แนวทางและประสบการณ์ การฟื้นฟูพื้นที่ที่ผ่านการทำเหมืองแร่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Water relation : Soil-Plant-Atmosphere continuum
Advertisements

การออกดอกและการสร้างเมล็ดของวัชพืช
6. การแข่งขันระหว่างพืชปลูกกับวัชพืช (competition)
9. พฤติกรรมของสารเคมีกำจัดวัชพืชในต้นพืช
“ไม่มีสิ่งมีชีวิตชนิดใด ที่สามารถอยู่ได้ตามลำพัง”
ความแข็ง ของแร่ธาตุ Tale 1 Gypsum 2 Calcite 3 Fluorite 4 Aputite 5.
การวิเคราะห์สภาพภูมิอากาศ
Gene expression and signal transduction (4 hr)
6.11 น้ำใต้ดิน 1. ชั้นของวัตถุพรุนใต้ระดับน้ำใต้ดิน Zone of Saturation 1.1 Aquifer = วัตถุพรุนมีน้ำบรรจุเต็ม สามารถเคลื่อนย้ายได้เพียงพอในแง่ Economic.
11.7 วิธีการศึกษา Soil Erosion
11.2 ประเภทของ Soil erosion Geologic or Natural or Normal erosion - Leaching (percolation) - Surface erosion - Landslide - Wind erosion Accelerated.
Applied Geochemistry Geol รองศาสตราจารย์ ดร. เบ็ญจว รรณ รัตนเสถียร ภาควิชาธรณีวิทยา คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
9.1 นิยามและ ความหมาย Evaportranspiration = Evaporation + Transpiration Evaporation = The transfer of water into the atmosphere from the free water surface,
การพัฒนาอิฐคอนกรีตน้ำหนักเบาผสมเถ้าปาล์มน้ำมัน DEVELOPMENT OF LIGHTWEIGHT CONCRETE MASONRY UNIT USING OIL PALM ASH นักศึกษา: น.ส.พัชราวรรณ เก๊อะเจริญ อาจารย์ที่ปรึกษา:
LIT MBA รุ่นที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา มกราคม 2559.
การประชุม เพื่อขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาการทับซ้อนของ พื้นที่ป่าไม้และเขตปฏิรูปที่ดิน ระดับจังหวัด โดย นางมิ่งขวัญ วิชยารังสฤษดิ์ ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
Overview Task and Concept of Sensor Part TESA TopGun Rally 2010 Quality Inspection for Smart Factory: Bottled Water ดร.ณรงค์เดช กีรติพรานนท์ อ.นุกูล.
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
ความรู้เรื่องอัคคีภัย Fire Prevention And Control
บทที่ 2 กระบวนการและการวางแผนจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Planning ดร. อัญภัคร์ ประพันธ์เนติวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
ปฐพีศาสตร์ทั่วไป (General soil)
ปฐพีศาสตร์ทั่วไป (General soil)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
การสูญเสียน้ำ.
Water and Water Activity I
การจัดการดินและปุ๋ยสำหรับผักสวนครัว
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
ธาตุอาหารพืช (Plant Nutrient).
อินทรียวัตถุในดิน (Soil Organic Matter).
(Introduction to Soil Science)
การสืบค้นข้อมูลทางเคมี
หลักการเดินสำรวจโรงงาน (walkthrough survey)
(Introduction to Soil Science)
หมวด ง. งานดิน งานดิน ขุดดิน ถมดิน บดอัดดิน. หมวด ง. งานดิน งานดิน ขุดดิน ถมดิน บดอัดดิน.
การจัดการการผลิตและการปฎิบัติการ
(Introduction to Soil Science)
จุดมุ่งหมายของการเขียนแบบ
ปฐพีศาสตร์ทั่วไป (General soil)
ทรัพยากรธรรมชาติ และการใช้ทรัพยากร
Air-Sea Interaction 2.
ปฐพีศาสตร์ทั่วไป (General soil)
น้ำในดิน (Soil Water).
โครงสร้างโลก.
กลุ่มสัตว์ทดลอง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข 8 พฤศจิกายน 2559
การกำหนดหลักเกณฑ์ในการจัดทำข้อมูลพื้นฐาน
บทที่ 5 ระบบกำจัดขยะ (Solid Waste Disposal)
หลักการจัดการแมลงศัตรู
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา
Soil Fertility and Plant Nutrition
การจัดการศัตรูพืช (ผษ101 เกษตรเพื่อชีวิต: บทที่ 6)
/ Soil Fertility and Plant Nutrition
สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงแนวทางการพัฒนา
อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่
การบริหารจัดการทางการศึกษา (106402)
ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
Lec Soil Fertility and Plant Nutrition
122351/ Soil Fertility and Plant Nutrition
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรมรชาติ
ASEAN-Swiss Partnership for Social Forestry and Climate Change
การสืบค้นข้อมูลทางเคมี
การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและการจัดการ
บทที่ 2 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพ
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
หลักการจัดการ Principle of Management
World window.
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
การจัดการงานคลังและงบประมาณ อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางและประสบการณ์ การฟื้นฟูพื้นที่ที่ผ่านการทำเหมืองแร่ ผศ.ดร.สคาร ทีจันทึก ภาควิชาวนวัฒนวิทยา คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เอกสารประกอบการบรรยาย ณ ห้องอยุธยาบอลรูม โรงแรมเซ็นจูรี่พาร์ค วันอังคารที่ 23 สิงหาคม 2554

Outline ระบบนิเวศป่าไม้ หลักและวิธีการฟื้นฟูป่า ประสบการณ์และกระบวนการฟื้นฟูพื้นที่ที่ผ่านการทำเหมืองแร่ การบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล

The Whole Country Forest Cover Non-Forest Cover 514,127 sq.km (100%) Forest Cover 170,111 sq.km (33.1%) (100%) Non-Forest Cover 344,016 sq.km (66.9%) Man-made Forest 3,476.8 sq.km (0.68%) (2.0%) Secondary Forest 2,836.8 sq.km (0.55%) (1.7%) Natural Forest 163,797.5 sq.km (31.86%) (96.3%) Others 283,757sq.km (55.2%) Forest Land 60,259 sq.km (11.7%)

ป่าเขาหินปูน (Limestone Forest) ลักษณะเป็นยอดเขาหินแหลม ชั้นดินตื้น ป่าโปร่ง ความชุ่มชื้นน้อย พบบริเวณแนวเทือกเขาตั้งแต่ภาคเหนือ ทอดตัวลงมาตามฝั่งตะวันตกสู่ภาคใต้ รวมไปถึงเกาะแก่งหินปูนในท้องทะเล พืชพรรณที่พบเป็นพืชทนแล้ง เป็นไม้ขนาดเล็ก หรือไม้พื้นล่าง ส่วนไม้ล้มลุก ไม้พุ่มแคระ และไม้ยืนต้นขึ้นกระจายอยู่ห่างๆ เช่น จันทน์ผา ปรงเขา ค้อดอย อีกทั้งยังเป็นแหล่งรวมพืชเฉพาะถิ่นของไทยหลายชนิด อาทิ หรีดเชียงดาว ฟองหินเหลือง กุหลาบขาวเชียงดาว และค้อเชียงดาว พันธุ์ไม้ที่มีชั้นเรือนยอดสูงกว่าไม้พื้นล่างเป็นพันธุ์ไม้ผลัดใบเป็นส่วนมาก

สังคมพืชภูเขาหินปูน สังคมพืชผลัดใบเขาหินปูน (Tropical mixed deciduous forest on karst topography) สังคมพืชไม่ผลัดใบเขาหินปูน (Evergreen forest on karst topography) สังคมพืชแคระหนามเขาหินปูน (Thorn scrub forest on karst topography) ป่าละเมาะภูเขาต่ำ (upper montane scrub)

สังคมพืชผลัดใบเขาหินปูน ไม้เด่น ความสูงเฉลี่ย 10-15 เมตร เช่น อ้อยช้าง แจง สมพง ปออีเก้ง งิ้วป่า มหาพรม และจันทร์หอม ความสูงเฉลี่ย 5-10 เมตร เช่น จันทน์ผา สลัดไดป่า และขี้เหล็กฤาษี ขึ้นสลับไปกับเถาวัลย์หลายชนิด เช่น รางแดง เล็บเหยี่ยว ชิงช้าชาลี และบอระเพ็ด พบไผ่ที่มีขนาดลำเล็กกว่าในป่าเบญจพรรณ เช่น ไผ่ป่า และไผ่ซาง

สังคมพืชไม่ผลัดใบเขาหินปูน พบทั่วไปในภาคใต้และบางจังหวัดในภาคตะวันตก ไม้เด่น ความสูงเฉลี่ย 15-20 เมตร มักพบบริเวณเชิงเขา เช่น ไทรย้อยใบทู่ ตะเคียนหิน กะเบากลัก และเลียบ ความสูงเฉลี่ย 10-12 เมตร เช่น อีโด่ และกลาย ขึ้นสลับไปกับเถาวัลย์หลายชนิด เช่น รางแดง เล็บเหยี่ยว ชิงช้าชาลี และบอระเพ็ด ซึ่งในบางครั้งอาจมีไผ่ป่าขึ้นประปราย

สังคมพืชแคระหนามเขาหินปูน ไม้เด่น พืชบางชนิดที่สามารถแทรกตัวอยู่ได้ตามร่องรอยแตกของหิน เช่น ไกร สลัดไดป่า และจันทน์ผา ความสูงเฉลี่ยไม่เกิน 1 เมตร เช่น ปอช้าง ขี้เหล็กฤาษี และปรงผา พืชล้มลุกและเฟิร์น เช่น เหยื่อเลียงผา กาบว่าว และลิ้นกุรัม

ป่าละเมาะภูเขาต่ำ สภาพเป็นหย่อมเล็กๆ ตามลานหินบนภูเขาหินทรายยอดตัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชั้นดินทรายตื้นๆ มีไฟป่ารบกวนเป็นครั้งคราว ต้นไม้มีลักษณะแคระแกร็น สูงระหว่าง 2-8 เมตร สลับกับไม้พุ่มเตี้ย สูงระหว่าง 0.30-3 เมตร ไม้เด่น เช่น ก่อเตี้ย หรือก่อดำ ก่อพวง กุหลาบขาว กุหลาบแดง ส้มปี ส้มแปะ กุหลาบหิน สารภีดอย ทะโล้ ไก๋แดง เหมือดคนตัวผู้ เอ็นอ้า มือพระนารายณ์ และเข็มเขา เป็นต้น ป่าละเมาะเขาต่ำพบบ้างตามพื้นที่เป็นหินปูน เช่น สลัดไดป่า และจันทน์ผาหรือจันทน์แดง

Environmental Factors Affecting Tree Growth Physiological Capacity Primary Light intensity and quality Leaf and root temperature Water potential of atmosphere, leaves, roots, and soil Nutrient availability CO2 concentration in air and soil Secondary Stand structure Light transmittance through canopy Plant uptake Animal and plant respiration Decomposition Turbulence Vegetation density Combustion Weathering Soil formation Leaching Precipitation Transpiration Soil water potential Relative humidity Wind Air temperature Short and long wave radiation Tertiary Latitude Aspect Slope Solar constant Cloud Season Dust Pollutants Reflectance Cloud cover Water vapor Ozone Water table Soil moisture Soil physical properties Soil texture, porosity Saturation vapor pressure deficit Soil chemical properties Cation exchange capacity pH, anions Organic matter Atmosphere Plants Animals Climate Parent material Meteorological phenomena Volcano eruptions Topography การเติบโต Growth ภูมิอากาศ สิ่งแวดล้อม ในท้องที่ ในหมู่ไม้

11

Forest Restoration การฟื้นฟูป่า Reclamation การบูรณะให้เกิดผลผลิตใหม่ ฟื้นผลผลิตให้กลับมาใหม่อีกครั้ง หลังถูกทำลายไปแล้ว Rehabilitation การฟื้นฟูผลผลิต มุ่งฟื้นฟูผลผลิตของพื้นที่นั้นให้เพิ่มมากขึ้น Restoration การฟื้นฟูระบบนิเวศ มุ่งให้ระบบนิเวศดั้งเดิมกลับฟื้นมาอีกครั้ง

วิธีการฟื้นป่าแบบ Reclamation ต้องปรับปรุงปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เป็นจำกัดของพื้นที่ก่อน เช่น ปรับปรุงสภาพดิน ปรับปรุงสภาพภูมิประเทศ ใช้ไม้ชนิดที่มีความทนทานสูงในการนำไปปลูก ต้องดูแลค่อนข้างใกล้ชิด ไม่คำนึงถึงผลทางเศรษฐกิจ

วิธีการฟื้นป่าแบบ Rehabilitation จัดการป่า secondary forest หรือป่าดั้งเดิมที่มีสภาพเสื่อมโทรม โดยการปลูกไม้มีค่าลงไปในป่านั้น การทำเป็นพื้นที่ที่มีรูปแบบเป็นระบบวนกษตร (Agroforestry) ปลูกสร้างสวนป่าโดยใช้ไม้เพียงชนิดเดียว (Monoculture) การปลูกสร้างสวนป่าเป็นหย่อมให้กระจายทั่วภูมิทัศน์ (Landscape) ปลูกสร้างสวนป่าแบบผสมหลายชนิด (Mixed Culture) จัดการกับไม้และพืชพรรณบริเวณพื้นป่า

วิธีการฟื้นป่าแบบ Restoration ปล่อยให้เกิดการทดแทนตามธรรมชาติ (passive restoration) และช่วยป้องกันปัจจัยทางด้านลบ เช่น ไฟป่า สัตว์เลี้ยง และอื่นๆ ปลูกเสริมด้วยพรรณไม้ของถิ่นดั้งเดิม (enrichment planting) การเข้าไปหว่านเมล็ด (direct seeding) ปลูกต้นไม้ที่เป็นอาหารสัตว์กระจายเป็นหย่อมเพื่อชักนำให้เกิดการกระจายพันธุ์ตามธรรมชาติ ปลูกต้นไม้ดั้งเดิมของพื้นที่ 2-3 ชนิดที่เป็นไม้เบิกนำ ให้มีความถี่สูง

ประสบการณ์และกระบวนการฟื้นฟูพื้นที่ ที่ผ่านการทำเหมืองแร่ การวางแผน (Planning) การพิจารณาพื้นที่ (Location) การเตรียมกล้าไม้ (Preparation of Seedling) การเตรียมพื้นที่ (Site Preparation) การปลูก (Planting) การบำรุงรักษา (Tending Operation) การสำรวจและประเมินผล (Evaluation)

การพิจารณาพื้นที่ (Location) การวางแผน (Planning) การพิจารณาพื้นที่ (Location) แหล่งทรัพยากรกายภาพ (Physical resources) แหล่งเงินทุน (Financial resources) ทรัพยากรมนุษย์ (Human resources) แหล่งน้ำ (Water Supply) ทางคมนาคม (Communication) ขนาดของพื้นที่ (Size of Land) 17

การเตรียมกล้าไม้ (Preparation of Seedling) เรือนเพาะชำ (Nursery) ควรคำนึงถึงปัจจัยและสิ่งแวดล้อม ดังนี้ 1. สภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศ 2. สภาพของดิน 3. สภาพทางเศรษฐกิจ 4. แหล่งน้ำ 18

กรรมวิธีการเพาะเมล็ดไม้ทั่วๆ ไป 1 2 3 4 5 6 กรรมวิธีการเพาะเมล็ดไม้ทั่วๆ ไป ภาพที่ 1 เมล็ดไม้ ภาพที่ 2 ลักษณะของผลทั่วๆ ไป ภาพที่ 3 การเพาะเมล็ดไม้ในแปลงเพาะ (กระบะเพาะ) ภาพที่ 4 ย้ายชำต้นอ่อนไปเพาะในถุงดำที่ เตรียมไว้แล้ว ภาพที่ 5 นำพลาสติกทาบปิดเพื่อป้องกันการรบกวนของแมลง และรักษาความชื้น ภาพที่ 6 หลังจากนั้นก็จะได้กล้าไม้ที่มีคุณภาพ และควร hardening กล้าไม้ด้วย 19

การเตรียมกล้าไม้ (Preparation of Seedling) การดูแลรักษากล้าไม้ (Tending) ควรศึกษาเทคนิคต่างๆ ดังนี้ 1. การรดน้ำ 2. การถอนวัชพืช 3. การตัดแต่งราก 4. การคัดชั้นความสูง 5. การทำกล้าไม้ให้แกร่ง 6. การคัดแยกกล้าไม้ 7. การใส่ปุ๋ยกล้าไม้ 20

หลักการเตรียมที่ดินที่จะทำให้ต้นไม้ที่ปลูก รอดตายและเติบโตได้ 1 2 4 3

การเตรียมพื้นที่ (Site Preparation) สภาพภูมิอากาศ (climate) ควรพิจารณา 1. อุณหภูมิ 2. ปริมาณน้ำฝน 3. ความชื้นสัมพัทธ์ 4. ทิศทางและความเร็วของลม ที่ดิน (Land) ควรพิจารณา 1. สภาพภูมิประเทศ 2. โครงสร้างของติน 3. เนื้อดิน 4. คุณภาพของดิน 22

การเตรียมพื้นที่ (Site Preparation) การสำรวจเบื้องต้น (Preliminary Surveys) การปักหลักหมายปลูก (staking) 23

ระบบรากที่เกิดจากการเตรียมพื้นที่อย่างประณีตภายหลังการปลูกฟื้นฟู

การปลูก (Planting) การปลูกแบบต่างๆ (Kind of Planting Stock) - ปลูกโดยใช้เมล็ด (Seeding) - ปลูกโดยใช้กล้าไม้ (Seedling) วิธีการปลูก (Planting Methods) - ปลูกโดยใช้แรงคน (Hand planting) - ปลูกโดยใช้เครื่องจักรกล (Mechanized planting) 25

การปลูก (Planting) ระยะปลูกต้นไม้ (Plant Spacing) ปัจจัยที่จะต้องพิจารณา คือ 1. ชนิดพันธุ์ไม้ 2. รูปทรงของต้นไม้ 3. วิธีการกำจัดวัชพืช 4. สภาพพื้นที่ 5. ธาตุอาหารในดิน 6. วัตถุประสงค์ 7. งบประมาณ เวลาของการปลูก (Timing of Planting) การปลูกต้นไม้ในระยะต้นฤดูฝน จะให้ผลในด้านการเติบโตและเปอร์เซ็นต์รอดตายดีกว่า การปลูกในช่วงปลายฤดูฝน 26

การบำรุงรักษา (Tending Operation) การปลูกซ่อม (Replacement Planting) การกำจัดวัชพืช (Control of Weeds) ใช้คนงานถางวัชพืช ดายหญ้าหรือใช้เครื่องจักรกลกำจัดวัชพืช การใส่ปุ๋ย (Fertilization) ปุ๋ยอินทรีย์, ปุ๋ยเคมี พืชคลุมดิน (Cover crop) มีประโยชน์ดังนี้ 1. เพิ่มธาตุอาหาร 2. ทำให้โครงสร้างดินดีขึ้น 3. ป้องกันการชะล้างหน้าดิน 4. รักษาความชื้นให้กับดิน 27

กำหนดการดำเนินการดูแลบำรุงรักษาต้นไม้ 28

การบำรุงรักษา (Tending Operation) การป้องการภัยจากโรค แมลง 1. การปลูกพันธุ์ไม้ชนิดที่มีความต้องการโรคสูง 2. การคัดเลือกกล้าไม้ปลูกที่มีความแข็งแรง 3. การกำหนดเวลาปลูกให้เหมาะสม 4. การลิดกิ่ง และตัดสางขยายระยะ 5. การทำความสะอาดพื้นที่ปลูก 6. การเลือกแหล่งปลูกที่เหมาะสม 29

การบำรุงรักษา (Tending Operation) การป้องกันไฟป่า (Forest Fire Control) - ไฟป่า คือ ไฟที่เกิดขึ้นเองในป่าธรรมชาติ แล้วไหม้ลุกลามไปโดยปราศจากการควบคุม - องค์ประกอบของไฟ คือ เชื้อเพลิง ความร้อน และอากาศ ชนิดของไฟป่า แบ่งเป็น 3 ชนิด คือ 1. ไฟผิวดิน (Surface Fire) 2. ไฟใต้ดิน (Ground Fire) 3. ไฟเรือนยอด (Crown Fire) 30

การบำรุงรักษา (Tending Operation) การวางแผนป้องกันไฟป่า ก่อนถึงหน้าแล้งแต่ละปี จะต้องมีการป้องกันไฟ โดยทำการวางแผนก่อน เพื่อกำหนดมาตรการที่จะนำมาใช้ป้องกันไฟให้ได้ผลดีที่สุด เมื่อกำหนดมาตรการแล้ว จะต้องทำการป้องกันไฟตามมาตรการที่ได้กำหนดไว้ 31

การสำรวจและประเมินผล (Evaluation) การสำรวจรังวัดทำแผนที่ เพื่อให้ทราบเนื้อที่และชนิดไม้ที่ปลูกฟื้นฟูที่แน่นอน การสำรวจเปอร์เซ็นต์รอดตาย เพื่อให้ทราบถึงผลและเปอร์เซ็นต์รอดตายว่าเป็นตามที่กำหนดหรือไม่ เป็นแนวทางในการปลูกปีต่อๆ ไป การวัดการเติบโต เพื่อให้ทราบว่าไม้แต่ละชนิดมีอัตราการเติบโตอย่างไร ทำให้ทราบความเพิ่มพูนของต้นไม้ชนิดต่างๆ 32

กุญแจที่จะทำให้งานการฟื้นฟูเหมืองแร่ประสบผลสำเร็จ ความรู้ความเข้าใจในทางวิชาการของผู้ที่เกี่ยวข้อง ความรักและศรัทธาในงานการฟื้นฟูพื้นที่เหมืองแร่ ความร่วมแรงร่วมใจ เอาจริงเอาจังของบุคลากรที่จะทำงานอย่างเต็มความสามารถและต่อเนื่อง 33

ภาควิชาวนวัฒนวิทยา คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขอบคุณครับ ผศ.ดร.สคาร ทีจันทึก ภาควิชาวนวัฒนวิทยา คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ fforsktt@ku.ac.th