เรวัต แสงสุริยงค์ rewat@buu.ac.th ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับการบริการสังคม (Research Method of Social Service) ประเภทของการวิจัย เรวัต แสงสุริยงค์ rewat@buu.ac.th
รูปแบบของการวิจัย (Forms of Research) การวิจัยพื้นฐาน (Basic or Pure Research) – พัฒนาองค์ความรู้ กรอบแนวคิด และทฤษฎี สำหรับทำความเข้าใจพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย์ โดยการค้นหาความรู้เชิงประจักษ์และประยุกต์ใช้ทฤษฎี การวิจัยประยุกต์ (Applied or Policy Oriented) – ตอบปัญหาและแก้ไขปัญหาทางสังคม โดยการประเมินผล สำรวจความต้องการ และคาดคะเนสถานการณ์ทางสังคม เพื่อประกอบการตัดสินใจและนำไปใช้ในการกำหนดนโยบายทางสังคม
ประเภทของการวิจัย (Types of Research) #1 การสำรวจ (Exploratory)—What? การพรรณนา (Descriptive)—What? & How? การอธิบาย (Explanatory)—What?, How? & Why? การประเมิน (Evaluation)—Does it work?
ประเภทของการวิจัย (Types of Research) #2 เชิงพรรณนา (Descriptive) - บรรยายปรากฏการณ์โดยไม่ใช้ทฤษฎี เชิงปรัชญา (Philosophical) - อธิบายปรากฏการณ์โดยไม่ใช้ข้อมูลและอ้างอิงทฤษฎี เชิงทฤษฎี (Theoretical) - อธิบายปรากฏการณ์โดยใช้ทฤษฎีใดทฤษฎีหนึ่งแต่ไม่ใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ หรือกรณีศึกษา สร้างทฤษฎี (Theory generating) - วิเคราะห์/ตีความข้อมูลเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพอย่างเป็นระบบ เพื่อสร้างตัวแบบ ทดสอบทฤษฎี (Theory testing) - ทดสอบทฤษฎีโดยใช้ข้อมูลเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพอย่างเป็นระบบ ที่มา: Grönlund, Åke and Adndersson, Annika. 2007. E-Gov Research 2003-2006: Improvements and Issues. Cyber Tech Publishing
การสร้างทฤษฎี A theory Observations of world events A set of relationships A B C D E Case studies with Selected group or individuals Surveys and quasi-experimental studies with representative groups Qualitative research Quantitative research Explanation of group tendencies, not necessarily of actions of individuals An instance World events Generalize Through induction Requires explanation Explain by deduction Placing Limitations on explanations Supported by Describes
วิธีการค้นหาคำตอบในสังคมศาสตร์ (Research methods in the social sciences) คำถามการวิจัย (Research question) กรณีศึกษา (Case study) การสำรวจ (Survey) การทดลอง (Experiment) การศึกษาเอกสารและเชิงประวัติศาสตร์ (Documentary and historical) Questionnaire Interview (structured) In-depth interview Observation Content analysis Questionnaire Interview (structured) In-depth interview Observation Content analysis Questionnaire Interview (structured) In-depth interview Observation Content analysis Questionnaire Interview (structured) In-depth interview Oral history interview Observation Text and non-text analysis
การออกแบบการวิจัย (Research Designs) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative) อธิบายประชากรด้วยตัวเลข (numeric) การสำรวจ (Surveys) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative) บอกความหมาย (meaning) ของประชากร ชาติพันธุ์วรรณนา (ethnography), การสัมภาษณ์เชิงชาติพันธุ์วรรณนา (ethnographic interviewing), การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (participant observation) การวิจัยผสมผสาน (Mixed) ค้นหาคำตอบโดยการใช้การวิจัยทั้งวิธีเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพควบคู่กันไป
เปรียบเทียบการวิจัยเชิงคุณภาพกับเชิงปริมาณ (Qualitative v เปรียบเทียบการวิจัยเชิงคุณภาพกับเชิงปริมาณ (Qualitative v. Quantitative) #1 เชิงปริมาณ (Quantitative) เชิงคุณภาพ (Qualitative) วิธีการ (Approach to setting) สร้างระบบการควบคุมแบบจำลอง (Artificial controlled setting) เช่น การทดลอง การสำรวจ (experiments, surveys) เลือกกลุ่มตัวอย่าง (Selected samples) เริ่มต้นตามธรรมชาติจากการกระทำทางสังคม ( social actors) เน้นบริบททั้งหมด (whole context) จุดมุ่งหมายของการวิจัย(Aim of research) วัดผล (measurement) พรรณนา (descriptions) เชิงปริมาณ อธิบาย (Explanation) และทำนาย (prediction) พรรณนาเชิงลึก (In-depth) ทำความเข้าใจด้วยการตีความ (Interpretive understanding: Verstehen) จากการกระทำและเหตุการณ์ (actions and events) กลยุทธ์การวิจัย (Research strategy) สมมติฐานเชิงนิรนัย (Hypothetico-deductive) กฎทั่วไป (Generalising) ระดับสถาบัน (nomothetic) กลุ่มตัวอย่างแบบความน่าจะเป็น (Probability sample) สุ่มกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ (Large random sample) ออกแบบตามข้อกำหนดและโครงสร้าง (Structured, standardised design) อุปนัย (Inductive) สร้างทฤษฎีและสมมติฐานใหม่ การตีความ (Contextualising) ระดับบุคคล (idiographic) กลุ่มตัวอย่างไม่ใช่ความน่าจะเป็น (Non-probability sample) กลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก (Small sample) ออกแบบตามความเหมาะสมกับสถานการณ์ (Flexible design) วิธีการแบบผสม (multi-method approach)
เปรียบเทียบการวิจัยเชิงคุณภาพกับเชิงปริมาณ #2 (Qualitative v เปรียบเทียบการวิจัยเชิงคุณภาพกับเชิงปริมาณ #2 (Qualitative v. Quantitative) เชิงปริมาณ (Quantitative) เชิงคุณภาพ (Qualitative) บทบาทของนักวิจัย (Role of researcher) นักวิจัยแต่ละคนมีความสำคัญน้อยกว่าเครื่องมือ(instrument) ที่ใช้ นักวิจัยไม่เกี่ยวข้องหรือทำหน้าที่สังเกต/เก็บข้อมูล (observer) นักวิจัยคือเครื่องมือหลักของกระบวนการวิจัย นักวิจัยมีความเกี่ยวข้องกับกลุ่มตัวอย่างอย่างใกล้ชิดทั้งด้านความรู้สึก (subject) ความน่าไว้วางใจ (trustworthiness) และความน่าเชื่อถือ (credibility) ตรรกะของการสร้างทฤษฎี (Logic of theory construction ) การนิรนัย (Deductive) การอุปนัย (Inductive) ทิศทางของการสร้างทฤษฎี (Direction of theory construction ) เริ่มจากทฤษฎี (Begins from theory ) เริ่มจากความเป็นจริง (Begins from “reality“) การพิสูจน์ความจริง (Verification) หลังจากสร้างทฤษฎีเสร็จแล้ว (Takes place after theory construction is completed) สรุปข้อมูล วิเคราะห์ และตรวจสอบทฤษฎีพร้อมกันไป (Data generation, analysis & theory verification take place concurrently )
เปรียบเทียบการวิจัยเชิงคุณภาพกับเชิงปริมาณ #3 (Qualitative v เปรียบเทียบการวิจัยเชิงคุณภาพกับเชิงปริมาณ #3 (Qualitative v. Quantitative) เชิงปริมาณ (Quantitative) เชิงคุณภาพ (Qualitative) แนวคิด (Concepts) นิยามก่อนทำการวิจัย (Defined before research) แนวคิดแบบกว้างหรือยืดหยุ่น (Flexible) เริ่มจากแนวคิดที่รู้สึกว่าเป็นสิ่งใหม่ (concepts - begins with orienting, sensitizing concepts๗ การสร้างข้อสรุป (Generalizations) สรุปแบบอุปนัย (inductive generalizations)โดยใช้สถิติเชิงอ้างอิง (use of inferential statistics) หรือ การนิรนัยจากสมมติฐาน (hypothetico-deductive) โดยใช้การทดสอบสมติฐาน (use of hypothesis testing) สรุปจากการวิเคราะห์ ตัวแทนที่ใช้ในการศึกษา เช่น หน่วยตัวอย่างตัวแทนของแต่ละชั้นหรือกลุ่มของปรากฏการณ์ (Analytic, exemplar generalizations - i.e. sample units can act as typical representatives of a class or group of phenomena)
เปรียบเทียบระเบียบวิธีการวิจัย (Methodology Comparison) เชิงปริมาณ (Quantitative) อธิบาย และทำนาย (Explanation, prediction) ทดสอบทฤษฎี (Test theories) รู้ตัวแปร (Known variables) กลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ (Large sample) เครื่องมือที่มีความเป็นมาตรฐาน (Standardized instruments) นิรนัย (Deductive) เชิงคุณภาพ (Qualitative) อธิบาย และพรรณนา (Explanation, description) สร้างทฤษฎี (Build theories) ไม่รู้ตัวแปร (Unknown variables) กลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก (Small sample) สังเกต และสัมภาษณ์ (Observations, interviews) อุปนัย (Inductive) These are some the differences in the intent and approaches between quantitative and qualitative research. There are other significant differences in approach as well, but these are some of the highlights. Keep in mind that research design is not a simple task.
ต้นเหตุของการเลือกใช้วิธีการวิจัย เชิงปริมาณ วัดแนวคิด (measuring concepts) สร้างเหตุผล (establishing causality) สร้างข้อสรุป (generalizing) การทำซ้ำ (replicating) เน้นที่บุคคล (focusing in individuals) เชิงคุณภาพ เน้นมองไปที่ผู้กระทำในสังคม (using social actors’ point of view พรรณนาแบบละเอียด (describing thickly) เน้นที่กระบวนการทางสังคม (social processes) นำมาใช้ได้อย่างยืดหยุ่น (flexible) พัฒนาแนวคิด (concepts) และทฤษฎี (theory)
การวิจัยเชิงปริมาณ
กระบวนการวิจัยเชิงปริมาณ (The Quantitative Research Process) เลือกหัวข้อวิจัย (Select a research topic) กำหนดวัตถุประสงค์ คำถามการวิจัย และสมมติฐาน (Identify Purpose, Research Questions and Hypotheses) การวางแผน (Planning): นิยามตัวแปร (Define variables) พัฒนา/เลือกการวัด (Develop/select Measures) กำหนดประชากร (Define population) เลือกวิธีการสุ่มตัวอย่าง (Choose sampling techniques) กำหนดกระบวนการรวบรวมข้อมูล (Specify data collection process) กำหนดวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล (Specify data analysis Techniques) รวบรวมข้อมูล (Collect the Data) วิเคราะห์ข้อมูล (Analyze the Data) สร้างกรอบแนวคิดทฤษฎี (Establish a Theoretical Framework)
การวิจัยเชิงคุณภาพ
วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research Methods) อะไร คือ วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ การรวบรวมข้อมูล (collection)/วิเคราะห์ (analysis) เนื้อหาที่มีการจดบันทึกไว้/คำพูด (written/spoken text) การสังเกตโดยตรง (direct observation) จากพฤติกรรม (behavior) การสังเกตโดยการมีส่วนร่วม (participant observation) กรณีศึกษา (case study) การสัมภาษณ์ (interview) วัสดุสิ่งพิมพ์ (written materials) เอกสารที่มีอยู่แล้ว (existing documents) คำถามปลายเปิด (open-ended questions)
การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) #1 การวิจัยเชิงคุณภาพ มุ่งเน้นการวิจัย ดังนี้: มุ่งเน้นกระบวนการ (process) มากกว่า ผลลัพธ์ (outcome) สนใจศึกษากระบวนการทางสังคม (social processes) ตลอดเวลา โดยนักวิจัยอาจใช้เวลายาวนานอาศัยอยู่กับกลุ่มคนหรือชุมชนที่ทำการศึกษา มุ่งเน้นมุมมองของผู้กระทำ (actor’s perspective) จากภายในที่ซ้อนเร้น (insider) หรือ เป็นมุมมองของชุมชนเอง (emic) ว่ามีเหตุการณ์หนึ่งเกิดขึ้น เขาให้ความหมายอย่างไร อธิบายอย่างไร
การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) #2 ยอมรับอัตวิสัย (subjectivity) เป็นศาสตร์ Is this an excuse? ให้ความสำคัญน้อยมากหรือไม่มีการสร้างสมมติฐาน (less driven by hypothesis) ยอมรับใน ความจริงที่เป็นผลผลิตทางสังคม (reality a social construction) If no one knows I’ve been shot, am I really dead? ให้ความสนใจในเรื่องของ ความรู้สึก (subject’s viewpoint) เน้นคำตอบ/ข้อมูลที่แสดงออกมาอย่างอิสระ (open-ended) สนใจมากกับเรื่องของบริบท (context) สนใจน้อยมากกับหลักทั่วไป (general principles) เน้นการตีความ (interpretation) มากกว่าการใช้จำนวนตัวเลข (quantification)
การเลือกใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ ทำความเข้าใจความหมาย (meaning) ในสิ่งที่เข้าไปมีส่วนร่วมในการศึกษาเหตุการณ์ (event) สถานการณ์ (situation) และการกระทำ (action) ทำความเข้าใจบริบท (context) ของการกระทำ และอิทฺธิพล (influence) ของบริบทต่อการกระทำ ในสิ่งที่เราเข้าไปมีส่วนร่วมในการศึกษา ทำการตรวจสอบ (identifying) ปรากฏการณ์ (phenomena) และอิทธิพล (influence) ที่นึกไม่ถึง (unanticipated) และสร้างทฤษฎีฐานราก (ground theory) ทำความเข้าใจกระบวนการ (process) ของเหตุการณ์และการกระทำที่เกิดขึ้น สนับสนุนการอธิบายเชิงสาเหตุ (causal explanation)
การวิเคราะห์ (Analysis) วิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) การสัมภาษณ์ (Interviews) วัสดุสิ่งพิมพ์ (Written materials) คำถามปลายเปิด (Open-ended questions) ภาพยนตร์และเสียงที่บันทึกไว้ (Audio or video recordings) ข้อมูลที่เป็นเชิงตัวเลข (Quantifying) Counts of behaviors/events Categorization of incidents Multiple raters with high agreement ไม่ใช่ข้อมูลเชิงตัวเลข (Nonquantitative) การวิเคราะห์คนหรือสิ่งที่เป็นกรณีศึกษา (Analysis of case) บรรยายเรื่องราวต่างๆ (Narrative description)
กรณีศึกษา (Case Studies) กรณีศึกษา เป็นการวิจัยที่เน้นการสืบสวน/ค้นหา (investigation) ข้อมูลจากหน่วยศึกษาหน่วยใดหน่วยหนึ่งเท่านั้น (a single unit) ซึ่งจำแนกได้เป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้ การปัจเจกบุคคล (Individual case study) – ศึกษารายละเอียดที่เป็นเรื่องราวของ (detailed account) ของคนหนึ่งคน การศึกษาชุมชน (Community studies) – ศึกษาชุมชนหนึ่งชุมชนหรือมากกว่าหนึ่งชุมชน การศึกษากลุ่มสังคม (Social group studies) – เช่น การศึกษาครอบครัว (study of families) การศึกษากลุ่มอาชีพ (occupational groups) เป็นต้น การศึกษาองค์การและสถาบัน (Studies of organisations and institutions) การศึกษาเหตุการณ์ (Studies of events) การศึกษาประเทศหรือชาติ (Studies of countries or nations)
การวิเคราะห์ข้อมูลกรณีศึกษา (Analysing case study data) วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลกรณีศึกษาให้ถูกต้อง (validity) มีแนวทางดังนี้: ใช้ข้อมูลจากหลายแหล่ง (multiple sources) และวิธีการ (methods) เช่น การสัมภาษณ์แบบหลากหลาย (multiple interviews) การสังเกตซ้ำ ๆ หลาย ๆ สถานการณ์ (observation occasions) ผู้ให้ข้อมูลหลาย ๆ คน (multiple informants) ผู้วิจัยหลาย ๆ คน (multiple researchers) เปรียบเทียบรูปแบบ (Pattern matching) – รูปแบบที่เกิดขึ้นจากข้อมูลมีความสอดคล้องกับทฤษฎีที่มีอยู่แล้วหรือทฤษฎีทางเลือก (existing theories or alternative theories) รวมถึงเปรียบเทียบกับกรณีศึกษาอื่น ๆ การสร้างคำอธิบาย (Explanation building) – สร้างคำอธิบายเกี่ยวกับกรณีที่ศึกษา ด้วยการเชื่อมโยงปัจจัยต่าง ๆ และยืนยันคำอธิบายด้วยข้อมูลเชิงประจักษ์
การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant Observation) การวิจัยเชิงชาติพันธ์วรรณนา (Ethnographic research) เป็นการวิจัยที่มาจากมานุษยวิทยาวัฒนธรรม (cultural anthropology) เน้นการพรรณนา (describing) และทำความเข้าใจ (understanding) ความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมและสังคม (cultures and societies) จากการสังเกตพฤติกรรม การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant observation) นักวิจัยคือ ผู้มีส่วนร่วม หรือกลายเป็นผู้มีส่วนร่วมในกลุ่มที่ทำการศึกษา รูปแบบการสังเกตแบบมีส่วนร่วม มีหลายวิธี ตั้งแต่แบบผู้สังเกต (observer) เป็นผู้มีส่วนร่วม ถึง แบบผู้มีส่วนร่วมเป็นผู้สังเกต - นักวิจัยเปิดเผย (disclosed) เรื่องการวิจัย (research subjects) - นักวิจัยปกปิด (covert or undisclosed) - เป็นปัญหาเชิงจรรยาบรรณหรือไม่? ตัวอย่าง: การสังเกตแบบมีส่วนร่วม เช่น เป็นผู้เล่นการเล่นเกมออนไลน์ การสนทนาผ่านห้องสนทนาออนไลน์
การวิจัยเชิงผสมผสาน
แนวทางการทำวิจัยแบบผสมผสาน ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) Mixed Methods วิธีการ (Method) ระเบียบวิธี (Methodology) มุมมองด้านรูปแบบ (Paradigm Perspective) การรวมกันของการออกแบบแบบอื่นๆ (Incorporation into other designs)
สถานการณ์ที่ทำให้ต้องเลือกใช้การวิจัยแบบผสมผสาน (Identifying situations in which mixed methods research is needed) ต้องการความเข้าใจที่สมบูรณ์ (more complete understanding) เพราะการใช้เครื่องมือวัดแนวคิดด้วยวิธีการเชิงปริมาณ ค่าคะแนนที่ได้จากการวัดอาจไม่สามารถบอกเรื่องราวต่างๆได้อย่างสมบูรณ์ ดังนั้นจึงต้องสอบถามหรือสนทนากับประชาชนที่เกี่ยวข้องจำนวนหนึ่งอาจทำให้เกิดความเข้าใจได้ดีขึ้น ต้องการตรวจสอบบริบทตามความแตกต่างของเครื่องมือ (context specific instruments) การสร้างเครื่องมือเพื่อศึกษาแนวคิด นำไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง/ประชากรที่แตกต่างกัน การทำความเข้าใจกลุ่มตัวอย่าง/ประชากรก่อนการพัฒนาเครื่องมือ ทำให้การพัฒนาเครื่องมือเป็นไปด้วยดีและเหมาะสมมากกว่า ต้องการอธิบายผล (explain results) การใช้เครื่องมือรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับตัวแปรปัจจัยเพื่อการทำนายแนวคิดนั้น เป็นการให้ความสำคัญกับตัวทำนาย สามารถอธิบายว่าอะไร (what) และทำไม (why) เป็นผลทำให้เกิดปรากฎการณ์ แต่การวิจัยแบบผสมผสม สามารถบอกได้ว่า ปรากฏการณ์ที่ทำการศึกษามีกลไกในการเกิดอย่างไร (how) ต้องการตรวจสอบการกำหนดปัจจัยแทรก (determine if an intervention will work ) การค้นหาปัจจัยแทรกที่นักวิจัยผู้อื่นพัฒนาไว้ แต่ไม่สามารถค้นหาคำตอบได้จากตัวอย่างที่ทำการศึกษา ดังนั้นจึงต้องใช้วิธีการแบบผสมผสานในการตรวจสอบก่อนที่จะกำหนดตัวแปรแทรก ต้องการเชื่อมโยงขั้นตอนต่างๆ ในกระบวนการประเมินผล (tie together several steps in an evaluation process) เช่นการประเมินประสิทธิภาพขององค์กร เพื่อทำความเข้าใจผลลัพธ์ขององค์กร การใช้เครื่องมือวัดประสิทธิภาพให้คำตอบเฉพาะผลลัพธ์ แต่การวิจัยแบบผสมผสาน จะช่วยอธิบายว่า ทำไม (why) ผลลัพธ์จึงเกิดขึ้น
องค์ประกอบพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการวิจับแบบผสมผสาน (Learning the basic components involved in mixed methods research) การวิจัยแบบผสมผสาน คือ ระเบียบวิธีในการทำวิจัยวิธีการหนึ่ง ที่บูรณาการวิธีการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ ของการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพเข้ามาใช้ในการศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือในโครงการวิจัยในระยะยาว (longitudinal program of inquiry) เป้าหมายของการวิจัยแบบผสมผสานคือ การหลอมรวมการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพเพื่อให้เกิดความเข้าใจปัญหาและประเด็นการวิจัยที่ดีขึ้นกว่าการใช้วิธีการวิจัยแบบเดียว
การผสมผสานข้อมูล (It involves mixing the data) ผสมรวมข้อมูล (Converge data) คุณภาพ (Qual) ผลลัพธ์ (Results) ปริมาณ (Quan) เชื่อมโยงข้อมูล (Connect data) คุณภาพ (Qual) ปริมาณ (Quan) ผลลัพธ์ (Results) ฝังรวมข้อมูล (Embed the data) ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quan data) ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qual data)
การศึกษาเรื่องเดียว (Single Study) การศึกษาแบบเรื่องเดียวหรือหลายเรื่องหรือต่อเนื่อง (It may consist of a single study or multiple studies) การศึกษาเรื่องเดียว (Single Study) คุณภาพ (Qual) ปริมาณ (Quan) ผลลัพธ์ (Results) การศึกษาหลายเรื่อง (Multiple Studies) ปริมาณ (Quan) คุณภาพ (Qual) คุณภาพ (Qual) ปริมาณ (Quan) เรื่องที่ 1 เรื่องที่ 2 เรื่องที่ 3 เรื่องที่ 4
ตัวอย่างข้อสันนิษฐานเชิงปรัชญาที่อยู่เบื้องหลังการวิจัยแบบผสมผสาน (Examining the philosophical assumptions behind mixed methods research) ปรัชญา (Worldview or philosophy) เช่น ทัศนคติและความเชื่อเกี่ยวกับความรู้ (attitudes and beliefs about knowledge) ได้แก่ แนวคิดการสร้างองค์ความรู้ใหม่ (constructivism) หลังปฏิฐานนิยม (post-positivism) ทฤษฎี (Theoretical lens) เช่น สตรีนิยม (feminist) เชื้อชาติ (racial) ระเบียบวิธี (Methodological approach) เช่น การทดลอง (experimental) การสำรวจ (survey) ethnography การผสมผสาน (mixed methods) การรวบรวมข้อมูล (Methods of data collection) เช่น การ สัมภาษณ์ (interviews) การสนทนากลุ่ม (focus groups) Worldview or philosophy – these refer to beliefs or issues regarding epistemology These are theories such as ones from the social sciences, feminist theory , racial theory This is the research approach that is used to conduct the study such as experimental research, survey, ethnography, grounded theory Examples of methods of data collection include interviews, checklists, instruments, interviews, mixed methods
ประเภทของการออกแบบการวิจัยแบบผสมผสาน #1 (Types of mixed methods designs) I. วิธีการผสมผสานแบบยืนยัน (Triangulation Mixed Methods Design) II. วิธีการผสมผสานแบบฝังรวม (Embedded Mixed Methods Design) ปริมาณ (QUAN) ข้อมูลและผลลัพธ์ (Data and Results) ข้อมูลและผลลัพธ์ก่อนการทดสอบ (Pre-test Data and Results) + คุณภาพ (QUAL) ข้อมูลและผลลัพธ์หลังการทดสอบ (Post-test Data and Results) การตีความ (Interpretation) กระบวนการเชิงคุณภาพ (Qual Process)
ประเภทของการออกแบบการวิจัยแบบผสมผสาน #2 (Types of mixed methods designs) III. วิธีการผสมผสานแบบอธิบาย (Explanatory Mixed Methods Design) IV. วิธีการผสมผสานแบบสำรวจ (Exploratory Mixed Methods Design) ปริมาณ (QUAN) ข้อมูลและผลลัพธ์ (Data and Results) คุณภาพ (QUAL) Follow-up Building
วิธีการผสมผสานแบบยืนยัน
วิธีการผสมผสานแบบฝังรวม (Embedded Research Design) การทดลอง (Experiment) การแทรกแซง (Intervention) ก่อนการทดสอบด้วยการรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ (Quan Data collection Pre-test) หลังการทดสอบด้วยการรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ (Quan Data collection Post-test) กระบวนการ (Process) – การรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์จากข้อมูลเชิงคุณภาพ (collection and analysis of qualitative data) ก่อนการทดลอง (before) ระหว่างการทดลอง (during) หลังการทดลอง (after)
วิธีการผสมผสานแบบฝังรวมในการทดลอง (Embedded Design within an Experiment) ระเบียบวิธีการทดลอง (Experimental Methodology) การวิจัยเชิงคุณภาพก่อนการแทรกแซง (qual before intervention) การวิจัยเชิงคุณภาพหลังการแทรกแซง (qual after intervention) ผลลัพธ์ทั้งหมดและการตีความ (Overall results and interpretation) กระบวนการทดลอง (Flow of the experiment ) วัดก่อนการติดตามด้วยวิธีการเชิงปริมาณ (QUAN Pre- Follow-up Measure) วัดหลังการแทรกแซงและติดตามด้วยวิธีการเชิงปริมาณ (QUAN Intervention Post- & Follow-up Measure ขั้นตอน (Procedures): สัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างแบบตัวต่อตัว (One-on-one semi-structured interviews) วิเคราะห์หาใจความสำคัญ (Thematic analysis) ผลที่ได้รับ (Products): Transcripts Developed intervention treatment ขั้นตอน (Procedures): แบ่งกลุ่มทดลองเป็น 3 กลุ่ม: กลุ่มควบคุม (control group) กลุ่มแทรกแซงที่ให้ความร่วมมือ (compliance Intervention group) กลุ่มแทรกแซงที่เป็นสมาชิก (alliance intervention group) – กลุ่มเปรียบเทียบ (group comparisons) วัดผล (Outcome measures): 1) ทัศนคติต่อการรักษา (attitudes toward medication) 2) ความร่วมมือในการดูแลรักษา (adherence to treatment) 3) การหลีกเลี่ยงหวนกลับไปสู่สภาพเดิม (avoidance of relapse) วัดความสำเร็จ DAI 3 ครั้ง (ก่อน หลักง และการติดตาม) ผลที่ได้รับ (Products): Numerical item scores Change scores Test statistics ขั้นตอน (Procedures): การสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างแบบตัวต่อตัว (One-on-one semi-structured interviews) โดยใช้ผู้ให้สัมภาษณ์ (participants) จาก 2 กลุ่มการทดลอง วิเคราะห์หาใจความสำคัญ (Thematic analysis) ผลที่ได้รับ Products: Transcripts Themes and quotes ขั้นตอน (Procedures): Discuss treatment effectiveness Discuss themes in context of interventions and outcomes ผลที่ได้รับ Products: Discussion
การออกแบบขั้นตอนการอธิบายแบบผสมผสาน (An Explanatory Sequential Design) Quantitative Data Collection (QUAN) Quantitative Data Analysis (QUAN) Case Selection Qualitative Data Analysis (QUAL) Interpretation – based on QUAN and QUAL results + Qualitative Data Collection Quantitative Data* Number of cigarettes CES-D6 Qualitative Data* Semi-structured interviews, audio recorded and transcribed Quantitative Analysis Graphic plot of CES D6 scores over time for each participant Graphic plot of cigarettes/day values over time for each participant Case Selection Selected 5 cases maximally varying Identified critical months in which smoking varied Qualitative Analysis Description of each case Identification of life events occurring during critical months where smoking increased or decreased Thematic analysis of life events for each case Cross-case thematic analysis Interpretation Why did changes in smoking occur? *Data collected 10 times *over the course of a calendar year for 40 participants
การออกแบบขั้นตอนการสำรวจแบบผสมผสาน (Exploratory Sequential Design) ช่องที่ 1 การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) 1 ปี การสัมภาษณ์ไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Interviews) - 50 คน (participants) ทำการสังเกตในพื้นที่ (observations at the site) 8 คน และรวบรวมข้อมูลที่เป็นเอกสาร (documents) 16 ฉบับ รวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data Collection) การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data Analysis) วิเคราะห์เอกสาร (Text Analysis): โดยใช้โปรแกรม QSR N6 สรุปผลด้วยเชิงคุณภาพ (Qualitative Findings) สร้างรหัส (codes) และหัวเรื่อง (themes) ของแต่ละพื้นที่ ช่วงที่ 2 การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) 2 ปี สร้างเครื่องมือประมาณ 80 ข้อ รวมถึงคำถามที่เกี่ยวกับประชากร การพัฒนาเครื่องมือด้วยวิธีการเชิงปริมาณ (Quantitative Instrument Development) สำรวจโดยให้ประชากรตอบคำถามด้วยตนเอง (Administer survey) จำนวน 500 คน กำหนดปัจจัย (factor) จากข้อคำถาม (items) และวิเคราะห์หาความเชื่อถือ (reliability analysis) การทดสอบเครื่องมือด้วยวิธีการเชิงปริมาณ (Quantitative Test of the Instrument) ผลลัพธ์เชิงปริมาณ (Quantitative Results) วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างกลุ่มโดยใช้การทดสอบ ANOVA
เอกสารอ้างอิง Creswell, John W. (2007). An Introduction to Mixed Methods Research. [Online]. Available from: http://ssp.unl.edu/wwwfiles/powerpoints/ SSP - 2007-03-09.ppt Creswell, John W. (2008). Qualitative and Mixed Methods Research. [Online]. Available from: http://edstudies.ukzn.ac.za/Libraries/Document_Library/South_Africa_-_KZN_-_Qualitative_and_Mixed_Methods_Research_-_doct_and_masters.sflb.ashx Crotty, Michael J. (1998). The foundations of social research: Meaning and perspective in the research process. London: Sage. Maxwell, Joseph A. (1996). Qualitative Research Design: An Interactive Approach. London: SAGE.