RTI ตัวชี้วัด : จำนวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจากการจราจรทางถนนในอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI เป้าหมาย : จำนวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บทางถนนในอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI ผ่านเกณฑ์ระดับดี ลดลงอย่างน้อย 5% มาตรการ ขับเคลื่อน DHS-RTI + ศปถ. อำเภอ จัดการข้อมูลในระดับอำเภอ การสอบสวน Case การมีส่วนร่วมของทีมสหสาขา + ศปถ.อำเภอ การชี้เป้าจุดเสี่ยง ผ่าน ศปถ.อำเภอ การขับเคลื่อนให้เกิด RTI Team มาตรการชุมชน/ด่านชุมชน มาตรการองค์กร มีแผนงาน/โครงการ การสื่อสารความเสี่ยง การสรุปผลการดำเนินงาน Ambulance safety เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางถนน เป้าหมายการดำเนินงานของจังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 22 อำเภอ ร้อยละ 30 ของอำเภอในจังหวัดผ่านเกณฑ์ระดับเข้มข้น (7 อำเภอ) ร้อยละ 50 ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับดี (11 อำเภอ) เกณฑ์การให้คะแนนปี 2560 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน >1 % ≥2% ≥3% ≥4% ≥5% การประเมินผล : ใช้ฐานข้อมูล e-claim ของบริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จำกัด ความถี่การจัดเก็บข้อมูล: ปีละ 1 ครั้ง เมื่อสิ้นไตรมาสที่ 4 Small Success ตัวชี้วัดนี้เป็น Joint KPI ระดับกระทรวง ในส่วนของกรมควบคุมโรค จะมีการดำเนินการโดย ส่วนกลาง/เขต/ขับเคลื่อน DHS/DC + ศปถ.อำเภอ ดำเนินการมาตรการชุมชน/ด่านชุมชน RTI Team แก้ไขปัญหาแบบมีส่วนร่วมของทีมสหสาขา ติดตามประเมินผล อำเภอ/จังหวัด - รพ.สธ. ใช้มาตรการ Ambulance safety โดยวัดความสำเร็จคือ 3 เดือน ร้อยละ 20 ของจังหวัดมีการบูรณาการข้อมูล 3 ฐานและนำไปใช้ประโยชน์ รวมทั้งชี้เป้าจุดเสี่ยง 380 จุด 6 เดือน - จัดทำรายงานเสนอศูนย์อำนวยการเพื่อความปลอดภัยทางถนนเพื่อขอมติให้ข้อมูลตาย 3 ฐานเป็นข้อมูลอ้างอิง - จำนวนอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI ไม่น้อยกว่า 30% ของอำเภอในจังหวัด 9 เดือน - มีระบบรายงานการสอบสวนใน Web Based - อุบัติเหตุรถพยาบาลลดลง 50% 12 เดือน - ร้อยละ 80 ของจังหวัดมีการบูรณาการข้อมูล 3 ฐาน, จังหวัดชี้เป้าจุดเสี่ยง 1,520 จุด, DHS-RTI ผ่านเกณฑ์ระดับดี 50%, 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1. หน่วยงานระดับจังหวัด/อำเภอ มีแผนงาน DHS-RTI และมีกิจกรรมขับเคลื่อนในพื้นที่ครบ ทุกอำเภอ 100% 1.อำเภอทุกแห่งดำเนินการ DHS-RTI 100% ของอำเภอในจังหวัด 2.จำนวนอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI มีการขับเคลื่อนด่านชุมชน ไม่น้อยกว่า 5 ด่าน/อำเภอ ในช่วง เทศกาลปีใหม่ จำนวน 22 อำเภอ 1. จำนวนอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI มีการขับเคลื่อน ด่านชุมชน ไม่น้อยกว่า 5ด่าน/อำเภอ ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ จำนวน 22 อำเภอ 1. จำนวนอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับดี (Good) มากกว่า 50% ของอำเภอที่ดำเนินการ 2. จำนวนผู้เสียชีวิตรวมผู้บาดเจ็บทางถนน ในอำเภอที่ดำเนินการ DHS-RTI ผ่านเกณฑ์ระดับดี ลดลงอย่างน้อย 5%
การป้องกันอุบัติเหตุ พื้นที่ดำเนินการ ปี 2561 การป้องกันอุบัติเหตุ พื้นที่เร่งรัด 1. ไพรบึง 2. 3. บึงบูรพ์ 4. ห้วยทับทัน 5. วังหิน พื้นที่แหล่งเรียนรู้ 1. ขุนหาญ 2. ยางชุมน้อย 3. กันทรลักษ์ 4. อุทุมพรพิสัย
อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า15 ปี เสี่ยงมาก (≥7.5) เสี่ยงปานกลาง (5-7.4) เสี่ยงน้อย (≤5) อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า15 ปี เป้าหมาย : อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี ≤ 4.5/แสน จุดเน้น ปี 2561 1. สนับสนุน/สร้างทีม เครือข่ายผู้ก่อการดี ป้องกันการจมน้ำ 2. ดำเนินการตาม แนวทางประเมิน รับรองผู้ก่อการดี ของสำนักโรค ไม่ติดต่อ 3. ติดตามประเมิน รับรองทีม ผู้ก่อการดี ระดับอำเภอ แนวทาง 1.คปสอ. ต้องมีการจัดอบรมครู ข.สอนเด็กว่ายน้ำ เพื่อเอาชีวิตรอด ทุกอำเภอ 2.เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี มีทักษะการว่ายน้ำ เพื่อเอาชีวิตรอด 3.คปสอ.จัดหาสระว่ายน้ำแบบมาตรฐานหรือสระว่าย น้ำเคลื่อนที่สำหรับสอนเด็กว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด (โดยของบจาก อปท.) 4.มีการแก้ไขแหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชน โดยความ ร่วมมือของชุมชนและท้องถิ่น(แหล่งน้ำที่มีคนใช้ มากและหรือมีคนจมน้ำเสียชีวิต) 5.มีระบบฐานข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วนสามารถ นำมาวิเคราะห์หาสาเหตุ 6.มีระบบสอบสวนกรณีเสียชีวิต ทุกราย และมีการลงประชาชาคม ทุกครั้ง ที่มีเด็กเสียชีวิต 7.มีระบบการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและให้ความรู้ เรื่องการป้องกันเด็กจมน้ำในคลินิกเด็ก ดี/ANC/OPD/ศูนย์เด็ก 8.การประเมินผู้ก่อการดี ทุกอำเภอมาตรการ : เป้าหมายผลลัพธ์ ระยะสั้น 1.มีการสำรวจแหล่งน้ำเสี่ยงในทุกอำเภอ 2.การแก้ไขแหล่งน้ำเสี่ยงอย่างน้อย ร้อยละ 80 3.มีการฝึกสอน CPR ในการช่วยเหลือคนจมน้ำ ระยะยาว 1.อัตราการเสียชีวิตในเด็กอายุ ต่ำกว่า 15 ปี ลดลง 2.ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องรับรู้และร่วมมือ ดำเนินการ 3.เด็กนักเรียนอายุต่ำกว่า 15 ปี สามารถว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดได้ อย่างน้อย ร้อยละ 30
อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า15 ปี เป้าหมาย : อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี ≤ 4.5/แสน มาตรการ : สนับสนุน/สร้างทีมเครือข่ายผู้ก่อการดีป้องกันการจมน้ำ ติดตามประเมินรับรองทีมผู้ก่อการดี ดำเนินการตามแนวทางประเมินรับรองผู้ก่อการดีฯ สำนักโรคไม่ติดต่อ Small success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน มีการวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลการจมน้ำเป็นรายอำเภอ/ตำบล/หมู่บ้านย้อนหลัง 5 ปี ทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ สนับสนุน/ กระตุ้น/ร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานตามองค์ประกอบผู้ก่อการดีระดับทองและระดับทองแดง สนับสนุน/ กระตุ้น/ร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานตามองค์ประกอบผู้ก่อการดีระดับทองและระดับทองแดงตามแนวทางผู้ก่อการดี อำเภอที่พื้นที่เสี่ยงมาก(แดง)และอำเภอที่มีพื้นที่เสี่ยงปานกลาง(เหลือง) ร้อยละ 50 ของจำนวนตำบลในอำเภอ มีทีมผู้ก่อการดีระดับทองแดง อย่างน้อยอำเภอละ 1 ทีม จังหวัดศรีสะเกษต้องมีทีมผู้ก่อการดีระดับทอง อย่างน้อย 2 อำเภอ จำนวนผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำลดลง พื้นที่เสี่ยงมาก ลดลงร้อยละ 20 พื้นที่เสี่ยงปานกลาง ลดลงร้อยละ 10 พื้นที่เสี่ยงน้อย ลดลงอย่างน้อย 1 คน Small success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน มีการวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลการจมน้ำเป็นรายอำเภอย้อนหลัง 5 ปี ทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ สนับสนุน/ กระตุ้น/ร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานตามองค์ประกอบผู้ก่อการดีระดับทองแดง ≥ 6 องค์ประกอบ จังหวัดพื้นที่เสี่ยงมาก(แดง)และจังหวัดพื้นที่เสี่ยงปานกลาง(เหลือง) ร้อยละ 50 ของจำนวนอำเภอในจังหวัด มีทีมผู้ก่อการดีระดับทองแดง อย่างน้อยอำเภอละ 1 ทีม จังหวัดพื้นที่เสี่ยงน้อย(เขียว) ทีมผู้ก่อการดีระดับทองแดง อย่างน้อย 1 ทีม จำนวนผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำลดลง พื้นที่เสี่ยงมาก ลดลงร้อยละ 20 พื้นที่เสี่ยงปานกลาง ลดลงร้อยละ 10 พื้นที่เสี่ยงน้อย ลดลงอย่างน้อย 1 คน
พื้นที่ดำเนินการ ปี 2561 การป้องกันการจมน้ำ ผู้ก่อการดีระดับทอง 1. ขุนหาญ 2. ปรางค์กู่ 3.เมืองศรีสะเกษ ผู้ก่อการดีระดับเงิน 14.บึงบูรพ์ 15.น้ำเกลี้ยง 16.วังหิน 17.เบญจลักษ์ 18. พยุห์ 19. โพธิ์ศรีสุวรรณ 20. ศิลาลาด ขยายไป ภาคีเครือ ข่าย ผู้ก่อการดีระดับเงิน 1. กันทรลักษ์ 2. กันทรารมย์ 3. เมืองศรีสะเกษ 4. อุทุมพรพิสัย 5. ราษีไศล 6. โนนคูณ 7. ขุขันธ์ 8. ยางชุมน้อย 9. ศรีรัตนะ 10.เมืองจันทร์ 11.ห้วยทับทัน 12.ไพรบึง 13. ภูสิงห์
ประเมินผู้ก่อการดี ทุกอำเภอ
5 งานสุขภาพจิต
ตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 คณะที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จไม่เกิน 6.3/แสนประชากร Service Outcome 1 ร้อยละของผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับมาทำร้ายตัวเองซ้ำในระยะเวลา 1 ปี (ร้อยละ 90) 4 1 2 ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต (≥ ร้อยละ 55) 3 3 2 ร้อยละของผู้ป่วยโรคติดสุราเข้าถึงบริการสุขภาพจิตเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา (ร้อยละ 1) 4 ร้อยละของผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นเข้าถึงบริการสุขภาพจิต (ร้อยละ 9)
นโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต จังหวัดศรีสะเกษ ปีงบประมาณ 2561 นโยบายการดำเนินงานสุขภาพจิต จังหวัดศรีสะเกษ ปีงบประมาณ 2561 ประชาชน คนศรีสะเกษ สุขภาพจิตดี มีความสุข ทุกกลุ่มวัย วัยเด็กปฐมวัย/วัยเรียน/วัยรุ่น วัยทำงาน ผู้สูงอายุ ผู้พิการ
แนวทางการดำเนินงาน 2561 1.บูรณาการงานสุขภาพจิตตามกลุ่มวัย DHS สุขภาพจิต ตามกลุ่มวัย 2.ทีมสาธารณสุขประสานการดำเนินงานร่วมกับเครือข่ายผู้ปกครอง/คุณครู 3. พัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉิน ระหว่างเครือข่าย 4. การเฝ้าระวังและการเข้าถึงระบบบริการของผู้ป่วย โรคซึมเศร้า /ลดอัตราฆ่าตัวตาย ในพื้นที่เสี่ยงสูง 5. เน้นการเข้าถึงระบบบริการในกลุ่มเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า 6.พัฒนาระบบข้อมูล/ศักยภาพบุคลากร/สร้างขวัญกำลังใจ 7. Coaching โซน /นิเทศเฉพาะกิจแบบบูรณาการ
พื้นที่เป้าหมาย ดำเนินการแก้ไขปัญหา อัตราการฆ่าตัวตาย >6.3/แสนประชากร ปี 61
เป้าหมายพื้นที่ดำเนินการสุขภาพจิต ปี 2561 1. เข้าถึงบริการของเด็กสมาธิสั้น ,เด็กออทิสติก ทุกอำเภอ 2. เร่งรัดเฝ้าระวังภาวะซึมเศร้า *กันทรลักษ์ ขุขันธ์ ขุนหาญ ราษีไศล อุทุมพรพิสัย ห้วยทับทัน ภูสิงห์ พยุห์ 3. เร่งรัดเฝ้าระวังโรคจิตเภท ปรางค์กู่ ศิลาลาด 4. เร่งรัดเฝ้าระวังการฆ่าตัวตาย***ราษีไศล ยางชุมน้อย เมืองจันทร์ ห้วยทับทัน ปรางค์กู่ วังหิน ขุขันธ์ ไพรบึง ศรีรัตนะ ขุนหาญ บึงบูรพ์
ตัวชี้วัด : อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จ เป้าหมาย : อัตราตายฆ่าตัวตายสำเร็จ ไม่เกิน 6.3 ต่อแสนประชากร มาตรการ 1. กำหนดผู้รับผิดชอบงานที่ชัดเจนของแต่ละหน่วยบริการ 2. จัดทำแผนงานโครงการ/ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. ส่งเสริมสนับสนุน/พัฒนาบุคลากรในพื้นที่ 3. รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูล/นำเสนอข้อมูล/คืนข้อมูล ให้ชุมชน 4. ดำเนินการเฝ้าระวัง ดูแลช่วยเหลือและติดตามดูแล ผู้พยายามฆ่าตัวตายในพื้นที่ 5. พัฒนาระบบข้อมูล 6. จิตแพทย์ เป็นพี่เลี้ยงในการดูแลรักษา 7. สนับสนุนให้หน่วยบริการในพื้นที่พัฒนานวัตกรรม หรือ Best Practice 6. นิเทศติดตาม โดยทีมจิตแพทย์/เครือข่าย จุดเน้น 1.การบันทึก ข้อมูล506S ให้ครบถ้วน 2.การคัดกรอง กลุ่มเสี่ยง 3.การเฝ้าระวัง กลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด : อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จ เป้าหมาย : อัตราตายฆ่าตัวตายสำเร็จ ไม่เกิน 6.3 ต่อแสนประชากร มาตรการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน จัดทำแผนงานโครงการ ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1.ดำเนินงานตามแผนงาน โครงการ 1.สรุปผลการดำเนินงาน 2. รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูล คืนข้อมูลให้ชุมชน 3. สรุปผลการดำเนินงาน ทุกเดือน 2. รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูล คืนข้อมูลให้ชุมชน 3. สรุปผลการดำเนินงาน ทุกเดือน 2. นิเทศติดตาม 5. คัดกรองประชากรกลุ่มเสี่ยง ตามแนวทางที่กำหนด 5. เฝ้าระวังผู้ที่พยายาม ฆ่าตัวตาย 4. คัดกรองประชากรกลุ่มเสี่ยง ตามแนวทางที่กำหนด
6 งานพัฒนาคุณชีวิตผู้พิการ OSCC ศูนย์พึ่งได้ งานป้องกันบุหรี่สุรา
บุหรี่สุรา 1.จัดทำแผนงาน/โครงการควบคุมยาสูบและแอลกอฮอล์ ระดับอำเภอ 1.จัดทำแผนงาน/โครงการควบคุมยาสูบและแอลกอฮอล์ ระดับอำเภอ 2. สร้าง/พัฒนากลไกการควบคุมยาสูบ และเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ ในระดับอำเภอ 3. ค้นหา/คัดกรอง (ผู้สูบ/ผู้ติดบุหรี่,ดื่ม/ติดแอลกอฮอล์ ) 4. บำบัดในระดับ รพ.สต./รพ. ทุกแห่ง (การเข้าถึงระบบบริการ ,การบำบัดให้ได้ทุกราย) 5. ติดตามหลังบำบัด 6. ประชาสัมพันธ์และตรวจสอบการบังคับใช้ กฎหมายในพื้นที่ 7. ประชาสัมพันธ์เพื่อป้องกันกลุ่มเสี่ยงในชุมชน. 8. ร่วมกับสถานศึกษาในการป้องกัน/บำบัด/ติดตาม.
บุหรี่สุรา
7 ยาเสพติด TO BE NUMBER ONE
ยาเสพติด 1.ด้านการส่งเสริมป้องกัน ไม่เสพสารเสพติด 1.ด้านการส่งเสริมป้องกัน ไม่เสพสารเสพติด 1) ดำเนินการโครงการ TO BE NUMBER ONE อย่างจริงจังและต่อเนื่อง 2) รณรงค์สร้างความรู้ให้ประชาชนและเยาวชน เรื่องโทษของยาเสพติด 3) สร้างเสริมภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติด ในสถานศึกษา สถานประกอบการและชุมชน ตามกลไกประชารัฐ 2.ด้านคัดกรอง บำบัดฟื้นฟู ติดตามผู้ป่วยยาเสพติด อย่างมีคุณภาพมาตรฐานให้ครอบคลุมและทั่วถึง 1) ร่วมมือกับภาคีเครือข่ายในการค้นหา เป็นกลไกประชารัฐ 2) รพ.สต. ,รพช. ,รพท. ,รพศ. , รพ.ธัญญารักษ์ สังกัดกรมการแพทย์ และ รพ.สังกัดกรมสุขภาพจิต 3) กำกับ ดูแล มาตรฐานของหน่วยบริการ ภาคีเครือข่าย เช่น ค่ายา
ยาเสพติด 3.การลดอันตรายจากการใช้ยา เสพติด 3.การลดอันตรายจากการใช้ยา เสพติด 1) รพ.สต. ,รพช. ,รพท. ,รพศ. , รพ.ธัญญารักษ์ สังกัดกรมการแพทย์ และ รพ.สังกัดกรมสุขภาพจิต ดำเนินการมาตรการ ลดอันตรายจากการ ใช้ยาเสพติด 4.มีกลไกการดำเนินงาน การกำกับติดตามงานยาเสพติด 1) จัดตั้งหน่วยงานยาเสพติด ระดับเตสุขภาพ จังหวัด อำเภอ รพ.ทุกแห่ง 2) ใช้กลไก ศปส.อ. ,ศปส.จ. 3) ร่วมกับคณะอนุกรรมการฟื้นฟูระดับจังหวัด กำกับ ดูแล ดูแลผู้ป่วยยาเสพติดในระบบ บังคับบำบัด
2.มาตรฐานการบำบัดรักษา ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด เป้าหมาย : ผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนดร้อยละ 92 1.ระบบคัดกรอง 1.1 พัฒนาศักยภาพศูนย์คัดกรองในอำเภอทั้งตั้งรับ/เชิงรุก และทีมคัดกรองต้องมีความรู้ในการใช้แบบคัดกรอง(V2) 1.2 รพ.สต.ดำเนินการคัดกรอง/บำบัด/ฟื้นฟู และติดตามผู้ป่วยยาเสพติด ได้อย่าง มีคุณภาพ 2.มาตรฐานการบำบัดรักษา 2.1 การค้นหาผู้เสพ ให้ใช้แนวทาง ตามประกาศ คสช.ที่ 108/2557 2.2 พัฒนาการคัดกรอง โดยใช้แบบ คัดกรองและส่งต่อผู้ป่วยที่ใช้สารเสพติด เพื่อรับการบำบัด (V2) จำแนกเป็น ผู้ใช้/ ผู้เสพ/ผู้ติด 2.3 พัฒนาศักยภาพวิทยากรค่ายศูนย์ขวัญ แผ่นดินให้ได้มาตรฐาน 2.4 พัฒนาความรู้/ทักษะเจ้าหน้าที่ผู้บำบัด ในสถานบริการสาธารณสุข 2.5 พัฒนา รพท./รพช.ให้ผ่าน HA 100% 2.6 พัฒนา รพ.สต.บำบัดยาเสพติดให้มีคุณภาพ 2.7 ระบบรายงาน บสต.ใหม่ ให้ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา 3.การช่วยเหลือฟื้นฟู 3.1 ติดตามช่วยเหลือฟื้นฟูให้ครบตามเกณฑ์ อย่างน้อย 4 ครั้ง 3.2 มีศูนย์ติดตามช่วยเหลือฟื้นฟูระดับจังหวัดอำเภอ 3.3 ระบบข้อมูลยาเสพติด บสต.ใหม่ รายงานให้ครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด เป้าหมาย : ผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษา ตามเกณฑ์กำหนดร้อยละ 92 มาตรการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน จัดทำแผนงานโครงการ แต่งตั้งคณะกรรมการฯ -จัดค่าศูนย์ขวัญแผ่นดินจังหวัด ศรีสะเกษ รุนที่ 1 จัดอบรมพัฒนาบุคคลากรด้านการบำบัด รักษายาเสพติดตามความต้องการของพื้นที่ ประเมินติดตามปัญหาอุปสรรค การนำเกณฑ์การคัดแยกกลุ่มผู้ป่วยไปใช้ในพื้นที่ ติดตามและประเมินผลลัพธ์การดำเนินการ วิเคราะห์และประเมินความต้องการพัฒนาบุคลากรด้านการบำบัดรักษายาเสพติดในแต่ละพื้นที่ -สรุปผลการดำเนินงานตาม บสต.ใหม่ ทุกเดือน วิเคราะห์และประเมินความต้องการพัฒนาบุคลากรด้านการบำบัดรักษายาเสพติดในแต่ละพื้นที่ -สรุปผลการดำเนินงานตามสต.ใหม่ ทุกเดือน -สรุปผลการดำเนินงาน ตาม บสต.ใหม่ ทุกเดือน ติดตาม/แจ้งให้พื้นที่ทำแผนพัฒนาและรับรองคุณภาพสถานพยาบาลยาเสพติด (HA ยาเสพติด) รพ.ทุกแห่ง ส่งแบบประเมินตนเอง (HA) /รอรับการประเมิน รพ.ทุกแห่ง รอรับการประเมิน (HA) กรมการแพทย์
จุดเน้น ปี 2561 ประเมินHA ยาเสพติด ในปีงบประมาณ 2561 จำนวน 5 อำเภอ 1. รพ.สต.ต้องผ่าน การอบรม BA-BI สามารถคัดกรอง บำบัด ฟื้นฟู ผู้เสพผู้ติด 2. การบันทึกข้อมูล ตามแบบ บสต.ใหม่ 3. พัฒนา รพท./รพช. ให้ผ่าน HA 100% 4. เป้าหมายการบำบัด -สมัครใจ -บังคับบำบัดแบบ ไม่ควบคุมตัว จำนวน 5 อำเภอ 1. เมืองศรีสะเกษ 2. เมืองจันทร์ 3. ศิลาลาด 4. เบญจลักษ์ 5. พยุห์ การเบิกจ่ายงบประมาณงวดที่ 1/2561 ภายในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2561
TO BE NUMBER ONE 1. กำหนดให้วันพฤหัสบดี เป็นวัน TO BE NUMBER ONE จังหวัดศรีสะเกษ 2. ให้บุคลากรทั้งภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน ตลอดทั้ง ประชาชน ร่วมรณรงค์สวมใส่เสื้อ TO BE NUMBER ONE ของจังหวัดศรีสะเกษ ทุกวันพฤหัสบดีของสัปดาห์ ในการปฏิบัติงานของทุกภาคส่วน หรือในชีวิตประจำวัน
ประกาศจังหวัดศรีสะเกษ TO BE NUMBER ONE SISAKET
โดย.. สั่งเสื้อได้ TO BE NUMBER ONE SISAKET ที่ สำนักงานสาธารณสุขศรีสะเกษ กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด ผู้ประสานงาน -นางจุฑารัศม์ กิ่งมณี 085 4115471 -นางวนิดา สมภูงา 081 9760839 -เบอร์โทร กลุ่มงาน NCD 045 616040-6 ต่อ 109 TO BE NUMBER ONE SISAKET
ประกาศจังหวัดศรีสะเกษ TO BE NUMBER ONE SISAKET ตามรูปแบบที่จังหวัดกำหนด โดยสามารถดาวน์โหลดได้ที่ http://www.ssko.moph.go.th/tobe TO BE NUMBER ONE SISAKET
แบบที่ 1 ติดตั้งบริเวณหน้าศาลากลาง ประกาศจังหวัดศรีสะเกษ เรื่อง การรณรงค์ สร้างกระแส ปลุกจิตสำนึก และประชาสัมพันธ์โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE จังหวัดศรีสะเกษ แบบที่ 1 ติดตั้งบริเวณหน้าศาลากลาง TO BE NUMBER ONE SISAKET
TO BE NUMBER ONE SISAKET ประกาศจังหวัดศรีสะเกษ เรื่อง การรณรงค์ สร้างกระแส ปลุกจิตสำนึก และประชาสัมพันธ์โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE จังหวัดศรีสะเกษ แบบที่ 2 ป้ายขนาดใหญ่ติดตั้งหน้าหน่วยงาน/องค์กร/ชุมชน TO BE NUMBER ONE SISAKET
ประกาศจังหวัดศรีสะเกษ TO BE NUMBER ONE SISAKET แบบที่ 3 ป้ายขนาดเล็กติดตั้งภายในหน่วยงาน/องค์กร/ชุมชน TO BE NUMBER ONE SISAKET