ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism Theory)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
Advertisements

การเปรียบเทียบความคงทนในบทเรียนระหว่าง วิธีการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองกับวิธีการแบบบรรยาย นุชดา ลาทอง.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
การศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ follow me เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบทางการเรียนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 ของนักศึกษาระดับ ปวช.1 สาขาพณิชยการ โดย อ.ชรินทร.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย เด็กหญิงอภิญญา เพชรทอง ชั้นม.1/12 เลขที่ 3 เด็กหญิงณัฐกาญจน์ สุนะธรรม ชั้นม.1/12 เลขที่
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
การสอนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
วิธีสอนแบบใช้ปัญหาเป็นหลัก Problem-based learning:PBL
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงงาน คือ กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้ทำการศึกษาค้นคว้าและฝึกปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
Collaborative problem solving
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
สรุปผลการอบรม หลักสูตรการพัฒนาการ จัดการเรียนการสอน ด้านการวัดและ ประเมินผล จารุนันท์ สมบูรณ์สิทธิ์
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำให้การเรียนรู้
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
บทที่ 7 การจัดการสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้บนเครือข่าย
หลักการ และ วิธีการ ของ บี.-พี.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 14
ทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
Operant Behavior (การกระทำทำให้เกิดการเรียนรู้)
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับ การออกแบบการเรียนการสอน
โดย ผศ.ดร.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
รายวิชา การบริหารการศึกษา
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
การสอนควบคู่กับการเรียน
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
อ. ดร. ณฐิตากานต์ ปินทุกาศ
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism Theory)

รายชื่อสมาชิกกลุ่ม นายศุกภชัย นนท์ภายวัน รหัส 493050069-9 นายศุกภชัย นนท์ภายวัน รหัส 493050069-9 นางสาวณัฐธยาน์ นิวัฒน์ชัยเดชะ รหัส 493050375-2 นางสาวพิชญ์ชาภา รัตพลที รหัส 493050383-3

ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism Theory) เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยการสร้างความรู้ ได้มีการเปลี่ยนจากเดิมที่เน้นการศึกษา ความรู้ความเข้าใจ ปัจจัยภายนอก มาเป็น สิ่งเร้าภายใน Cognitive processes กระบวนการรู้คิด กระบวนการคิด

สรุป แนวคิดเกี่ยวกับคอนสตรัคติวิสซึม 1. ความรู้ของบุคคลใด สร้างขึ้นจากประสบการณ์ในการคลี่คลายสถานการณ์ที่เป็นปัญหา 2. นักเรียนเป็นผู้สร้างความรู้ ด้วยวิธีการที่ต่าง ๆ กัน โดยอาศัยประสบการณ์และโครงสร้างทางปัญญาที่มีอยู่เดิม 3. ครูมีหน้าที่จัดการให้นักเรียนได้ปรับขยายโครงสร้างทางปัญญา ของนักเรียนเอง ภายใต้ ข้อสมมติฐานต่อไปนี้ ความขัดแย้งทางปัญญา แรงจูงใจภายใน กระตุ้นให้มีการสร้างโครงสร้างใหม่ทางปัญญา

แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎี คอนสตรัคติวิสซึม แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎี คอนสตรัคติวิสซึม แบ่งเป็น 2 ประเภท Cognitive Constructivism Social Constructivism

เสียสมดุลย์ทางปัญญา(Disequilibrium) โดยวิธีการดูดซึม (Assimilation) Cognitive Constructivism แนวคิดของ Piaget เน้นผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ โดยการลงมือกระทำ ผู้เรียนต้องพยายามปรับโครงสร้างทางปัญญา (Cognitive structuring)ให้เข้าสู่ภาวะสมดุลย์(Equilibrium) เชื่อว่าถ้าผู้เรียนถูกกระตุ้นด้วยปัญหาที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญา เสียสมดุลย์ทางปัญญา(Disequilibrium) การปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางปัญญา(Accomodation) โดยวิธีการดูดซึม (Assimilation) ได้แก่ การรับข้อมูลใหม่จากสิ่งแวดล้อมเข้าไปไว้ในโครงสร้างทางปัญญา

"ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาด้านพุทธิปัญญา" Social Constructivism เป็นทฤษฎีที่มีรากฐานมาจาก Vygotsky แนวคิดที่สำคัญ "ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาด้านพุทธิปัญญา" เชื่อว่าผู้เรียนสร้างความรู้โดยผ่านทางการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่น ได้แก่ เด็ก กับ ผู้ใหญ่ พ่อแม่ ครูและเพื่อน

สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ cognitive constructivism social constructivism 1. การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ลงมือปฏิบัติ (Learning is active process) 2.การเรียนรู้ควรเป็นองค์รวม เน้นสภาพจริงและสิ่งที่เป็นจริง (Learning should be whole, authentic, and "real" ) เทคโนโลยี ที่ช่วยให้สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของห้องเรียนตามแนวทาง Social Constructivism เครื่องมือการสื่อสารทางไกล โปรแกรมการเรียนเกี่ยวกับการเรียนบนเครือข่าย สถานการณ์จำลอง เช่น การใช้อีเมล (E-mail) และอินเทอร์เนต ช่วยทำให้เกิดการร่วมมือในการเรียน สามารถทำให้การเรียนรู้มีความหมาย

สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิซึม ให้ความสำคัญกับการควบคุมตนเอง ตามระดับของผู้เรียน (Focuses control at the leaner level) ผู้เรียนลงมือกระทำด้วยตนเอง (Learning are active) การเรียนรู้ควรสนับสนุนการร่วมมือกันไม่ใช่การแข่งขัน (Learning should support collaboration , not competition) นำเสนอประสบการณ์การเรียนรู้ที่ตรงกับสภาพที่เป็นจริงหรือประสบการณ์การเรียนรู้ในชีวิตจริง (Provides authentic ,real-world learning experiences)

การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสซึม 1. การสร้างการเรียนรู้ (Learning Constructed) 2.  การแปลความหมายของแต่ละคน (Interpretation personal) 3.  การเรียนรู้เกิดจาการลงมือกระทำ (Learning active) 4. การเรียนรู้ที่เกิดจากการร่วมมือ (Learning Collaborative) 5.การเรียนรู้ที่เหมาะสม (Learning Situated) 6.  การทดสอบเชิงการบูรณาการ (Testing Integrated)