SP Palliative เขต 3 พญ.กมลทิพย์ ประสพสุข.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
Advertisements

สรุปผลการดำเนินงาน เทคโนโลยีสารสนเทศ เขตสุขภาพที่ 11 ปีงบประมาณ 2558 คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศ เขตสุขภาพที่ 11 คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศ เขตสุขภาพที่
6 Building Block สาขาผู้สูงอายุ
จารุพร ตามสัตย์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ(APN)
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
ผู้เยี่ยมเสริมพลังลงพื้นที่เยี่ยมเสริมพลัง รพ.สต.ติดดาว
การพัฒนาระบบบริการ Fast Track
ครั้งที่ 8/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
การดำเนินงานService Plan จ.กำแพงเพชร ปี 2561
จังหวัด .นครสวรรค์, กำแพงเพชร,พิจิตร, อุทัยธานี, ชัยนาท
Service Plan in Kidney Disease
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
การเบิกจ่าย ค่าชดเชยการรักษา (E-Claim palliative)
ระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาอุบัติเหตุ
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
Service Plan สาขาแม่และเด็ก
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
เป้าหมาย SP สุขภาพจิต # ดูแลตนเองได้ # ครอบครัว/ชุมชน #ลดความรุนแรง
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาล กองการพยาบาลสาธารณสุข
นายแพทย์ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 2
ไคเซ็น KAIZEN.
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561
ระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับ ผู้สูงอายุและบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ในพื้นที่ตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (L0ng Term Care)
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
Service Plan สุขภาพจิต จิตเวชและยาเสพติด
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
1 ภารกิจด้าน อำนวยการ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาล ทั่วไป
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
“ เผชิญความตายอย่างสงบ ”
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
การดำเนินงาน คลินิกหมอครอบครัว
ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามนโยบายตัวชี้วัดวัณโรค
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม,การจัดงาน
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
Medication Reconciliation
ระบบการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
ถอดรหัสตัวชี้วัด Service plan สาขา Palliative care
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 7
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
บริการ/ทีม: ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
ณ โรงแรมรัตนโกสินทร์ อ.เมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
การบริหารและขับเคลื่อน
UHC : Universal Health Coverage: Achieving Social Protection for All
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
วันที่ 29 สิงหาคม 2562 นายบรรเจิด เดชาศิลปชัยกุล เภสัชกรเชี่ยวชาญ
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
เขตสุขภาพที่3 Service Plan Heart Q2.
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ
การดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อรับฟังการวิเคราะห์แนวทางวางแผนปฏิบัติงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานพื้นที่ดำเนินงาน ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน.
ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
การวางแผนการจำหน่ายผู้ป่วยใน (IPD)แบบประคับประคอง จังหวัดสกลนคร Discharge planning in Palliative care รายการ Assessment Planning/ผู้บันทึก D: Disease.
เครือข่ายบริการ สุขภาพ อำเภอแม่ฟ้าหลวง
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
การตรวจราชการและนิเทศงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

SP Palliative เขต 3 พญ.กมลทิพย์ ประสพสุข

Service plan palliative Care ร้อยละของ รพ. ที่มีการดูแล เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าถึงการดูแลแบบประคับประคอง ในช่วงเวลาของภาวะโรคและอาการอย่างเหมาะสม เพื่อให้ผู้ป่วยและครอบครัวได้รับข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ และมีส่วนร่วมในการวางแผนล่วงหน้า เพื่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดี เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลและความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง จนวาระสุดท้ายของการดูแลและประสานงานจากทีมสุขภาพ Objective ขอบเขต ร้อยละของ รพ. ที่มีการดูแล แบบประคับประคอง ผ่านตามเกณฑ์   พัฒนาและสนับสนุน ระบบงาน PC พัฒนาทีมและเครือข่ายการทำงาน มะเร็ง โรคไต (ระยะบำบัดไต, ระยะได้รับการรักษา เพื่อประคับ ประคอง ชะลอไตเสื่อม A = 1  S = 4 ติดตามประเมินผล M 2 = M 1 = - กำหนดโครงสร้าง - กำหนดCPG - กำหนดแนวทางการใช้ยา - จัดตั้ง PC Center - จัดตั้งศูนย์สำรองอุปกรณ์ - พัฒนาเจ้าหน้าที่ - พัฒนาเครือข่าย F 3 = F 2 = F 1 = 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน กำหนดโครงสร้าง ; - ตั้งคณะกรรมการ - มี Nurse manager - มี PC ward Nurse - มี PC Center - CPG - แนวทางการใช้ยา - ระบบส่งต่อ - ศูนย์สำรองอุปกรณ์ - การรักษาด้วย Strong Opioid Medication/การรักษาด้วยแผนไทย / แพทย์ทางเลือก ปี 60

ข้อเสนอแนะจากการนิเทศ One page สรุปผลการนิเทศ สาขา Palliative Care ตัวชี้วัด : ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีการดูแลแบบประคับประคอง 100% สถานการณ์ปัจจุบัน - มีการดำเนินงานมาตั้งแต่ปี 2555-2556 - โรงพยาบาล A, S, M1 ทุกแห่งมีการดูแลแบบประคับประคอง - เน้นผู้ป่วยกลุ่มมะเร็ง และไตวายเรื้อรัง เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ไตรมาสที่ 1-2 (ต.ค 59 –มี.ค 60) ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีการดูแลแบบประคับประคอง 85.18 Key Success Factor - มีระบบดั้งเดิมที่วางมาก่อนหน้าอยู่แล้ว - การมีส่วนร่วมของสหสาขาวิชาชีพ Key Risk Factor - ความเข้าใจในความหมายและเนื้องาน ความตระหนักของบุคลากร - การเชื่อมโยงและส่งต่อข้อมูล - อุปกรณ์สำหรับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านไม่เพียงพอ ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะจากการนิเทศ 1. ความรู้ความเข้าใจ / ความตระหนักของบุคลากรสธ. 2. ความครอบคลุมและปัญหาในการใช้ strong opioid 3. การเชื่อมโยงข้อมูลจาก SP อื่น 4. อุปกรณ์ไม่เพียงพอ 1. ช่วยเหลือด้านการอบรมและประชาสัมพันธ์งาน Palliative Care 2. จัดสรร strong opioid ให้มีเพียงพอกับความต้องการ ประสานเชื่อมโยงกับภาคส่วนอื่นในระดับนโยบาย 3. ปรับปรุงฐานข้อมูลผู้ป่วยมะเร็งซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก 4. เพิ่มงบประมาณในการจัดซื้ออุปกรณ์

6 BB plus ประเด็น การดำเนินการ เขต กรมการแพทย์ กระทรวง Service delivery ; คกก. Palliative & PC center แนวทางในการดูแลและการส่งต่อผู้ป่วย ตั้งคกก.ให้ครบทุกโรงพยาบาล และจัดหาผู้รับผิดชอบ พัฒนาแนวทางในการดูแล,ส่งต่อให้เหมือนกันทั้งเขต พัฒนาแนวทางในการดูแลจากกรมการแพทย์โดยจัดทำ List of disease and Standard of palliative care Workforce ; สมรรถนะของบุคลากรที่ปฏิบัติงานอยู่ในปัจจุบันยังไม่ถึงตามเกณฑ์ที่กำหนด .จัดอบรม Basic Palliative care 5 วัน ระดับเขต ส่งบุคลากรอบรม PC nurse (หลักสูตร 4 เดือน) ฝึกอบรมตามกรอบ/แนวทางของหลักสูตร (เขตสุขภาพทั้ง 13 เขต) อบรมหลักสูตร 3 วัน และผลิตหลักสูตรพยาบาล 10 วัน

x ประเด็น การดำเนินการ เขต กรมการแพทย์ กระทรวง IT ; ระบบในการจัดเก็บข้อมูล ระบบในการส่งต่อที่เหมือนกันทั้งเขต จัดให้มีระบบในการจัดเก็บข้อมูล data ร่วมกัน จัดทำระบบเอกสารส่งต่อให้เหมือนกันทุกโรงพยาบาล Palliative care cloud (จากรพ.ขอนแก่น) x Drug & Equipment ; บริหารจัดการด้านยาเพื่อการเข้าถึงบริการ ศูนย์สำรองอุปกรณ์มีไม่เพียงพอความต้องการ แนวทางการใช้ยาและการยืมยาstrong opioid เชื่อมต่อแพทย์แผนไทย/แพทย์ทาง เลือก

- ประเด็น การดำเนินงาน เขต กรมการแพทย์ กระทรวง Financial ; แหล่งงบประมาณ PP, UC , NonUC, สสส.,สปสช. ลงข้อมูลระบบ E-claim Governance ; เกณฑ์ผู้ป่วยเข้าPalliative ตามนโยบาย ประสานกับ SP อื่นๆที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการ Service Plan เขต3 ติดตามประเมินผล Advance cancer Advance disease with poor prognosis Dementia HIV/AIDS Participation ; การมีส่วนร่วมของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่างๆ อบรมจิตอาสาและพัฒนาการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ประชาสัมพันธ์และจัดหาทุนเพื่อซื้ออุปกรณ์เพิ่มเติม (จากภาคเอกชน) -

ขอบคุณค่ะ

ประเด็นที่ต้องการการสนับสนุน ควรมีการจัดหลักสูตรอบรมในส่วนกลางหรือจังหวัดใกล้เคียง เช่น กรุงเทพฯ หรือปริมณฑล เพราะหลักสูตรการอบรมระดับกลาง/ยาว (6 สัปดาห์ – 4 เดือน) ในตอนนี้จัดอบรมในส่วนภูมิภาคที่ไกลมาก เช่น เชียงใหม่ ขอนแก่น กระบวนการสั่งซื้อและจัดส่ง strong opioid จากองค์การเภสัชกรรมใช้เวลานาน ทำให้โรงพยาบาลขนาดเล็กซึ่งมี stock ยาน้อย ไม่สามารถหายาได้ทัน เวลามีผู้ป่วย palliative ซึ่งต้องใช้ strong opioid แต่ละวันในปริมาณมาก

KPI จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง/ปี อัตราผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองได้รับการเยี่ยมบ้านในเขตรับผิดชอบ/ปี ( > 80% ) อัตราผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลตามแนวทางpalliative care มีการรักษาด้วย Strong Opioid Medication ( ≥ 30%) อัตราผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองได้รับการวางแผนการดูแลล่วงหน้า(advance care plan )/ปี ( > 60% ) อัตราผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองได้รับการติดตามที่OPD /ปี ( > 60% ) จำนวนผู้ป่วยที่เสียชีวิตที่โรงพยาบาล/จำนวนผู้ป่วยที่ตายดีที่โรงพยาบาล ( > 80% ) จำนวนผู้ป่วยที่เสียชีวิตที่บ้าน/จำนวนผู้ป่วยที่ตายดีที่บ้าน ( > 80% ) อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติต่อการดูแลแบบประคับประคอง (> 80% )