คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถานการณ์น้ำในปัจจุบัน
Advertisements

อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศการท่าเรือแห่งประเทศไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียม พิเศษการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงของ การให้บริการเรือลากจูง.
หอมแดง.
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2554.
การปฏิบัติงานด้านระบบ การบริหารการคลังภาครัฐแบบ อิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) สำนักงานคลังจังหวัด หนองคาย ประจำเดือน กันยายน 2555 ปีงบประมาณ พ. ศ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศการท่าเรือแห่งประเทศไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ น้ำมันเชื้อเพลิงของการให้บริการเรือลากจูง.
ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง กำหนดเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบค่าก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์และค่าก๊าซไฮโดรคาร์บอนจากท่อไอเสียรถจักรยานยนต์ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
การประชุมประจำเดือนครั้งที่ 5-6/2558
รายงานความก้าวหน้า การสนองพระราชดำริด้านงานวิจัย จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เดือนมีนาคม.
รายงานความก้าวหน้า การสนองพระราชดำริด้านงานวิจัย จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เดือนมีนาคม.
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์ สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๕ วันศุกร์ที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ณ ห้องประชุม ๑ ชั้น ๑๔ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร.
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์ สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๕ วันศุกร์ที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ณ ห้องประชุม ๑ ชั้น ๑๔ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร.
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์ สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๑๑/๒๕๕๕ วันศุกร์ที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๕ ณ ห้องประชุม ๑ ชั้น ๑๔ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร.
ผู้อำนวยการกลุ่มงานติดตามและ ประมวลผลงานของวุฒิสภา วิทยากรวิทยากร นิติกรนิติกร นายชาญชัย ปัญญากรณ์ วิทยากร ๙ ชช นายณัฐกร อ่วมบำรุง วิทยากร ๘ ว นางสาวยุพา.
ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ
กรมอุตุนิยมวิทยา นายเมธี มหายศนันท์ สำนักพยากรณ์อากาศ.
คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันโภชนาการ
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ
สภาพทั่วไป ประวัติและความเป็นมา ลักษณะภูมิประเทศ ตำนานเมืองแก่งคอย
อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP
คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 7 พฤษภาคม 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
กลุ่ม 1 ด้านการคาดการณ์ลักษณะอากาศระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว
สถานการณ์คุณภาพอากาศและเสียง
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ
ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
ผลการดำเนินงานด้านลดน้ำสูญเสีย
ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 21 เมษายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 22 มิถุนายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. และ 1.
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ
นโยบายระบบส่งน้ำและการกระจายน้ำ โครงการชลประทานเพชรบุรี
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ข้อมูลสถานการณ์ภัยแล้ง
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดฝนตกบริเวณประเทศไทย ในช่วงระหว่างวันที่ พ.ค. 58
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 4 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
ความดัน (Pressure).
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
ยิ้มก่อนเรียน.
Climate I อาจารย์สอง สุดหล่อ.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 4 ธันวาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
ปฏิบัติการร่วมป้องกันและบรรเทาอุทกภัยภาคใต้ ประจำวันที่ 5 ตุลาคม 2557 ( เวลา น. )
ตารางหวยออกปี สถิติหวยออกปี 2561 ตารางหวยออกปี
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 3 ธันวาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 51
Singapore ประเทศสิงคโปร์.
คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 2 พฤศจิกายน 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. และ
นำเสนอโดย ABC DEFG คณะเกษตรศาสตร์สาขา สัตวศาสตร์
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 15 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558 คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558 จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 21 พฤษภาคม 2558

ปัจจัยที่ใช้ในการคาดการณ์ฝนรายฤดูกาล ปัจจัยระดับภูมิภาค: ดัชนีสมุทรศาสตร์ Oceanic Niño Index (ONI) - บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก Pacific Decadal Oscillation Index (PDO) - บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ Dipole Mode Index (DMI) - บริเวณมหาสมุทรอินเดีย พบว่า ดัชนี ONI PDO และ DMI ปี 2558 ใกล้เคียงกับปี 2530 และ 2546 ปัจจัยระดับท้องถิ่น: ดัชนีมรสุม Indian Monsoon Index - ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรอินเดีย Western Pacific Monsoon Index - ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรแปซิฟิก Madden-Julian Oscillation (MJO) - ความผันแปรของลักษณะอากาศในเขตร้อน พบว่า ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรอินเดีย ปี 2558 มีค่าสูงกว่าปกติ โดยมีค่าใกล้เคียงกับปี 2546 แต่ช่วงต้นปีมีค่าดัชนีสูงกว่าปี 2546 เล็กน้อย มรสุมตะวันตกเฉียงใต้จะมีกำลังค่อนข้างแรง

ปัจจัยระดับภูมิภาค: ดัชนีสมุทรศาสตร์ ONI= +0.59 IOD = -0.07 PDO = +1.44 ดัชนี PDO ยังคงสภาพเป็นบวก ปัจจุบันมีค่าเท่ากับ +1.44 (เดือนก่อนหน้าเป็น +2.00) ดัชนี ONI (ENSO) มีสภาพเป็นบวกหรือเอลนีโญอ่อนๆ ปัจจุบันมีค่าเท่ากับ +0.59 (เดือนก่อนหน้าเป็น +0.50) ดัชนี DMI (IOD) มีสภาพเป็นกลาง ปัจจุบันมีค่าเท่ากับ -0.07 (เดือนก่อนหน้าเป็น -0.16) Source http://www.ospo.noaa.gov/Products/ocean/sst/anomaly/index.html ONI: http://www.cpc.ncep.noaa.gov/products/analysis_monitoring/ensostuff/ensoyears.shtml PDO: http://jisao.washington.edu/pdo/PDO.latest IOD: http://www.jamstec.go.jp/frcgc/research/d1/iod/DATA/dmi.monthly.ascii ดัชนี > 0.5 แนวโน้มปริมาณฝนน้อยกว่าปกติ ดัชนี <-0.5 แนวโน้มปริมาณฝนมากกว่าปกติ Pacific Decadal Oscillation (PDO) เป็นค่าเฉลี่ย SSTA เดือนเมษายน บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก เหนือ 20oN Oceanic Niño Index (ONI) เป็นค่าเฉลี่ย SSTA 3 เดือน (กุมภาพันธ์-มีนาคม-เมษายน) ในมหาสมุทรแปซิฟิกบริเวณ 5oN-5oS, 120o-170oW Indian Ocean Dipole (IOD) เป็นผลต่าง SSTA ของเดือนมีนาคม บริเวณ 50-70oE, 10oS-10oN และ 90-110E, 10oS-0oN 3

ปัจจัยระดับภูมิภาค: กลุ่มปีที่มีดัชนีระดับภูมิภาคใกล้เคียงกัน แนวโน้มปริมาณฝนปี 2558 ใกล้เคียงกับปี 2530 และปี 2546 หรือต่ำกว่าค่าเฉลี่ย ดัชนีสมุทรศาสตร์ระดับภูมิภาคช่วงเดือนกันยายนปี 2557 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ปี 2558 ใกล้เคียงกับปี 2530 และ 2546 อาจคาดการณ์ได้ว่า ในระยะ 6 เดือนข้างหน้า ระหว่างเดือนพฤษภาคม-เดือนตุลาคม 2558 ประเทศไทยจะมีปริมาณฝนใกล้เคียงกับปี 2530 และปี 2546 หรือต่ำกว่าค่าเฉลี่ย โดยจะมีปริมาณฝนสะสม 6 เดือน ประมาณ 1,000-1,200 มิลลิเมตร

ปัจจัยระดับท้องถิ่น: ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรอินเดีย ปี 2530 ปี 2546 ปี 2558 สูงกว่าปกติ ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรอินเดียของปี 2558 มีค่าสูงกว่าปกติเล็กน้อยตั้งแต่ต้นปี และมีค่าสูงขึ้นในช่วงเดือน พฤษภาคม โดยมีค่าใกล้เคียงกับปี 2546 แต่ในช่วงต้นปีมีค่าดัชนีสูงกว่าปี 2546 เล็กน้อย ปัจจุบันดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรอินเดียสูงกว่าค่าปกติ มรสุมตะวันตกเฉียงใต้จะมีกำลังค่อนข้างแรง ส่งผลให้ ในระยะ 2-4 สัปดาห์จะมีฝนตกหนาแน่นบริเวณด้านรับลมมรสุม โดยเฉพาะบริเวณด้านตะวันตกของประเทศ

ปัจจัยระดับท้องถิ่น: ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรแปซิฟิก ปี 2530 ปี 2546 ปี 2558 ปกติ ปัจจุบันดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรแปซิฟิกมีค่าใกล้เคียงปกติ ไม่ส่งผลกระทบต่อปริมาณฝนของประเทศไทย

ปัจจัยระดับท้องถิ่น: ดัชนี MJO (Madden-Julian Oscillation) ธันวาคม 2557 ฝนน้อยกว่าปกติ มกราคม 2558 กุมภาพันธ์ 2558 ฝนใกล้เคียงปกติ มีนาคม 2558 ฝนมากกว่าปกติ เมษายน 2558 พฤษภาคม 2558 ปัจจุบัน ดัชนี MJO ตรงบริเวณประเทศไทยมีค่าปกติ และมีแนวโน้มใกล้เคียงค่าปกติ ส่งผลให้ในระยะ 2-4 สัปดาห์ข้างหน้า พื้นที่ภาคใต้จะมีปริมาณฝนใกล้เคียงค่าปกติ ที่มา: NCEP/CDAS and CFS

สรุปสภาพปัจจัยระดับภูมิภาคและระดับท้องถิ่นปี 2558 ปัจจัยระดับภูมิภาค: ดัชนีสมุทรศาสตร์ ดัชนี ONI PDO DMI ปี 2558 ใกล้เคียงกับปี 2530 และ 2546 ปัจจัยระดับท้องถิ่น: ดัชนีมรสุม ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรอินเดีย ปี 2558 มีค่าสูงกว่าปกติ โดยมีค่าใกล้เคียงกับปี 2546 มรสุมตะวันตกเฉียงใต้จะมีกำลังค่อนข้างแรง ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรแปซิฟิก ปี 2558 มีค่าใกล้เคียงปกติ ลมมรสุมด้านมหาสมุทรแปซิฟิกจะมีกำลังแรงตามปกติ ความผันแปรของลักษณะอากาศในเขตร้อน (MJO) มีค่าใกล้เคียงปกติ ไม่มีผลต่อสภาพฝนของประเทศไทยในระยะนี้

เปรียบเทียบปริมาณฝนรายเดือน เดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม ค่าเฉลี่ย 30 ปี ปี 2546 ความแตกต่างจากค่าเฉลี่ย 30 ปี พฤษภาคม 186 mm. 138 mm. -26.14% มิถุนายน 177 mm. 175 mm. -1.24% กรกฏาคม 189 mm. 177 mm. -6.61%

เปรียบเทียบปริมาณฝนรายเดือน เดือนสิงหาคม-ตุลาคม ค่าเฉลี่ย 30 ปี ปี 2546 ความแตกต่างจากค่าเฉลี่ย 30 ปี สิงหาคม 231 mm. 211 mm. -8.63% กันยายน 242 mm. 284 mm. +17.34% ตุลาคม 163 mm. 131 mm. -19.36%

เปรียบเทียบปริมาณฝนรายเดือน พฤศจิกายน - ธันวาคม ค่าเฉลี่ย 30 ปี ปี 2546 ความแตกต่างจากค่าเฉลี่ย 30 ปี พฤศจิกายน 79 mm. 44 mm. -44.53% ธันวาคม 39 mm. 39 mm. -0.79%

เปรียบเทียบปริมาณฝนสะสม 3 เดือน ระหว่างเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม ค่าเฉลี่ย 30 ปี ความแตกต่างจากค่าเฉลี่ย 30 ปี ปี 2546 552.73 mm. 489.31 mm. -11.47%

เปรียบเทียบปริมาณฝนสะสม 3 เดือน ระหว่างเดือนสิงหาคม-ตุลาคม ค่าเฉลี่ย 30 ปี 635.44 mm. ปี 2546 ความแตกต่างจากค่าเฉลี่ย 30 ปี 625.94 mm. -1.50%

เปรียบเทียบปริมาณฝนสะสม 2 เดือน ระหว่างเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม ค่าเฉลี่ย 30 ปี 118.04 mm. ปี 2546 ความแตกต่างจากค่าเฉลี่ย 30 ปี 82.59 mm. -30.03%

ปริมาณน้ำไหลเข้า - เขื่อนภูมิพล เฉลี่ย 2553 2556 2546 2558 2557 ปี 2546 ปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมน้อยกว่าค่าเฉลี่ย และน้อยกว่าปี 2553 และปี 2556 ซึ่งเป็นปีที่เกิดภัยแล้ง แต่มากกว่าปี 2557 โดยส่วนใหญ่จะมีน้ำไหลเข้าเขื่อนมากในช่วงเดือนกันยายนถึงตุลาคม

ปริมาณน้ำไหลเข้า - เขื่อนสิริกิติ์ 2553 เฉลี่ย 2546 2556 2557 2558 ปี 2546 ปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมน้อยกว่าค่าเฉลี่ยเล็กน้อย และน้อยกว่าปี 2553 แต่มากกว่าปี 2556 และปี 2557 โดยส่วนใหญ่จะมีน้ำไหลเข้าเขื่อนมากในช่วงเดือนสิงหาคมถึงกันยายน

สรุปผลคาดการณ์ปริมาณฝนปี 2558 ระหว่างเดือนพฤษภาคม-เดือนธันวาคม ปี 2558 ประเทศไทยจะมีปริมาณฝนค่อนข้างต่ำกว่าปกติ หรือใกล้เคียงกับปี 2546 เดือนพฤษภาคม - กรกฎาคม 2558 จะมีปริมาณฝนต่ำกว่าปกติ โดยภาคเหนือ ภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะมีปริมาณฝนต่ำกว่าปกติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคเหนือตอนบน และด้านตะวันออกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แต่ภาคกลางและภาคตะวันออกจะมีปริมาณฝนสูงกว่าปกติ เดือนสิงหาคม - ตุลาคม 2558 จะมีปริมาณฝนต่ำกว่าปกติเล็กน้อย โดยภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกจะมีปริมาณฝนต่ำกว่าปกติ แต่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้จะมีปริมาณฝนสูงกว่าปกติ เดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม 2558 จะมีปริมาณฝนต่ำกว่าปกติ โดยเกือบทั่วทุกภาคจะมีปริมาณฝนต่ำกว่าปกติ แต่บางพื้นที่ของภาคใต้จะมีปริมาณสูงกว่าปกติ